โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พฤหัสเจ้าศาสตราและเสาร์มนตรา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พฤหัสเจ้าศาสตราและเสาร์มนตรา

พฤหัสเจ้าศาสตรา vs. เสาร์มนตรา

หัสเจ้าศาสตรา เป็นหนังสือเล่มที่ 4 ในหนังสือชุด "อาณาจักรแห่งกาลเวลา" เป็นหนังสือประเภท วรรณกรรมนวนิยายแฟนตาซี ของการ์ธ นิกซ์ นักเขียนชาวออสเตรเลีย ปัจจุบันได้รับการแปลเป็นภาษาไทยแล้ว โดยสำนักพิมพ์แจ่มใส ปัจจุบันออกจำหน่ายแล้ว 6 เล่ม อีก 5 เล่มคือ จันทร์มหันตภัย อังคารอหังการ พุธเพชฌฆาต ศุกร์รัตติกาล และเสาร์มนตร. ร์มนตรา เป็นหนังสือเล่มที่ 6 ของหนังสือชุดอาณาจักรแห่งกาลเวลา ของการ์ธ นิกซ์ นักเขียนชาวออสเตรเลีย ปัจจุบันได้รับการแปลเป็นภาษาไทยแล้ว โดยสำนักพิมพ์แจ่มใส ปัจจุบันออกจำหน่ายแล้ว 6 เล่ม อีก 5 เล่มคือ จันทร์มหันตภัย อังคารอหังการ พุธเพชฌฆาต พฤหัสเจ้าศาสตรา และศุกร์รัตติกาล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พฤหัสเจ้าศาสตราและเสาร์มนตรา

พฤหัสเจ้าศาสตราและเสาร์มนตรา มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พุธเพชฌฆาตการ์ธ นิกซ์ภาษาไทยวรรณกรรมศุกร์รัตติกาลสำนักพิมพ์แจ่มใสอังคารอหังการอาณาจักรแห่งกาลเวลาจันทร์มหันตภัยประเทศไทยนวนิยายเยาวชน

พุธเพชฌฆาต

ต เป็นหนังสือเล่มที่ 3 ของหนังสือชุดอาณาจักรแห่งกาลเวลา เขียนโดย การ์ธ นิกซ์ นักเขียนชาวออสเตรเลีย ปัจจุบันได้รับการแปลเป็นภาษาไทยแล้ว โดยสำนักพิมพ์แจ่มใส หนังสือในชุดเดียวกัน คือ จันทร์มหันตภัย อังคารอหังการ พฤหัสเจ้าศาสตรา ศุกร์รัตติกาล และเสาร์มนตร.

พฤหัสเจ้าศาสตราและพุธเพชฌฆาต · พุธเพชฌฆาตและเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

การ์ธ นิกซ์

การ์ธ นิกซ์ (Garth Nix) เกิดที่เมืองเมลเบิร์น ปี ค.ศ. 1963 เป็นชาวออสเตรเลียที่เขียนนวนิยายแฟนตาซีสำหรับเด็ก ตัวอย่างเช่นวรรณกรรมเรื่องยาวชุด Old Kingdom, The Seventh Tower, และ The Keys to the Kingdom (ไทย: อาณาจักรแห่งกาลเวลา) "การ์ธ นิกซ์" ไม่ใช่นามแฝง หลายครั้งที่มีคนถามเขาเกี่ยวกับชื่อ "การ์ธ นิกซ์" เพราะไม่แน่ใจว่าเป็นนามแฝงหรือไม่ เขากล่าวว่า "ผมว่าที่มีคนถามผมบ่อยๆ คงเพราะเป็นชื่อที่เหมาะมากสำหรับนักเขียนแนวแฟนตาซี แต่นั่นน่ะชื่อของผมจริงๆ"นิกซ์, การ์ธ (2550).

การ์ธ นิกซ์และพฤหัสเจ้าศาสตรา · การ์ธ นิกซ์และเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

พฤหัสเจ้าศาสตราและภาษาไทย · ภาษาไทยและเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

วรรณกรรม

วรรณกรรมนี้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท.

พฤหัสเจ้าศาสตราและวรรณกรรม · วรรณกรรมและเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

ศุกร์รัตติกาล

กร์รัตติกาล เป็นหนังสือเล่มที่ 5 ของหนังสือชุดอาณาจักรแห่งกาลเวลา ของ การ์ธ นิกซ์ นักเขียนชาวออสเตรเลียปัจจุบันได้รับการแปลเป็นภาษาไทยแล้ว โดยสำนักพิมพ์ "แจ่มใส" ปัจจุบันออกจำหน่ายแล้ว 6 เล่ม อีก 5 เล่มคือจันทร์มหันตภัย อังคารอหังการ พุธเพชฌฆาต พฤหัสเจ้าศาสตรา และเสาร์มนตร.

พฤหัสเจ้าศาสตราและศุกร์รัตติกาล · ศุกร์รัตติกาลและเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

สำนักพิมพ์แจ่มใส

ัญลักษณ์ประจำสำนักพิมพ์ สำนักพิมพ์แจ่มใส เป็นสำนักพิมพ์แห่งหนึ่งในประเทศไทย เริ่มก่อตั้งใน พ.ศ. 2545 ซึ่งเป็นผู้เผยแพร่นิยายรักโรแมนติกสำหรับวัยรุ่นที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย โดยผู้อ่านส่วนมากเป็นผู้หญิงวัยรุ่น ที่ในแต่ละปีจะมีการรวมตัวกันในงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติเป็นจำนวนมาก เป็นสำนักพิมพ์ที่สร้าง นักเขียนที่มีชื่อเสียง นักแปล และผลงานวรรณกรรมชุดมาแล้วหลายเรื่อง รวมทั้งมีงานแปลวรรณกรรม จากภาษาเกาหลี ภาษาญี่ปุ่น และภาษาจีน นอกจากนี้ สำนักพิมพ์แจ่มใส ยังมีส่วนร่วมจัดกิจกรรมการกุศลต่อสังคมในบางโอกาส สำนักพิมพ์แจ่มใสมุ่งเน้นผลิตหนังสือนิยายโรแมนติคโดยมีผู้หญิงเป็นกลุ่มเป้าหมาย ในภายหลัง ทางสำนักพิมพ์แจ่มใสได้จัดทำหนังสือแนวสอบสวน, แฟนตาซี, วรรณกรรมร่วมสมัย ตลอดจนหนังสือด้านธุรกิจ, คอมพิวเตอร์ รวมถึงหนังสือการศึกษาสำหรับเด็ก นอกจากนี้ เว็บไซต์ของสำนักพิมพ์แจ่มใสยังเป็นเว็บไซต์ติดอันดับจากการจัดอันดับเว็บไซต์ยอดนิยมด้วยเช่นกัน.

พฤหัสเจ้าศาสตราและสำนักพิมพ์แจ่มใส · สำนักพิมพ์แจ่มใสและเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

อังคารอหังการ

อังคารอหังการ เป็นหนังสือเล่มที่ 2 ของหนังสือชุดอาณาจักรแห่งกาลเวลา ของ การ์ธ นิกซ์ นักเขียนชาวออสเตรเลีย ปัจจุบันได้รับการแปลเป็นภาษาไทยแล้ว โดยสำนักพิมพ์ "แจ่มใส" หนังสือในชุดเดียวกัน คือ จันทร์มหันตภัย พุธเพชฌฆาต พฤหัสเจ้าศาสตรา ศุกร์รัตติกาล และเสาร์มนตร.

พฤหัสเจ้าศาสตราและอังคารอหังการ · อังคารอหังการและเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรแห่งกาลเวลา

อาณาจักรแห่งกาลเวลา (The Keys to the Kingdom) เป็นนวนิยายแฟนตาซีชุดหนึ่งของ การ์ธ นิกซ์ (Garth Nix) นักเขียนชาวออสเตรเลีย ได้รับการตีพิมพ์ในรูปแบบของหนังสือปกอ่อน เรื่องราวในเรื่องเกิดขึ้นในบ้านและอาณาจักรชั้นที่สอง ซึ่งรวมไปถึงโลกของเราด้วย โดยมีตัวเอกดำเนินเรื่อง 3 ตัว คือ อาเธอร์ เพนฮาลิกอน, ซูซี่ ฟ้าเทอร์คอยซ์ และลีฟ เรื่องราวภายในเรื่องมีความเกี่ยวข้องกับหลักธรรมทางศาสนาและเทวตำนานโบราณ รวมไปถึงเลข 7 อีกด้วย ในประเทศไทย ลิขสิทธิ์เป็นของสำนักพิมพ์แจ่มใส แปลเป็นภาษาไทยโดย แสงตะวัน จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เอ็นเธอร์บุ๊คส์ อาณาจักรแห่งกาลเวลาเป็นวรรณกรรมเล่มเดียวของการ์ธ นิกซ์ ที่ถูกซื้อลิขสิทธิ์และได้รับการแปลเป็นภาษาไท.

พฤหัสเจ้าศาสตราและอาณาจักรแห่งกาลเวลา · อาณาจักรแห่งกาลเวลาและเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

จันทร์มหันตภัย

ันทร์มหันตภัย เป็นหนังสือเล่มที่ 1 ในหนังสือชุด "อาณาจักรแห่งกาลเวลา" เป็นหนังสือประเภท วรรณกรรมนวนิยายแฟนตาซี ของการ์ธ นิกซ์ นักเขียนชาวออสเตรเลีย หนังสือในชุดเดียวกัน คือ อังคารอหังการ พุธเพชฌฆาต พฤหัสเจ้าศาสตรา ศุกร์รัตติกาล เสาร์มนตรา และอาทิตย์สิ้นสูญ.

จันทร์มหันตภัยและพฤหัสเจ้าศาสตรา · จันทร์มหันตภัยและเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและพฤหัสเจ้าศาสตรา · ประเทศไทยและเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

นวนิยาย

นวนิยาย เป็นรูปแบบหนึ่งของวรรณกรรมลายลักษณ์ แต่งในรูปของร้อยแก้ว มีลักษณะแตกต่างจากเรื่องแต่งงงแบบเดิม ที่เรียกว่า นิยาย หรือนิทาน ที่เรียกว่า "นวนิยาย" ก็เพราะถือเป็นนิยายแบบใหม่ (novel) ตามแบบตะวันตก นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ในภาษาพูดโดยทั่วไปนิยมเรียกว่า "นิยาย" ซึ่งกะทัดรัดกว่า โดยคำว่า "นิยาย" เป็นคำมาจากภาษาเขมรที่ออกเสียงว่า "นิเยย" (និយាយ) หมายถึง "พูด" นวนิยายนั้น เป็นเรื่องราวที่มีลักษณะสมจริงมากกว่านิทานหรือนิยายแบบเดิม บางครั้งอาศัยฉากหรือเหตุการณ์จริง หรืออิงความเป็นจริง มีบทสนทนา และบรรยายเหตุการณ์อย่างปุถุชนทั่วไป.

นวนิยายและพฤหัสเจ้าศาสตรา · นวนิยายและเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

เยาวชน

ประชากรโลกที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปีในปี ค.ศ. 2005 เยาวชน (Youth) คือ ช่วงอายุระหว่างวัยเด็กกับวัยผู้ใหญ.

พฤหัสเจ้าศาสตราและเยาวชน · เยาวชนและเสาร์มนตรา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พฤหัสเจ้าศาสตราและเสาร์มนตรา

พฤหัสเจ้าศาสตรา มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ เสาร์มนตรา มี 18 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 33.33% = 12 / (18 + 18)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พฤหัสเจ้าศาสตราและเสาร์มนตรา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »