ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระเจ้านันทบุเรงและราชวงศ์ตองอู
พระเจ้านันทบุเรงและราชวงศ์ตองอู มี 20 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2124พ.ศ. 2142พระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าญองยานพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้พระเจ้าเมงจีโยพะโคยะไข่รัฐชานรัฐมณีปุระอังวะอาณาจักรพุกามอาณาจักรล้านช้างอาณาจักรล้านนาอาณาจักรอยุธยาจังหวัดเชียงใหม่ตองอูแปรไทใหญ่เถรวาท
พ.ศ. 2124
ทธศักราช 2124 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2124และพระเจ้านันทบุเรง · พ.ศ. 2124และราชวงศ์ตองอู ·
พ.ศ. 2142
ทธศักราช 2142 ใกล้เคียงกั.
พ.ศ. 2142และพระเจ้านันทบุเรง · พ.ศ. 2142และราชวงศ์ตองอู ·
พระเจ้าบุเรงนอง
ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..
พระเจ้านันทบุเรงและพระเจ้าบุเรงนอง · พระเจ้าบุเรงนองและราชวงศ์ตองอู ·
พระเจ้าญองยาน
ระเจ้าญองยาน (ညောင်ရမ်းမင်း เหญ่าง์ยาน) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์ตองอู ครองราชย์เป็นพระเจ้าอังวะระหว่างปี..
พระเจ้าญองยานและพระเจ้านันทบุเรง · พระเจ้าญองยานและราชวงศ์ตองอู ·
พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
ระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ ตะเบ็งเฉวฺ่ที (Tabinshwehti, တပင်ရွှေထီး; สำเนียงพม่าออกว่า "ตะเบ็งเฉวฺ่ที") เป็นพระมหากษัตริย์พม่ารัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าเมงจีโย ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู.
พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และพระเจ้านันทบุเรง · พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และราชวงศ์ตองอู ·
พระเจ้าเมงจีโย
ระเจ้าเมงจีโย (สำเนียงพม่าออกว่า มินจีโหญ่) (Mingyinyo, မင်းကြီးညို) หรือ พระเจ้าสิริชัยสุระ ตามพงศาวดารไทย หรือในนวนิยายผู้ชนะสิบทิศเรียก เมงกะยินโย เป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู ราชวงศ์และอาณาจักรที่ 2 ของประวัติศาสตร์พม่า พระเจ้าเมงจีโยเดิมเป็นนายทหารที่มีความสามารถในการรบ ได้ทำการรวบรวมชาวพม่าที่อยู่กันอย่างกระจัดกระจายหลังการล่มสลายของอาณาจักรพุกามภายหลังการโจมตีของมองโกล โดยได้รับความช่วยเหลือจากขุนนางสำคัญหลายคน เช่น เมงเยสีหตู (บางคนถูกสมมติเป็นตัวละครในนวนิยายผู้สิบทิศ เช่น มหาเถรวัดกุโสดอ) พระเจ้าเมงจีโยได้สถาปนาเมืองตองอู ซึ่งเป็นเมืองในขุนเขาเป็นปราการที่ดีขึ้นเป็นศูนย์กลางอำนาจใหม่ ต่อมามีการแผ่ขยายอำนาจเข้ายึดเมืองแปรโดยสามารถรบชนะพระเจ้านระบดีแห่งเมืองแปรได้สำเร็จ ต่อมาคิดจะเข้ายึดเมืองหงสาวดีที่มีพระเจ้าสการะวุตพีเป็นกษัตริย์ แต่ไม่สำเร็จเนื่องจากพระเจ้าเมงจีโยสวรรคตเสียก่อน ในมหาราชวงศ์พงศาวดารพม่า ระบุว่า พระองค์ได้พบกับพระมเหสีเมื่อเสด็จทอดพระเนตรการสร้างเขื่อน ซึ่งต่อมามีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว ที่ได้ครองราชย์ต่อมา คือ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระเจ้าเมงจีโย สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2074 พระนามของพระองค์อาจแปลได้ว่า "พระองค์ดำ" (มิน.
พระเจ้านันทบุเรงและพระเจ้าเมงจีโย · พระเจ้าเมงจีโยและราชวงศ์ตองอู ·
พะโค
(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.
พระเจ้านันทบุเรงและพะโค · พะโคและราชวงศ์ตองอู ·
ยะไข่
ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับเขตการปกครอง ดูที่ รัฐยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ ยะไข่, อะระกัน หรือ ระขึน (ရခိုင်လူမျိုး; IPA:; Rakhine) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หลักกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในรัฐยะไข่ ชาวยะไข่ถือเป็นชาวพม่าพื้นถิ่นในรัฐยะไข่กลุ่มหนึ่ง ภาษาพูดของชาวยะไข่นั้นถือเป็นสำเนียงหนึ่งในภาษาพม่า และยังมีร่องรอยของภาษาพม่าโบราณหลงเหลืออยู่ อันมีเสียงบางเสียงซึ่งในภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งไม่มีใช้แล้ว เช่น เสียง ร โดยภาษายะไข่นั้นยังรักษาเสียง ร ไว้ได้ครบแทบทุกตำแหน่ง หากต้องการสะกดคำที่มีอักษร ร จึงควรดูที่การออกเสียงของภาษายะไข่ ทั้งนี้เนื่องจากยะไข่ห่างไกลศูนย์กลางจากพม่า โดยมีเทือกเขาอาระกันโยมาขวางกั้นอยู่ อีกทั้งยะไข่เองก็เคยมีอิสรภาพในการปกครองตนเองเป็นอาณาจักรอยู่ร่วมหลายร้อยปี ภายหลังจากการมาของอังกฤษ ยะไข่ถูกมองว่าต่างจากชาวพม่าทั่วไป ดินแดนยะไข่จึงถูกกำหนดเป็นรัฐหนึ่งเฉกเช่นเดียวกับชนกลุ่มน้อยในพม.
พระเจ้านันทบุเรงและยะไข่ · ยะไข่และราชวงศ์ตองอู ·
รัฐชาน
รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.
พระเจ้านันทบุเรงและรัฐชาน · รัฐชานและราชวงศ์ตองอู ·
รัฐมณีปุระ
รัฐมณีปุระ (ภาษาเบงกาลี: মণিপুর, ภาษามณีปุรี: mnipur) คือหนึ่งในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย มีเขตติดต่อกับรัฐนาคาแลนด์ทางทิศเหนือ รัฐอัสสัมทางทิศตะวันตก รัฐมิโซรัมทางทิศใต้ และประเทศพม่าทางทิศตะวันออก เป็นรัฐในเขตชายแดนซึ่งถือเป็นเขตพิเศษ ชาวต่างชาติที่จะเข้าไปต้องได้รับอนุญาต เป็นจุดกำเนิดของกีฬาโปโลสมัยใหม.
พระเจ้านันทบุเรงและรัฐมณีปุระ · รัฐมณีปุระและราชวงศ์ตองอู ·
อังวะ
อังวะ (အင်းဝ, อีนวะ หรือ อะวะ) ตั้งอยู่ในเขตมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า เป็นเมืองหลวงเก่าของพม่าถึง 5 ครั้งในช่วง 360 ปีระหว่าง ค.ศ. 1365 ถึง ค.ศ. 1842 ทั้งในสมัยราชวงศ์อังวะ ราชวงศ์ตองอู และราชวงศ์คองบอง ในประวัติศาสตร์เมืองอังวะผ่านการสู้รบ ถูกปล้นสะดมและฟื้นฟูมาแล้วหลายครั้ง ปัจจุบันถูกทิ้งร้างอย่างสิ้นเชิง อันเป็นผลมาจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1839 ซากปรักหักพังที่เหลืออยู่ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในเขตมัณฑะเลย์ อังวะมีชื่อในภาษาบาลีว่า "รัตนปุระ" (พม่าเรียก ยะดะหน่าบู่ยะ) (ऋअतनपुर; ရတနာပူရ) ส่วนชื่อในภาษาพม่า มีความหมายว่า "ปากทะเลสาบ" เนื่องจากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของเมือง ตั้งอยู่ใกล้ทะเลสาบในเขตอำเภอจอกเซ.
พระเจ้านันทบุเรงและอังวะ · ราชวงศ์ตองอูและอังวะ ·
อาณาจักรพุกาม
อาณาจักรพุกาม (Pagan Kingdom; ပုဂံခေတ်) เป็นอาณาจักรโบราณในช่วง..
พระเจ้านันทบุเรงและอาณาจักรพุกาม · ราชวงศ์ตองอูและอาณาจักรพุกาม ·
อาณาจักรล้านช้าง
อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ. 1896 สมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม มีความรุ่งเรืองสลับกับความร่วงโรยต่อมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับได้ว่าเป็นยุคทองของอาณาจักรล้านช้างคือรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอำนาจลงและแตกแยกเป็น 3 ราชอาณาจักร และในปี พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ได้สูญเสียเอกราชแก่ราชอาณาจักรสยามในที.
พระเจ้านันทบุเรงและอาณาจักรล้านช้าง · ราชวงศ์ตองอูและอาณาจักรล้านช้าง ·
อาณาจักรล้านนา
อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.
พระเจ้านันทบุเรงและอาณาจักรล้านนา · ราชวงศ์ตองอูและอาณาจักรล้านนา ·
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.
พระเจ้านันทบุเรงและอาณาจักรอยุธยา · ราชวงศ์ตองอูและอาณาจักรอยุธยา ·
จังหวัดเชียงใหม่
ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.
จังหวัดเชียงใหม่และพระเจ้านันทบุเรง · จังหวัดเชียงใหม่และราชวงศ์ตองอู ·
ตองอู
ตองอู หรือ ตองงู (တောင်ငူ;; เตาง์งู; คำแปล: เมืองในขุนเขา) เป็นเมืองในเขตหงสาวดี ประเทศพม่า อยู่ห่างจากย่างกุ้งไปทางเหนือ 220 กิโลเมตร ตั้งบนฝั่งแม่น้ำสะโตง เป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอิสระตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14–16 ในสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่างปี..
ตองอูและพระเจ้านันทบุเรง · ตองอูและราชวงศ์ตองอู ·
แปร
แปร หรือ ปยี (ပြည်) หรือ โปรม (Prome; ပြန်, ปรอน) เป็นเมืองในเขตหงสาวดีของประเทศพม่า ตั้งอยู่ที่ราบลุ่มปากแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 260 กิโลเมตร ในอดีต เมืองแปรเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีเกษตรของชนเผ่าปยูมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 เป็นศูนย์กลางการค้าเพราะอยู่เดินทางออกสู่ทะเลได้สะดวก.
พระเจ้านันทบุเรงและแปร · ราชวงศ์ตองอูและแปร ·
ไทใหญ่
ทใหญ่ หรือ ฉาน (တႆး ไต๊; ရှမ်းလူမျိုး) หรือ เงี้ยว (ซึ่งเป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพ) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่า และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่าคนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื้อ และไตมาว แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต.
พระเจ้านันทบุเรงและไทใหญ่ · ราชวงศ์ตองอูและไทใหญ่ ·
เถรวาท
รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ พระเจ้านันทบุเรงและราชวงศ์ตองอู มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระเจ้านันทบุเรงและราชวงศ์ตองอู
การเปรียบเทียบระหว่าง พระเจ้านันทบุเรงและราชวงศ์ตองอู
พระเจ้านันทบุเรง มี 65 ความสัมพันธ์ขณะที่ ราชวงศ์ตองอู มี 71 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 20, ดัชนี Jaccard คือ 14.71% = 20 / (65 + 71)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระเจ้านันทบุเรงและราชวงศ์ตองอู หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: