ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระโคตมพุทธเจ้าและอริยสัจ 4
พระโคตมพุทธเจ้าและอริยสัจ 4 มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มรรคมีองค์แปดสมุทัยอริยบุคคลทุกข์นิโรธ
มรรคมีองค์แปด
มรรค (มรฺค; มคฺค) คือ หนทางสู่ความดับทุกข์ เป็นหนึ่งในอริยสัจ 4 จึงเรียกอีกอย่างว่า ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา หรือการลงมือปฏิบัติเพื่อให้พ้นจากทุกข์ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 8 ประการ ในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พระพุทธเจ้าตรัสว่าอริยมรรคมีองค์ 8 นี้เป็นทางสายกลาง คือเป็นข้อปฏิบัติอันพอดีที่จะนำไปสู่ความหลุดพ้น ตามวิภังคสูตร พระพุทธเจ้าทรงอธิบายรายละเอียดไว้ดังนี้.
พระโคตมพุทธเจ้าและมรรคมีองค์แปด · มรรคมีองค์แปดและอริยสัจ 4 ·
สมุทัย
สมุทัย หรือ ทุกขสมุทัย หรือ ทุกขสมุทัยอริยสัจ เป็นหลักธรรมข้อหนึ่งในหมวดอริยสัจ หรือ อริยสัจ ๔ หมายถึง เหตุปัจจัยที่ทำในเกิดทุกข์ ซึ่งเกิดจากตัณหา.
พระโคตมพุทธเจ้าและสมุทัย · สมุทัยและอริยสัจ 4 ·
อริยบุคคล
อริยบุคคล แปลว่า บุคคลผู้ประเสริฐ, ผู้ไกลจากข้าศึก, ผู้หักกำล้อสังสารวัฏได้แล้วแบ่งได้หลายประเภทคือแบ่งอย่างใหญ่ได้เป็น พระเสขะและพระอเสขะ แบ่งตามประเภทบุคคลมี 4 ประเภทคือ พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ และยังแบ่งย่อยเป็น 8 ประเภท จัดเป็น 4 คู่ได้อีก.
พระโคตมพุทธเจ้าและอริยบุคคล · อริยบุคคลและอริยสัจ 4 ·
ทุกข์
ทุกข์ หรือ ทุกขัง (ทุกฺข) เป็นหลักธรรมสำคัญในพระพุทธศาสนา แปลว่าทนอยู่ในสภาพเดิมได้ยาก โดยทั่วไปหมายถึง สังขารทั้งปวง อันได้แก่ ขันธ์ 5 ซึ่งเป็นที่ตั้งของกองทุกข์ ในทางพระพุทธศาสนา การกำหนดทุกข์ถือเป็นกิจในอริยสัจ 4 ที่ชาวพุทธต้องทำเพื่อละและปล่อยวางในลำดับต่อไปในกิจทั้งสี่ในอริยสัจ อันได้แก่ รู้ทุกข์ เพื่อค้นหาสาเหตุในการดับทุกข์ (สมุทัย) แล้วจึงตั้งจุดมุ่งหมายในการดับทุกข์ (นิโรธ) และดำเนินตามเส้นทางสู่ความดับทุกข์ (มรรค) คือสละ ละ ปล่อยวาง ไม่ยึดติดในใจด้วยอำนาจกิเลส ทุกข์ จัดเป็นหนึ่งในชื่อเรียกที่เป็นไวพจน์ของขันธ์ซึ่งถูกใช้เป็นอย่างมากในพระไตรปิฎก.
ทุกข์และพระโคตมพุทธเจ้า · ทุกข์และอริยสัจ 4 ·
นิโรธ
นิโรธ (อ่านว่า นิโรด) แปลว่า ความดับ (ทุกข์) คือความสำรอกออก, สลัดทิ้ง, ปลดปล่อย, ไม่มีเยื่อใยสมุทัยอันเป็นบ่อเกิดทุกข์ได้สิ้นเชิง หมายถึง การทำลายสมุทัยและดับสมุทัยคือตัวตัณหาให้สิ้นไปจนไม่เกิดขึ้นได้อีกเหมือนไฟที่สิ้นเชื้อ ด้วยอำนาจการดำเนินตามมรรคจนได้บรรลุมรรคนั้นๆ นิโรธ จัดเป็นอริยสัจอันดับที่3ในอริยสัจ 4 คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค โดยภาวะคือนิพพานนั่นเอง.
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ พระโคตมพุทธเจ้าและอริยสัจ 4 มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระโคตมพุทธเจ้าและอริยสัจ 4
การเปรียบเทียบระหว่าง พระโคตมพุทธเจ้าและอริยสัจ 4
พระโคตมพุทธเจ้า มี 180 ความสัมพันธ์ขณะที่ อริยสัจ 4 มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 2.50% = 5 / (180 + 20)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระโคตมพุทธเจ้าและอริยสัจ 4 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: