เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนและอี ฮวัง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนและอี ฮวัง

พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน vs. อี ฮวัง

ระเจ้าซ็อนโจ (선조 宣祖) เป็นพระมหากษัตริย์ราชวงศ์โชซ็อนองค์ที่ 14 (พ.ศ. 2110 ถึง พ.ศ. 2151) รัชสมัยของพระองค์เป็นเวลาที่วิกฤตที่สุดในประวัติศาสตร์เกาหลีและมีเหตุการณ์สำคัญหลายอย่าง ทั้งการรุกรานของญี่ปุ่นและการแบ่งฝ่ายของกลุ่มซานิมออกเป็นฝ่ายตะวันออก และฝ่ายตะวันตก ที่จะส่งผลต่อการเมืองอาณาจักรโชซ็อนไปอีกหลายร้อยปี แม้ว่าในสมัยของพระเจ้าซ็อนโจจะมีผู้มีความสามารถมากมาย เช่น ลีซุนชิน ลีฮวาง ลีอี แต่ความแตกแยกก็ทำให้โชซ็อนต้องเผชิญกับศึกหนัก องค์ชายฮาซง เป็นพระโอรสขององค์ชายทอกกึง ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าจุงจงกับพระสนมอันชางบิน เป็นองค์ชายธรรมดาที่ห่างไกลจากราชบัลลังก์และไม่มีขุนนางใดสนับสนุนให้มีอำนาจ แต่ในพ.ศ. 2110 พระเจ้าเมียงจง สิ้นพระชนม์โดยที่ไม่มีทายาท บรรดาขุนนางจึงสรรหาพระราชวงศ์ที่พระเยาว์มาขึ้นครองราชย์ องค์ชายฮาซงจึงถูกเลือกและขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าซ็อนโจ และเลื่อนสถานะของพระบิดาและพระมารดาเป็นแทวอนกุนและแทกุนบูอิน. วอนของเกาหลีใต้ อี ฮวัง (이황 李滉; ค.ศ. 1501–1570) นามปากกาว่า ทเว-กเย (Toegye 퇴계 退溪) เป็นนักปราชญ์ลัทธิขงจื้อใหม่ (Neo-Confucianism) คนสำคัญของเกาหลีในสมัยราชวงศ์โชซอน แนวคิดและผลงานของอี ฮวัง นั้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อวงการนักปราชญ์ลัทธิขงจื๊อใหม่ของอาณาจักรโชซอนนับตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่สิบหกเป็นต้นมา ทั้งยังเป็นบุคคลร่วมสมัยกันกับนักปราชญ์ลัทธิขงจื๊ออีกคนของเกาหลีอย่าง อี อี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนและอี ฮวัง

พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนและอี ฮวัง มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเจ้ามย็องจงแห่งโชซ็อนพระเจ้าจุงจงราชวงศ์โชซ็อนเจ้าชายควังแฮ

พระเจ้ามย็องจงแห่งโชซ็อน

ระเจ้ามยองจง เป็นประมุขราชวงศ์โชซอนองค์ที่ 13 (พ.ศ. 2088 ถึง พ.ศ. 2110) หรือ องค์ชายเคียงวอน เป็นโอรสของพระเจ้าจุงจงกับมเหสีมุนจอง ขึ้นครองราชย์เมื่อพระชนมายุ 11 พรรษา ต่อจากพระเชษฐาต่างมารดา คือ พระเจ้าอินจง ที่สิ้นพระชนม์ไปด้วยพระสุขภาพไม่สู้จะดีในพ.ศ. 2088 มีพระมารดาคือ พระพันปีมุนจอง สำเร็จราชการแทน พระเจ้ามยองจงประสูติเมื่อ..

พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนและพระเจ้ามย็องจงแห่งโชซ็อน · พระเจ้ามย็องจงแห่งโชซ็อนและอี ฮวัง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจุงจง

ระเจ้าจุงจง (ค.ศ. 1488 - ค.ศ. 1544) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 11 ของ อาณาจักรโชซ็อน (ค.ศ. 1506 - ค.ศ. 1544).

พระเจ้าจุงจงและพระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน · พระเจ้าจุงจงและอี ฮวัง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนและราชวงศ์โชซ็อน · ราชวงศ์โชซ็อนและอี ฮวัง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายควังแฮ

้าชายควังแฮ (광해군 光海君; ค.ศ. 1574 — ค.ศ. 1641) พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 15 แห่งราชอาณาจักรโชซอนโดยครองราชย์ในช่วงปี ค.ศ. 1608 — ค.ศ. 1623 แต่ไม่ได้รับพระนามกษัตริย์เนื่องจากถูกยึดอำนาจจากฝ่ายตะวันตกใน ค.ศ. 1623 ในฐานะองค์ชายรัชทายาทองค์ชายควังแฮยืนหยัดนำทัพเกาหลีต่อต้าน การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (พ.ศ. 2135–2141) ในขณะที่ พระเจ้าซอนโจ พระบิดาหลบหนีไปยังประเทศจีน หลังการรุกรานของญี่ปุ่นองค์ชายควังแฮได้รับการสนับสนุนจากขุนนางฝ่ายเหนือใหญ่หรือแทบุก (대북 大北) ให้ขึ้นครองราชสมบัติแต่ถูกต่อต้านโดยขุนนางฝ่ายเหนือเล็กหรือโซบุก (소북 小北) ที่สนับสนุนองค์ชายยองชัง พระอนุชาต่างมารดาที่ประสูติจากพระมเหสี ในรัชสมัยของพระองค์ขุนนางฝ่ายเหนือใหญ่ได้ทำการปราบปรามขุนนางฝ่ายเหนือเล็กอย่างรุนแรงรวมทั้งผลักดันให้มีการสำเร็จโทษประหารชีวิตองค์ชายยองชังและกักขังพระพันปีอินมก จนเป็นข้ออ้างให้ขุนนางฝ่ายตะวันตกก่อการรัฐประหารในปีค.ศ. 1623 ล้มองค์ชายควังแฮลงจากราชบัลลังก์และเนรเทศไปยังเกาะคังฮวาในที.

พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนและเจ้าชายควังแฮ · อี ฮวังและเจ้าชายควังแฮ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนและอี ฮวัง

พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อน มี 48 ความสัมพันธ์ขณะที่ อี ฮวัง มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 6.35% = 4 / (48 + 15)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระเจ้าซ็อนโจแห่งโชซ็อนและอี ฮวัง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: