เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พฤติกรรมนิยมและภาวะผู้นำ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พฤติกรรมนิยมและภาวะผู้นำ

พฤติกรรมนิยม vs. ภาวะผู้นำ

ติกรรมนิยม (behaviorism/behaviourism) เป็นแนวทางสู่จิตวิทยาซึ่งรวมปรัชญา วิธีวิทยาและทฤษฎีบางส่วน กำเนิดขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นปฏิกิริยาต่อจิตวิทยา "มโนนิยม" ซึ่งมักลำบากในการพยากรณ์ที่สามารถทดสอบได้โดยใช้วิธีทดลองอย่างเคร่งครัด หลักพื้นฐานของพฤติกรรมนิยมดังที่แสดงในงานเขียนของจอห์น บี. วัตสัน, บี. เอฟ. สกินเนอร์ และอื่น ๆ คือ จิตวิทยาควรเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของบุคคลและสัตว์ที่สังเกตได้ มิใช่เหตุการณ์สังเกตไม่ได้ที่เกิดในจิต สำนักคิดพฤติกรรมนิยมถือว่าพฤติกรรมดังกล่าวสามารถอธิบายทางวิทยาศาสตร์ได้โดยไม่ต้องอาศัยทั้งเหตุการณ์จิตวิทยาภายในหรือการตีความสมมุติฐาน เช่น ความคิดความเชื่อ นับแต่จิตวิทยายุคต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 สำนักคิดพฤติกรรมนิยมมีลักษณะควบร่วมกับขบวนการจิตวิเคราะห์และเกสตัลท์ในจิตวิทยาจนคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่ยังต่างจากปรัชญาจิตของนักจิตวิทยาเกสตัลท์ในทางสำคัญ อิทธิพลหลักของสำนักคิดนี้คือ อีวาน ปัฟลอฟซึ่งสำรวจการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (classical conditioning) แม้เขาไม่ได้เห็นด้วยกับพฤติกรรมนิยมหรือนักพฤติกรรมนิยม เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดก์, จอห์น บี. กษัตริย์ดาวิดและกษัตริย์ซาโลมอน บนหน้าต่างงานกระจกสี ณ มหาวิหารสทราซบูร์ ภาวะผู้นำ หรือ ความเป็นผู้นำ เป็นทั้งพื้นที่การวิจัยและทักษะการปฏิบัติที่ครอบคลุมถึงความสามารถของแต่ละบุคคลหรือองค์กร เพื่อ "นำ" หรือแนะนำบุคคลอื่น, ทีม หรือทั้งองค์กร ซึ่งมีข้อโต้แย้งของมุมมองต่าง ๆ จากการเปรียบเทียบความเป็นผู้นำของตะวันออกและตะวันตก ตลอดจนวิธีการของสหรัฐ (ในตะวันตก) กับยุโรป โดยทางวิชาการของสหรัฐนิยามความเป็นผู้นำว่า "กระบวนการของอิทธิพลทางสังคม ที่บุคคลหนึ่งสามารถขอความช่วยเหลือและการสนับสนุนจากผู้อื่นสู่ความสำเร็จของภารกิจทั่วไป" ส่วนความเป็นผู้นำจากมุมมองของยุโรปและไม่ใช่มุมมองด้านวิชาการหมายถึง ผู้นำที่สามารถขับเคลื่อน ไม่ใช่แค่เป้าหมายของกลุ่มเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการค้นหาพลังอำนาจส่วนบุคคลด้วย การศึกษาภาวะผู้นำเกี่ยวกับภาวะผู้นำได้สร้างทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับลักษณะต่าง ๆ, สถานการณ์ปฏิสัมพันธ์, หน้าที่, พฤติกรรม, อำนาจ, วิสัยทัศน์และค่านิยม, เสน่ห์ และสติปัญญา ท่ามกลางคนอื่น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พฤติกรรมนิยมและภาวะผู้นำ

พฤติกรรมนิยมและภาวะผู้นำ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พฤติกรรมนิยมและภาวะผู้นำ

พฤติกรรมนิยม มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาวะผู้นำ มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (7 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พฤติกรรมนิยมและภาวะผู้นำ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: