โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเมรุมาศและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระเมรุมาศและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

พระเมรุมาศ vs. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเมรุมาศ และพระเมรุ คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราว หรือสถาปัตยกรรมเฉพาะกิจที่สร้างขึ้น ณ ใจกลางเมือง เพื่อใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพหรือพระราชพิธีพระศพโดยเฉพาะ มีลักษณะเป็น "กุฎาคาร หรือ เรือนยอด" คือเรือนซึ่งหลังคาต่อเป็นยอดแหลม โดยในอดีตนิยมสร้างเป็นแบบ ยอดปรางค์ อาจมีพรหมพักตร์หรือไม่มีก็ได้ พระเมรุมาศ เป็นพระเมรุขนาดสูงใหญ่ ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระราชชนนี พระบวรราชเจ้า พระยุพราช สำหรับการตายที่ใช้ราชาศัพท์ว่าสวรรคต ภายในพระเมรุมาศมี “พระเมรุทอง” ลักษณะของพระเมรุมาศที่ปรากฏการสร้างมี 2 รูปแบบคือพระเมรุมาศทรงปราสาท ที่สร้างมาแต่โบราณ มีขนาดใหญ่โตมโหฬาร และพระเมรุมาศทรงบุษบก ส่วนพระเมรุ เช่นเดียวกับพระเมรุมาศ แต่มีขนาดเล็กลง และไม่มีพระเมรุทองภายใน ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ใช้ราชาศัพท์ว่า “ทิวงคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” การออกแบบสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ พระเมรุ ต้องอาศัยการสร้างสรรค์ออกแบบจากผู้รอบรู้เจนจบงานศิลปกรรมของชาติ ช่างที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้จากครูบาอาจารย์ทั้งงานออกแบบรูปลักษณ์ ก่อสร้างอาคาร การคิดลวดลายขึ้นประดิษฐ์ตกแต่งทุกส่วนให้เข้ากับอาคาร โดยมีหลักเกณฑ์ที่คำนึงถึงว่าพระเมรุมาศของพระองค์ใด ที่แสดงลักษณะของพระองค์นั้น ภายหลังจากการถวายพระเพลิงแล้ว ชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพระเมรุที่ถูกรื้อถอนบางส่วนจะนำไปถวายวัด เพื่อเป็นการกุศลแด่ผู้วายชนม. มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระเมรุมาศและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

พระเมรุมาศและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรมหลวงโยธาเทพสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

กรมหลวงโยธาเทพ

กรมหลวงโยธาเทพ ภายหลังออกพระนามว่า สมเด็จพระรูปเจ้า มีพระนามเดิมว่า พระสุดาเทวี (คำให้การชาวกรุงเก่า)ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง, หน้า 94 หรือ เจ้าฟ้าสุดาวดี (พ.ศ. 2199—2278) เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งประสูติแต่พระมเหสีฝ่ายขวา พระองค์มีบทบาทด้านการค้าค่อนข้างสูงในรัชสมัยของพระราชบิดา และได้รับพระราชทานให้ดำรงพระอิสริยยศเป็น "กรมหลวงโยธาเทพ" และคงมีพระอำนาจสูงมาก โดยจดหมายเหตุลาลูแบร์กล่าวว่าพระองค์ "...ทรงพระเกียรติยศและเสด็จประทับ ณ พระมนทิราลัยเยี่ยงพระอัครมเหสี..."จดหมายเหตุ ลาลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม, หน้า 303 และบางครั้งชาวตะวันตกก็เรียกแทนพระองค์ว่าเป็น "ราชินี" พระองค์มีบทบาทอย่างสูงเนื่องจากทรงมีส่วนริเริ่มการปฏิวัติผลัดแผ่นดิน ทั้งยังมีความสัมพันธ์อันดีกับแพทย์หลวงชาวฝรั่งเศสที่ชื่อดาเนียล บรูชบูรด์ ผู้ที่ถูกกล่าวโทษว่าวางยาลอบปลงพระชนม์สมเด็จพระนารายณ์ แต่ท้ายที่สุดพระองค์ก็ตกเป็นเหยื่อของเหตุการณ์นี้เสียเองทั้งที่ไม่เต็มพระทัยนัก ด้วยการเป็นพระมเหสีฝ่ายซ้ายของสมเด็จพระเพทราชา แต่หลังสิ้นรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา พระองค์และกรมหลวงโยธาทิพได้ถวายบังคมออกจากพระบรมมหาราชวังมาประทับและดำรงพระชนม์อย่างสงบด้วยการผนวชเป็นรูปชี แต่นั้นเป็นต้นมาชาววังได้ออกพระนามว่า "สมเด็จพระรูปเจ้า"ดร.

กรมหลวงโยธาเทพและพระเมรุมาศ · กรมหลวงโยธาเทพและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

มเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หรือ พระมหาธรรมราชา เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 31 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 4 ในราชวงศ์บ้านพลูหลวง.

พระเมรุมาศและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · สมเด็จพระนารายณ์มหาราชและสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

มเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ พ.ศ. 2172 - 2199) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 24 แห่งอาณาจักรอยุธยา และทรงเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ปราสาททอง.

พระเมรุมาศและสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง · สมเด็จพระนารายณ์มหาราชและสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระเมรุมาศและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

พระเมรุมาศ มี 130 ความสัมพันธ์ขณะที่ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช มี 59 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 1.59% = 3 / (130 + 59)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระเมรุมาศและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »