โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าเซจงมหาราช

ดัชนี พระเจ้าเซจงมหาราช

ระเจ้าเซจงมหาราช (พ.ศ. 1940 ถึง พ.ศ. 1993) เป็นพระมหากษัตริย์เกาหลีรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์โชซ็อน ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1961 ถึง..

41 ความสัมพันธ์: ชัง ย็อง-ชิลชาวแมนจูชาวไร่ชาวนาชนชั้นขุนนางพ.ศ. 1940พ.ศ. 1961พ.ศ. 1962พ.ศ. 1963พ.ศ. 1976พ.ศ. 1984พ.ศ. 1985พ.ศ. 1989พ.ศ. 1993พระนางว็อนกย็องพระนางโซฮ็อนพระเจ้ามุนจงพระเจ้ามุนจงแห่งโชซ็อนพระเจ้าควังแกโทมหาราชพระเจ้าแทจงพระเจ้าเซโจพุทธศักราชภาษาเกาหลีราชวงศ์โชซ็อนรายพระนามพระมหากษัตริย์เกาหลีวอนวัฒนธรรมเกาหลีอักษรฮันกึลอักษรฮันจาอักษรจีนธนบัตรขงจื๊อประเทศเกาหลีใต้ประเทศเกาหลีเหนือนาฬิกาน้ำนาฬิกาแดดน้ำท่วมแม่น้ำยาลู่เกษตรกรรม15 พฤษภาคม18 กันยายน8 เมษายน

ชัง ย็อง-ชิล

ัง ย็อง-ชิล(Jang Yeongsil; 장영실; ประมาณ ค.ศ. 1390 – หลัง ค.ศ. 1442) เป็นนักประดิษฐ์ นักวิทยาศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวเกาหลี เขาเป็นผู้ประดิษฐ์มาตรวัดปริมาณน้ำฝนและมาตรวัดปริมาณน้ำ เดิมเขาเป็นทหารองครักษ์ แต่เนื่องจากพระเจ้าเซจงมหาราชทรงเห็นถึงความสามารถของเขา จึงทรงตั้งให้เขาเป็นขุนนางขั้น 3 และมาตรวัดทั้ง 2 ชิ้นนี้ก็กลายเป็นเทคโนโลยีที่สำคัญในสมัยราชวงศ์โชซอน.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและชัง ย็อง-ชิล · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแมนจู

แมนจู (แมนจู:; หม่านจู๋) เป็นชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในประเทศจีนและผู้คนจากดินแดนแมนจูเรียได้ใช้ชื่อดินแดนเป็นชื่อเรียกชนเผ่าของตนเอง ชาวแมนจูเป็นกลุ่มสาขาที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชาวตุงกูซิกที่ใช้ภาษากลุ่มตุงกูซิกและได้อาศัยกระจัดกระจายทั่วประเทศจีน ถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของประเทศจีน ชาวแมนจูได้อาศัยและพบได้ใน 31 จังหวัดของจีน โดยเฉพาะในดินแดนแมนจูเรีย เหลียวหนิงถือได้ว่าเป็นดินแดนที่มีประชากรแมนจูเยอะที่สุด ส่วนเหอเป่ย, เฮย์หลงเจียง, จี๋หลิน, มองโกเลียในและปักกิ่ง มีประชากรแมนจู 100,000 คนอาศัยอยู่ ประมาณครึ่งของประชากรอาศัยอยู่ในเหลียวหนิงและ 1 ใน 5 อยู่ที่เหอเป่ย์ นอกจากนี้ยังมีชาวแมนจูอาศัยอยู่ในประเทศรัสเซียอันได้แก่ ดินแดนปรีมอร์สกี บางส่วนของดินแดนฮาบารอฟสค์และแคว้นอามูร์ ประวัติโดยสังเขปของชาวแมนจูนั้น ในทัศนคติของชาวฮั่น ถือได้ว่าเป็นชนกลุ่มน้อยเร่ร่อนหรือคนป่าเถื่อน ชาวแมนจูได้สืบเชื้อสายมาจากชาวหนี่เจิน (Jurchen; 女真) ที่ซึ่งได้สถาปนาราชวงศ์จินตอนแรกขึ้นทางตอนเหนือของจีน ในช่วง..

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและชาวแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไร่ชาวนา

ชาวนากำลังดำนาปลูกข้าวอยู่ ชาวไร่ชาวนา เกษตรกรหรือกสิกร เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม คือ เลี้ยงสัตว์เอาอาหารหรือวัตถุดิบ คำนี้ปกติใช้กับผู้ที่กระทำอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ ปลูกพืชไร่ สวนผลไม้ ไร่องุ่น เลี้ยงสัตว์ปีกหรือปศุสัตว์อื่น ชาวไร่ชาวนาอาจเป็นเจ้าของที่ดินเกษตรกรรมหรือทำงานเป็นผู้ใช้แรงงานบนที่ดินของผู้อื่นก็ได้ แต่ในประเทศเศรษฐกิจก้าวหน้า (advanced economy) ปกติชาวไร่ชาวนาเป็นเจ้าของไร่นา ขณะที่ลูกจ้างของไร่นานั้น เรียก คนงานไร่นา (farm workers หรือ farmhand) ทว่า เมื่อไม่นานนี้ ชาวนาเป็นบุคคลเพื่อสนับสนุนหรือปรับปรุงการเติบโตของที่ดินหรือพืชผลหรือเลี้ยงสัตว์ (เช่น ปศุสัตว์หรือปลา) โดยแรงงานและความใส่ใจ หมวดหมู่:อาชีพ หมวดหมู่:เกษตรกรรม.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและชาวไร่ชาวนา · ดูเพิ่มเติม »

ชนชั้นขุนนาง

นชั้นขุนนางในโปแลนด์ ช่วงค.ศ. 1697-1795 งานเลี้ยงของเหล่าขุนนางและชนชั้นสูงในออสเตรีย ค.ศ. 1904 ชนชั้นขุนนาง (nobility) เป็นชนชั้นทางสังคมที่อยู่รองลงมาจากชนชั้นเจ้า ชนชั้นนี้ถือครองสิทธิ์หรือชื่อเสียงมากกว่าชนชั้นอื่นในสังคมเป็นส่วนใหญ่ มีการสืบทอดสิทธิ์ต่างๆเป็นรุ่นต่อรุ่น โดยที่สิทธิ์ของชนชั้นขุนนางอาจหมายถึง ความได้เปรียบเหนือกว่าชนชั้นอื่น หรืออาจเป็นเกียรติยศใหญ่โต ซึ่งมีบริบทแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศและในแต่ละยุค ในสมัยก่อน การเป็นชนชั้นขุนนางและมีอภิสิทธิ์ต่างๆ มักจะถูกกำหนดหรือประกาศขึ้นโดยชนชั้นปกครอง แต่ถึงกระนั้น บุคคลอื่นนอกเหนือไปจากนี้ที่มีเงินทอง วิถีชีวิต หรือแวดวงคล้ายคลึงก็อาจจะเป็นเครื่องหมายเด่นที่จะถูกนับรวมเป็นชนชั้นขุนนาง แม้ว่าโดยหลักการแล้ว ชนชั้นขุนนางจะต้องมีปราสาทเป็นของตัวเองและคอยแสวงหาซึ่งอำนาจ ทรัพย์สมบัติ กำลังทหาร หรือความเป็นที่โปรดปรานของราชวงศ์ และการที่สามัญชนจะเป็นชนชั้นขุนนางได้นั้น มักจะใช้วิธีเข้าหาราชวงศ์เพื่อเป็นที่โปรดปราน ในชนชั้นขุนนางเองก็จะมีการแบ่งออกเป็นอีกหลายระดับ ในประเทศที่ปกครองโดยกษัตริย์มักจะมีกฎหมายหรือข้อบัญญัติเกี่ยวกับชนชั้นขุนนาง แต่ในบางอดีตประเทศที่เป็นสาธารณรัฐก็มีกฎหมายที่เกี่ยวเนื่องเช่นเดียวกัน อาทิ สาธารณรัฐดัตช์ (ค.ศ. 1581–1795), สาธารณรัฐเจนัว (ค.ศ. 1005–1815), สาธารณรัฐเวนิส (ค.ศ. 697–1797) เป็นต้น ในปัจจุบันยังคงมีอีกหลายประเทศที่มีข้อบัญญัติทางชนชั้นอยู่ในลักษณะไม่สืบทอดสิทธิ์ อาทิ ประเทศซานมารีโน, นครรัฐวาติกันในยุโรป ขุนนางจีนสมัยราชวงศ์หมิง แม้ว่าระบบขุนนางในประเทศส่วนใหญ่เป็นระบบขุนนางสืบตระกูลก็ตาม แต่ก็มีบางประเทศ(เช่นจีนหรือสยาม) ที่ตำแหน่งขุนนางยึดติดอยู่เฉพาะบุคคล ไม่มีการส่งต่อตำแหน่งและสิทธิไปถึงรุ่นลูกหลาน หากลูกหลานอยากจะเป็นขุนนางก็ต้องใช้ความรู้ความสามารถผ่านการสอบหรือใช้เส้นสายในการได้มาซึ่งบรรดาศัก.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและชนชั้นขุนนาง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1940

ทธศักราช 1940 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพ.ศ. 1940 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1961

ทธศักราช 1961 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพ.ศ. 1961 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1962

ทธศักราช 1962 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพ.ศ. 1962 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1963

ทธศักราช 1963 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพ.ศ. 1963 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1976

ทธศักราช 1976 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพ.ศ. 1976 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1984

ทธศักราช 1984 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพ.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1985

ทธศักราช 1985 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพ.ศ. 1985 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1989

ทธศักราช 1989 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพ.ศ. 1989 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1993

ทธศักราช 1993 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพ.ศ. 1993 · ดูเพิ่มเติม »

พระนางว็อนกย็อง

ระนางว็อนคย็อง ตระกูลมิน แห่งยอฮึง (Queen Wongyeong) พระราชินีแห่งโชซ็อนโดยพระนางเป็นพระราชินีในพระเจ้าแทจง พระราชาลำดับที่ 3 และเป็นพระราชมารดาของพระเจ้าเซจงมหาราช พระราชาลำดับที่ 4.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพระนางว็อนกย็อง · ดูเพิ่มเติม »

พระนางโซฮ็อน

ระมเหสีโซฮ็อน สกุลซิม แห่งช็องซง (Queen Soheon, 12 ตุลาคม พ.ศ. 1938 – 19 เมษายน พ.ศ. 1989) พระนางเป็นพระมเหสีในพระเจ้าเซจงมหาราช กษัตริย์ลำดับที่ 4 และเป็นพระพันปีหลวงในพระราชาถึง 2 พระองค์คือ พระเจ้ามุนจง พระราชาลำดับที่ 5 และพระเจ้าเซโจ พระราชาลำดับที่ 7 พระนางโซฮ็อนประสูติเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพระนางโซฮ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามุนจง

ระเจ้ามุนจง (Munjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพระเจ้ามุนจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามุนจงแห่งโชซ็อน

ระเจ้ามุนจง (อักษรฮันกึล: 문종 อักษรฮันจา: 文宗, พ.ศ. 1957 – พ.ศ. 1995) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์โชซอนของเกาหลี เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกของพระเจ้าเซจงมหาราช ทรงครองราชย์ในช่วง พ.ศ. 1993 -..

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพระเจ้ามุนจงแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าควังแกโทมหาราช

ระเจ้าควังแกโทมหาราช(ค.ศ. 374-413) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรโคกูรยอ ทรงพระราชสมภพเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพระเจ้าควังแกโทมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทจง

ระเจ้าแทจง ((13 มิถุนายน ค.ศ.1367 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1422, ครองราชย์ ค.ศ.1400 - ค.ศ.1418) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์โชซ็อนของประเทศเกาหลี เป็นพระราชบิดาของ พระเจ้าเซจงมหาร.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพระเจ้าแทจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเซโจ

ระเจ้าเซโจ (세조 世祖) (ค.ศ. 1417 ถึง ค.ศ. 1468) กษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์โชซอน (ค.ศ. 1455 ถึง ค.ศ. 1468) เป็นกษัตริย์ที่ถูกประณามมากที่สุดพระองค์หนึ่งเพราะแย่งราชบัลลังก์มาจากพระนัดดาคือ พระเจ้าทันจง ที่ยังทรงพระเยาว์อย่างไม่เป็นธรรม.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพระเจ้าเซโจ · ดูเพิ่มเติม »

พุทธศักราช

ทธศักราช ย่อว.. เป็นศักราชที่เริ่มนับเมื่อพระโคตมพุทธเจ้าปรินิพพาน ในประเทศไทยเริ่มนับเมื่อปรินิพพานแล้ว 1 ปี แต่ในเช่น ในประเทศไทยเป็นปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและพุทธศักราช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเกาหลี

ษาเกาหลี (한국어 หรือ 조선말, ดูในส่วนชื่อ) เป็นภาษาที่ส่วนใหญ่พูดใน ประเทศเกาหลีใต้ และ ประเทศเกาหลีเหนือ ซึ่งใช้เป็นภาษาราชการ และมีคนชนเผ่าเกาหลีที่อาศัยอยู่ในประเทศจีนพูดโดยทั่วไป(ในจังหวัดปกครองตนเองชนชาติเกาหลีเหยียนเปียน มณฑลจี๋หลิน ซึ่งมีพรมแดนติดกับเกาหลีเหนือ) ทั่วโลกมีคนพูดภาษาเกาหลี 78 ล้านคน รวมถึงกลุ่มคนในอดีตสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล ญี่ปุ่น และเมื่อเร็ว ๆ นี้ก็มีผู้พูดใน ฟิลิปปินส์ ด้วย การจัดตระกูลของภาษาเกาหลีไม่เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป แต่คนส่วนมากมักจะถือเป็นภาษาเอกเทศ นักภาษาศาสตร์บางคนได้จัดกลุ่มให้อยู่ใน ตระกูลภาษาอัลไตอิกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากภาษาเกาหลีมีวจีวิภาคแบบภาษาคำติดต่อ ส่วนวากยสัมพันธ์หรือโครงสร้างประโยคนั้น เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา (SOV) อักษรเกาหลี เรียกว่าอักษรฮันกึล ใช้แทนเสียงของแต่ละพยางค์ นอกจากนี้ใช้ยังตัวอักขระแบบจีนเรียกว่าอักษรฮันจา ในการเขียนด้วย ในขณะที่คำศัพท์ที่ใช้กันส่วนใหญ่เป็นคำภาษาเกาหลีแท้ โดยที่มีคำศัพท์มากกว่า 50% มาจากภาษาจีนทั้งทางตรงและทางอ้อม.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและภาษาเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เกาหลี

ระบอบกษัตริย์ของเกาหลีนั้นเริ่มมีมาเมื่อกว่า 2000-2500 ปีก่อน โดยกษัตริย์องค์แรกคือพระเจ้าทันกุนแห่งอาณาจักรโชซ็อนโบราณ และปกครอง เรื่อยมาและมีหลายรัฐหลายราชวงศ์ก่อนที่ระบอบกษัตริย์ของเกาหลีจะมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1910 ในรัชสมัยพระเจ้าซุนจงพระราชาองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์โชซ็อน โดยการถูกญี่ปุ่นโค่นล้ม.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและรายพระนามพระมหากษัตริย์เกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

วอน

วอน (원) เป็นสกุลเงินที่มีใช้ โดยสามารถแบ่งได้เป็น.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและวอน · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรมเกาหลี

ปัตยกรรมอันงดงามของพระราชวังคย็องบก เทศบาลตะเกียงดอกบัว ถึงแม้ว่าการเมืองของประเทศเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ จะมีความขัดแย้ง แต่สิ่งที่ทั้งสองประเทศมีร่วมกันคือ วัฒนธรรมเกาหลี.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและวัฒนธรรมเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮันกึล

"ฮันกึล" จะเห็นว่าใน 1 คำ ประกอบด้วยพยัญชนะและสระ ภาพส่วนหนึ่งของเอกสาร "ฮูมิน จองอึม" ฮันกึล (한글, Hangeul, Hangul) เป็นชื่อเรียกตัวอักษรของเกาหลีที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นใช้แทนตัวอักษรฮันจา ฮันจานั้นหมายถึงตัวอักษรจีนที่ใช้ในภาษาเกาหลีก่อนที่จะมีการประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้แทนโดยพระเจ้าเซจงมหาราช (세종대왕).

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและอักษรฮันกึล · ดูเพิ่มเติม »

อักษรฮันจา

ำว่า ฮันจา ในภาษาเกาหลี ตัวสีแดงเขียนด้วยตัวอักษรฮันจา และตัวสีน้ำเงินเขียนด้วยฮันกึล ฮันจา (ฮันจา: 漢字, ฮันกึล: 한자) หรือ ฮันมุน บางครั้งเรียกว่า อักษรจีน-เกาหลี หมายถึงอักษรจีนที่ยืมมาใช้ในภาษาเกาหลี และออกเสียงเป็นภาษาจีนแต่ในสำเนียงของภาษาเกาหลี ตัวอักษรฮันจาไม่เหมือนตัวอักษรคันจิ ในภาษาญี่ปุ่นที่ถูกปรับปรุงและย่อแบบญี่ปุ่นไปหลายตัว ในขณะที่อักษรฮันจาใช้ตัวอักษรจีนตัวเต็ม มีเพียงส่วนน้อยที่ย่อและใช้เหมือนตัวอักษรคัน.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและอักษรฮันจา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรจีน

รูปอักษรจีนของคำว่า "ฮั่นจื้อ"-คันจิ-ฮันจา-ฮั้นถื่อ (漢字 / 汉字 หมายถึง "อักษรจีน") สีแดงเป็นอักษรจีนตัวย่อ อักษรจีน คืออักษรภาพ (logogram) ที่โดยหลัก ๆ ในปัจจุบันใช้สำหรับเขียนภาษาจีน (เรียกว่า ฮั่นจื้อ) และภาษาญี่ปุ่น (เรียกว่า คันจิ) นอกจากนี้ก็ยังใช้เขียนระบบเลขของภาษาอื่นด้วย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดเช่นภาษาเกาหลี (เรียกว่า ฮันจา) และภาษาเวียดนาม (เรียกว่า จื๋อโนม) และยังคงหลงเหลืออยู่ในภาษาเหล่านี้ในบางระดับ อักษรจีนเป็นระบบการเขียนที่ใช้กันมาอย่างต่อเนื่องอันเก่าแก่ที่สุดในโลก นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่เชื่อว่า การเขียนในจีนที่เก่าสุดเริ่มเมื่อ 957 ปีก่อนพุทธศักราช ไม่มีหลักฐานแสดงความเกี่ยวข้องกับการเขียนในบริเวณอื่น ตัวอย่างการเขียนภาษาจีนที่เก่าสุดมีอายุราว 957 – 407 ปี ก่อนพุทธศักราช (ราชวงศ์ซาง) ซึ่งเป็นจารึกบนกระดูกวัวและกระดองเต..

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและอักษรจีน · ดูเพิ่มเติม »

ธนบัตร

นบัตรสกุลต่าง ๆ ธนบัตร เป็นสิ่งที่เป็นตัวแทนในการแลกเปลี่ยน ซึ่งสามารถใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย ธนบัตรจะใช้ควบคู่ไปกับเหรียญกษาปณ์ แต่โดยทั่วไปแล้วธนบัตรมักใช้สำหรับเงินจำนวนมาก ส่วนเหรียญกษาปณ์ใช้กับเงินจำนวนน้อย หรือเศษสตางค์ ในสมัยก่อน ค่าของเงินจะวัดโดยวัตถุที่นำมาใช้เป็นเงิน เช่น เบี้ย, เงิน หรือ ทอง แต่การถือวัตถุมีค่าเหล่านี้ออกไปจำนวนมากย่อมเป็นสิ่งที่ไม่สะดวกและเป็นอันตราย จึงใช้ธนบัตรเพื่อเป็นสื่อแลกเปลี่ยนแทน ธนบัตรเป็นเหมือนสัญญาว่าจะให้เงินไปจำนวนหนึ่ง ซึ่งภายหลังสามารถนำไปแลกคืนเป็นเงินหรือทองได้ ภายหลังจึงเป็นการแลกเปลี่ยนเพื่อสิ่งของและบริการ ไม่ต้องแลกเป็นเงินหรือทองอีก.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและธนบัตร · ดูเพิ่มเติม »

ขงจื๊อ

งจื๊อ (Confucius; ภาษาไทยมีเรียกกันหลายชื่อ เช่น ขงฟู่จื่อ ขงบรมครูจื่อ ข่งชิว) (ตามธรรมเนียม, 8 กันยายน 551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) หรือ วันที่ 27 เดือน 8 (八月廿七日) ตามปฏิทินทางจันทรคติของจีน ชื่อรอง จ้งหนี เป็นนักคิดและนักปรัชญาสังคมที่มีชื่อเสียงของจีน คำสอนของขงจื๊อนั้น ฝังรากอิทธิพลลึกลงไปในสังคมเอเชียตะวันออกมาเป็นเวลาถึง 20 ศตวรรษ หลักปรัชญาของขงจื๊อนั้นเน้นเกี่ยวกับศีลธรรมส่วนตัว และศีลธรรมในการปกครอง ความถูกต้องเหมาะสมของความสัมพันธ์ในสังคม และ ความยุติธรรมและบริสุทธิ์ใจ ก่อนสิ้นใจ ขงจื๊อได้ทิ้งท้ายข้อความไว้กับ ซื่อคง ไว้ว่า "ขุนเขาต้องพังทลาย ขื่อคานแข็งแรงปานใด สุดท้ายต้องพังลงมา เหมือนเช่น บัณฑิตที่สุดท้ายต้องร่วงโรย".

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีเหนือ

รณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (Democratic People's Republic of Korea: DPRK) หรือชื่อโดยทั่วไปว่า เกาหลีเหนือ (North Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก กินพื้นที่ครึ่งเหนือของคาบสมุทรเกาหลี เมืองหลวงและนครใหญ่สุดคือ เปียงยาง เขตปลอดทหารเกาหลีเป็นเขตกันชนระหว่างประเทศเกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ แม่น้ำอัมนกหรือยาลู่ และตูเมนเป็นพรมแดนระหว่างประเทศจีนกับเกาหลีเหนือ แม่น้ำตูเมนส่วนที่ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพรมแดนกับประเทศรัสเซีย คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิเกาหลีปกครองเรื่อยมากระทั่งถูกผนวกเข้ากับญี่ปุ่นหลังสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น..

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและประเทศเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

นาฬิกาน้ำ

นาฬิกาน้ำ คำว่า clepsydra มีรากศัพท์มาจากคำว่า clep ซึ่งมีความหมายว่า ขโมย และคำว่า sydra ที่หมายถึง น้ำ) ชาวกรีกโบราณใช้หลักการทำงานโดยการใช้ภาชนะดินเผาบรรจุน้ำ และเมื่อถูกเจาะมาที่ก้น น้ำจะค่อย ๆ ไหลออกทีละเล็ก ทีละน้อย เหมือนกับการขโมยน้ำ โดยชาวกรีกกำหนดระยะเวลาที่น้ำไหลออกจากภาชนะจนหมดว่า 1 clepsydra แต่นาฬิกาน้ำจะต้องทำการเติมน้ำใหม่ทุกครั้งที่หมดเวลา 1 clepsydra และไม่สามารถใช้ในช่วงฤดูหนาวได้เนื่องจากน้ำจะแข็งตัว.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและนาฬิกาน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

นาฬิกาแดด

นาฬิกาแดดบนพื้นในตากันร็อก นาฬิกาแดด คือ เครื่องมือใช้สำหรับวัดเวลาในตอนกลางวันจากตำแหน่งของดวงอาทิตย์ โดยทั่วไปจะสร้างเป็นวัตถุอย่างหนึ่งเรียกว่าโนมอน (gnomon) ให้ตั้งอยู่บนฐาน เมื่อแสงแดดตกกระทบโนมอนจะทำให้เกิดเงาทอดลงไปบนฐาน แล้วอ่านค่าเวลาจากฐานนั้นซึ่งมีขีดบอกเวลากำกับอยู่ นาฬิกาแดดอาจสร้างขึ้นโดยยึดอยู่กับที่หรือสามารถเคลื่อนย้ายก็ได้ หมวดหมู่:นาฬิกา หมวดหมู่:เทคโนโลยีล้าสมัย.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและนาฬิกาแดด · ดูเพิ่มเติม »

น้ำท่วม

วัดไชยวัฒนารามที่ถูกน้ำท่วมในอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 น้ำท่วม เป็นการไหลล้นของห้วงน้ำซึ่งทำให้แผ่นดินจมอยู่ใต้น้ำ คำว่า "น้ำเอ่อล้น" (flowing water) ยังอาจใช้กับการไหลเข้าของกระแสน้ำ น้ำท่วมอาจเป็นผลของปริมาตรน้ำภายในแหล่งน้ำ เช่น แม่น้ำหรือทะเลสาบ ซึ่งไหลล้นหรือทลายคันดิน เป็นผลให้น้ำบางส่วนออกจากขอบเขตตามปกติของมัน ขณะที่ขนาดของทะเลสาบหรือแหล่งน้ำอื่นมีความแตกต่างกันตามการเปลี่ยนแปลงหยาดน้ำฟ้าและการละลายของหิมะตามฤดูกาล แต่น้ำนั้นมิใช่อุทกภัยที่สำคัญเว้นแต่น้ำนั้นออกมาคุกคามพื้นที่ดินที่มนุษย์ใช้ เช่น หมู่บ้าน นครหรือพื้นที่อยู่อาศัยอื่น น้ำท่วมยังสามารถเกิดในแม่น้ำได้ เมื่อการไหลนั้นเกินความจุของฝั่งน้ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่หัวเลี้ยว (bend) หรือทางน้ำโค้งตวัด (meander) อุทกภัยมักทำความเสียหายแก่บ้านและธุรกิจหากตั้งอยู่ในที่ราบน้ำท่วมถึงตามธรรมชาติ ขณะที่ความเสียหายอันเกิดจากอุทกภัยนั้นแท้จริงแล้วหมดไปได้โดยการย้ายออกจากแม่น้ำหรือแหล่งน้ำอื่น หากตั้งแต่สมัยโบราณ ผู้คนได้อาศัยและทำงานอยู่ริมน้ำเพื่อการยังชีพและได้ประโยชน์จากการท่องเที่ยวและการพาณิชย์ที่ถูกและง่ายโดยอาศัยอยู่ใกล้น้ำ การที่มนุษย์ยังคงอาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงน้ำท่วมนั้นเป็นหลักฐานว่า มูลค่าที่สัมผัสได้ของการอาศัยอยู่ใกล้น้ำมีมากเกินมูลค่าของน้ำท่วมที่เกิดซ้ำเป็นเวล.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและน้ำท่วม · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำยาลู่

ูมิศาสตร์แม่น้ำยาลู แม่น้ำยาลู่ (鴨綠江, 鸭绿江 Yālù Jiāng; Yalu River) หรือ แม่น้ำอัมนก (Amnok River) เป็นแม่น้ำที่เป็นพรมแดนธรรมชาติกั้นระหว่างจีน และเกาหลีเหนือ และมีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์เกาหลีอย่างมาก.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและแม่น้ำยาลู่ · ดูเพิ่มเติม »

เกษตรกรรม

กษตรกรรม (agriculture) เป็นการเพาะปลูกพืช เห็ดรา เลี้ยงสัตว์ และรูปแบบของชีวิตแบบอื่น ๆ เพื่อเป็นอาหาร เส้นใย เชื้อเพลิงชีวภาพ ยารักษาโรคและผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อความยั่งยืนและเพิ่มสมรรถนะชีวิตมนุษย์ เกษตรกรรมเป็นพัฒนาการที่สำคัญในความเจริญของอารยธรรมมนุษย์ที่ไม่ย้ายที่อยู่ซึ่งการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ในสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่องได้ผลิตอาหารส่วนเกิน ซึ่งช่วยหล่อเลี้ยงพัฒนาการของอารยธรรม การศึกษาด้านเกษตรกรรมถูกเรียกว่า เกษตรศาสตร์ ประวัติศาสตร์ของเกษตรกรรมย้อนกลับไปหลายพันปี และการพัฒนาของมันได้ถูกขับเคลื่อนโดยความแตกต่างอย่างมากของภูมิอากาศ วัฒนธรรมและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตาม เกษตรกรรมทั้งหมดโดยทั่วไปพึ่งพาเทคนิคต่างๆเพื่อการขยายและบำรุงที่ดินที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสปีชีส์ที่ถูกทำให้เชื่อง สำหรับพืช เทคนิคนี้มักอาศัยการชลประทานบางรูปแบบ แม้จะมีหลายวิธีการของเกษตรกรรมในพื้นที่แห้งแล้งอยู่ก็ตาม ปศุสัตว์จะถูกเลี้ยงในระบบทุ่งหญ้าผสมกับระบบที่ไม่เป็นเจ้าของที่ดิน ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมพื้นที่เกือบหนึ่งในสามของพื้นที่ที่ปราศจากน้ำแข็งและปราศจากน้ำของโลก ในโลกพัฒนาแล้วเกษตรอุตสาหกรรมที่ยึดการปลูกพืชเชิงเดี่ยวขนาดใหญ่ได้กลายเป็นระบบเกษตรกรรมสมัยใหม่ที่โดดเด่น แม้ว่าจะมีแรงสนับสนุนที่เพิ่มมากขึ้นสำหรับเกษตรกรรมแบบยั่งยืน รวมถึงเกษตรถาวรและเกษตรกรรมอินทรีย์ จนกระทั่งมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ของประชากรมนุษย์ทำงานในภาคการเกษตร การเกษตรแบบก่อน-อุตสาหกรรมโดยทั่วไปเป็นการเกษตรเพื่อการดำรงชีวิต/การพึ่งตัวเองในที่ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกพืชเพื่อการบริโภคของตัวเองแทน'พืชเงินสด'เพื่อการค้า การปรับเปลี่ยนที่โดดเด่นในการปฏิบัติทางการเกษตรได้เกิดขึ้นในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาในการตอบสนองต่อเทคโนโลยีใหม่ๆและการพัฒนาของตลาดโลก มันยังได้นำไปสู่การปรับปรุงด้านเทคโนโลยีในเทคนิคการเกษตร เช่นวิธีของ 'ฮาเบอร์-Bosch' สำหรับการสังเคราะห์แอมโมเนียมไนเตรตซึ่งทำให้การปฏิบัติแบบดั้งเดิมของสารอาหารที่รีไซเคิลด้วยการปลูกพืชหมุนเวียนและมูลสัตว์มีความสำคัญน้อยลง เศรษฐศาสตร์การเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช เกษตรเคมีเช่นยาฆ่าแมลงและปุ๋ยและการปรับปรุงเทคโนโลยีที่ทันสมัยได้เพิ่มอัตราผลตอบแทนอย่างรวดเร็วจากการเพาะปลูก แต่ในเวลาเดียวกันได้ทำให้เกิดความเสียหายของระบบนิเวศอย่างกว้างขวางและผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ในเชิงลบ การคัดเลือกพันธุ์และการปฏิบัติที่ทันสมัยในการเลี้ยงสัตว์ได้เพิ่มขึ้นในทำนองเดียวกันของการส่งออกของเนื้อ แต่ได้เพิ่มความกังวลเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์และผลกระทบต่อสุขภาพของยาปฏิชีวนะ ฮอร์โมนที่สร้างการเจริญเติบโต และสารเคมีอื่นๆที่ใช้ทั่วไปในอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อสัตว์ สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเป็นองค์ประกอบที่เพิ่มขึ้นของการเกษตร แม้ว่าพวกมันจะเป็นสิ่งต้องห้ามในหลายประเทศ การผลิตอาหารการเกษตรและการจัดการน้ำจะได้กลายเป็นเป็นปัญหาระดับโลกเพิ่มขึ้นที่ได้รับการสนับสนุนให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับจำนวนของ fronts การเสื่อมสลายอย่างมีนัยสำคัญของทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงการหายไปของชั้นหินอุ้มน้ำ ได้รับการตั้งข้อสังเกตในทศวรรษที่ผ่านมา และผลกระทบของภาวะโลกร้อนกับการเกษตรและผลของการเกษตรต่อภาวะโลกร้อนยังคงไม่เป็นที่เข้าใจอย่างเต็มที่ สินค้าเกษตรที่สำคัญสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มกว้างๆได้แก่อาหาร เส้นใย เชื้อเพลิง และวัตถุดิบ อาหารที่เฉพาะได้แก่(เมล็ด)ธัญพืช ผัก ผลไม้ น้ำมันปรุงอาหาร เนื้อสัตว์และเครื่องเทศ เส้นใยรวมถึงผ้าฝ้าย ผ้าขนสัตว์ ป่าน ผ้าไหมและผ้าลินิน วัตถุดิบได้แก่ ไม้และไม้ไผ่ วัสดุที่มีประโยชน์อื่นๆมีการผลิตจากพืช เช่นเรซิน สีธรรมชาติ ยา น้ำหอม เชื้อเพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ประดับเช่นไม้ตัดดอกและพืชเรือนเพาะชำ กว่าหนึ่งในสามของคนงานในโลกมีการจ้างงานในภาคเกษตร เป็นที่สองรองจากภาคบริการเท่านั้น แม้ว่าร้อยละของแรงงานเกษตรในประเทศที่พัฒนาแล้วได้ลดลงอย่างมีนัยสำคัญในช่วงหลายศตวรรษที่ผ่านม.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและเกษตรกรรม · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและ18 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าเซจงมหาราชและ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

องค์ชายชุงนยองพระเจ้าเซจง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »