โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษและภาษีเดี่ยว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษและภาษีเดี่ยว

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ vs. ภาษีเดี่ยว

ระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ (Charles II of England; 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685) พระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ และพระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ ในราชวงศ์สจวต ระหว่างปี ค.ศ. 1660 ถึงปี ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 พระราชสมภพเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 ที่พระราชวังเซนต์เจมส์ในกรุงลอนดอน เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ได้อภิเษกสมรสกับพระนางแคเธอริน และครองสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 ถึงวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 และ อังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 ถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ที่พระราชวังไวท์ฮอลในกรุงลอนดอน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์ตามกฎหมายหลังจากพระราชบิดาพระเจ้าชาลส์ที่ 1 ถูกประหารชีวิตที่พระราชวังไวต์ฮอลเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1649 แต่รัฐสภาอังกฤษมิได้ประกาศแต่งตั้งให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์และผ่านบัญญัติว่าเป็นการดำรงตำแหน่งของพระองค์เป็นการผิดกฎหมาย จึงเกิดช่วงว่างระหว่างรัชกาลในอังกฤษ แต่ทางรัฐสภาสกอตแลนด์ประกาศให้พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ของชาวสกอตเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1649 ที่เอดินบะระ และรับพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1651 หลังจากที่พ่ายแพ้ยุทธการวูสเตอร์เมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1651 พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็เสด็จหนีไปยุโรปภาคพื้นทวีปและไปประทับลี้ภัยเป็นเวลา 9 ปีในประเทศฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ของสเปน หลังจากที่รัฐบาลสาธารณรัฐภายใต้การนำของริชาร์ด ครอมเวลล์ล่มในปี ค.ศ. 1659 นายพลจอร์จ มองค์ก็อัญเชิญชาลส์ให้กลับมาเป็นสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษในสมัยที่เรียกกันว่า “การฟื้นฟูราชวงศ์อังกฤษ” พระเจ้าชาลส์ที่ 2 เสด็จกลับถึงอังกฤษเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และเสด็จเข้าลอนดอนในวันประสูติครบ 30 พรรษาเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 และทรงได้รับการราชาภิเศกเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษและ ไอร์แลนด์เมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1660 รัฐสภาภายใต้การนำของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ออกพระราชบัญญัติต่อต้านพิวริตันที่รู้จักกันในชื่อ “ประมวลกฎหมายแคลเรนดัน” (Clarendon code) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อหนุนสถานะของคริสตจักรแห่งอังกฤษ แม้ว่าในทางส่วนพระองค์แล้วพระเจ้าชาลส์ที่ 2 จะทรงสนับสนุนนโยบายความมีเสรีภาพในการนับถือศาสนาก็ตาม ส่วนปัญหาใหญ่ในด้านการต่างประเทศในต้นรัชสมัยก็คือการสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1670 พระเจ้าชาลส์ทรงไปทำสัญญาลับกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสที่ระบุว่าฝรั่งเศสจะช่วยอังกฤษในสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สาม และจะถวายเงินบำนาญแก่พระองค์โดยมีข้อแม้ว่าสมเด็จพระเจ้าชาลส์ต้องสัญญาว่าจะเปลื่ยนจากการนับถือนิกายแองกลิคันไปเป็นการนับถือนิกายโรมันคาทอลิก แต่พระเจ้าชาลส์มิได้ทรงระบุเวลาที่แน่นอนในเรื่องการเปลี่ยนนิกาย แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงพยายามเพิ่มสิทธิและเสรีภาพให้แก่ผู้นับถือนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายโปรเตสแตนต์ต่าง ๆ มากขึ้นโดยการออกพระราชปฏิญญาพระคุณการุญในปี ค.ศ. 1672 แต่รัฐสภาบังคับให้ทรงถอนในปี ค.ศ. 1679 ในปี ค.ศ. 1679 ไททัส โอตส์สร้างข่าวลือเรื่อง “การลอบวางแผนโพพิช” ที่เป็นผลให้เกิดวิกฤตกาลการกีดกัดต่อมา เมื่อเป็นที่ทราบกันว่าดยุกแห่งยอร์กพระอนุชาของพระเจ้าชาลส์ที่ 2 และรัชทายาทผู้ต่อมาขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเจมส์ที่ 2เปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้บ้านเมืองแบ่งเป็นสองฝักสองฝ่าย ฝ่ายวิกสนับสนุนการยกเว้นไม่ให้ดยุกแห่งยอร์กขึ้นครองราชย์และฝ่ายทอรีต่อต้านการยกเว้น พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเข้าข้างฝ่ายหลัง หลังจากที่ผู้ก่อการโปรเตสแตนต์วางแผน “การลอบวางแผนไรย์เฮาส์” ที่จะปลงพระองค์เองและดยุกแห่งยอร์กในปี ค.ศ. 1683 ที่ทำให้ผู้นำพรรควิกหลายคนถูกประหารชีวิตหรือถูกเนรเทศ พระเจ้าชาลส์ที่ 2 จึงทรงยุบสภาในปี ค.ศ. 1679 และทรงราชย์โดยไม่มีรัฐสภาจนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ก่อนจะเสด็จสวรรคตพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ก็ทรงเปลี่ยนไปนับถือโรมันคาทอลิกบนพระแท่นที่ประชวร พระเจ้าชาลส์ไม่มีพระราชโอรสธิดากับพระนางแคเธอรินแห่งบราแกนซา เพราะพระนางทรงเป็นหมัน แต่ทรงยอมรับว่ามีพระราชโอรสธิดานอกสมรส 12 องค์กับพระสนมหลายคน พระเจ้าชาลส์ที่ 2 ทรงเป็นที่รู้จักกันในพระนาม “ราชาเจ้าสำราญ” (Merrie Monarch) ซึ่งหมายถึงการใช้ชีวิตในราชสำนักของพระองค์ที่เต็มไปด้วยความสนุกสำราญซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการที่ถูกเก็บกดมาเป็นเวลานานภายใต้การปกครองของโอลิเวอร์ ครอมเวลล์และกลุ่มพิวริตัน. ษีเดี่ยว (Single Tax) คือ ระบบภาษีที่เก็บจากแหล่งที่มาของรายได้จากภาษีเพียงแหล่งเดียว ทั้งนี้เคยมีผู้เสนอให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ หารายได้จากภาษีเพียงแหล่งเดียว เช่น จากการใช้จ่าย จากรายได้ จากทุน หรือ จากอาคารบ้านเรือน แต่ต่อมาคำ “ภาษีเดี่ยว” มักใช้กับแนวคิดของ เฮนรี จอร์จ นักเศรษฐศาสตร์อเมริกันในหนังสือ Progress and Poverty (พิมพ์ครั้งแรก ค.ศ. 1879) ที่เสนอให้เก็บภาษีจากมูลค่าที่ดินเพียงอย่างเดียวโดยมีเหตุผลตามปฐมธาตุหรือรากฐานความคิด (first principles) ว่าสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติ รวมทั้งแผ่นดินและทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมนุษย์มิได้ลงแรงลงทุนผลิตขึ้นมา ควรเป็นกรรมสิทธิ์ของส่วนรวมร่วมกัน อันเป็นการตรงข้ามกับทรัพย์สินอื่น ๆ ซึ่งมนุษย์ต้องลงแรงลงทุนผลิต ผลผลิตของใครก็ต้องเป็นสิทธิ์ส่วนตัวของผู้นั้น รวมทั้งสิทธิ์ที่จะค้าขายแลกเปลี่ยนหรือยกให้แก่ผู้ใดก็ได้ ซึ่งผู้ที่ได้รับก็ควรจะได้สิทธิ์ต่อไป ส่วนค่าวัตถุดิบหรือทรัพยากรธรรมชาติที่นำมาใช้ในการผลิตก็ต้องจ่ายให้แก่รัฐผู้ทำหน้าที่รับแทนส่วนรวม รวมทั้งค่าใช้ที่ดินตามทำเลและสภาพอื่น ๆ ที่ดีเลวแตกต่างกันไป พ้นจากนี้แล้วการลงแรงลงทุนผลิตและค้าไม่ควรถูกเก็บภาษีถ้ายังไม่ได้เก็บภาษีจากสิ่งที่ควรเป็นของส่วนรวมร่วมกันให้เต็มที่เสียก่อน รัฐเองก็ต้องพยายามใช้รายได้จากภาษีอย่างประหยัดที่สุด ปัจจุบันมีคำหลายคำที่มีความหมายเหมือน ๆ กับ “ภาษีมูลค่าที่ดิน” (Land Value Tax) ในฐานะเป็นแนวคิด หรือระบบ หรือลัทธิ เช่น ลัทธิจอร์จ (Georgism) ภูมิเศรษฐศาสตร์ (Geonomics) ภูมินิยม (Geoism) เศรษฐศาสตร์ที่ดิน (Gaianomics) ภาษีมูลค่าทำเล (Site Value Rating) ภาษีค่าเช่าที่ดิน (Ground Rent Collection) การกลับมายึดมูลค่าที่ดิน (Land Value Recapture) และ ค่าเช่าทรัพยากร (Resource Rentals) ภาษีมูลค่าที่ดินนี้สหรัฐอเมริกามีประสบการณ์อยู่พอควรในการคิดแยกจากภาษีสิ่งปรับปรุง แม้จะมิใช่ในฐานะภาษีเดี่ยว เช่น รัฐเพนซิลเวเนียได้ให้นครชั้นที่ 2 ซึ่งขณะนั้นมีสองแห่ง คือ พิตต์สเบิร์กและสแครนตัน ค่อย ๆ ปรับแต่งอัตราส่วนระหว่างภาษีมูลค่าที่ดินกับภาษีสิ่งปรับปรุงซึ่งเดิมคิดอัตราเดียวกันถึง..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษและภาษีเดี่ยว

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษและภาษีเดี่ยว มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): 29 พฤษภาคม8 พฤษภาคม

29 พฤษภาคม

วันที่ 29 พฤษภาคม เป็นวันที่ 149 ของปี (วันที่ 150 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 216 วันในปีนั้น.

29 พฤษภาคมและพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · 29 พฤษภาคมและภาษีเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤษภาคม

วันที่ 8 พฤษภาคม เป็นวันที่ 128 ของปี (วันที่ 129 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 237 วันในปีนั้น.

8 พฤษภาคมและพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · 8 พฤษภาคมและภาษีเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษและภาษีเดี่ยว

พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ มี 168 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาษีเดี่ยว มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 1.15% = 2 / (168 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษและภาษีเดี่ยว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »