เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้าจิงกูจาและราชวงศ์โกนบอง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระเจ้าจิงกูจาและราชวงศ์โกนบอง

พระเจ้าจิงกูจา vs. ราชวงศ์โกนบอง

ระเจ้าจิงกูจา (Singu Min,စဉ့်ကူးမင်း) พระโอรสของพระเจ้ามังระ ขึ้นครองราชย์ด้วยพระชันษาเพียง 20 ปี ภายหลังการสวรรคตของพระเจ้ามังระ พระเจ้าจิงกูจา ได้ทำการปราบบรรดาผู้ที่ต่อต้านน้อยใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วยเชื้อพระวงศ์ พระญาติ และเหล่าขุนนางด้วยวิธีการที่เด็ดขาด คือ ประหารชีวิตเสียหลายคน และหลายคนก็ถูกลดอำนาจหรือส่งไปอยู่หัวเมืองที่ห่างไกล เช่น พระเจ้าปดุง ที่ถูกส่งไปอยู่เมืองสะกาย และมีผู้ทำการควบคุมอีกชั้นหนึ่ง โดยเมื่อพระองค์ได้อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดแล้วก็ทรงปลดอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพคู่บารมีของพระเจ้ามังระพระราชบิดาของพระองค์ลงแล้วเนรเทศไปอยู่ที่เมืองสะกายเช่นเดียวกับพระเจ้าปดุง ทั้งที่แม่ทัพเฒ่าผู้นี้ยกกองทัพกลับมาจากการตีกรุงธนบุรี เพื่อมาควบคุมสถานะการในกรุงอังวะจนเรียบร้อยและมอบพระราชอำนาจเต็มแก่พระองค์ ซึ่งหากวิเคราะห์แล้วก็อาจเป็นเพราะอะแซหวุ่นกี้มีอำนาจ บารมีทางการทหารมากเกินไป รวมไปถึงเนเมียวสีหบดี, เนเมียวสีหตูและเหล่าขุนนางเก่าในพระเจ้ามังระพระองค์ก็ประหารทิ้งบ้าง ปลดทิ้งเสียจากตำแหน่งบ้างไปอีกหลายคน ซึ่งการใช้พระเดชเช่นนี้ทำให้ระหว่างการครองราชย์ผู้คนรอบตัวต่างหวาดระแวงภัยที่อาจมาถึงตัวเมื่อใดก็ได้ ในที่สุดหลังจากพระเจ้าจิงกูจาครองราชย์เพียง 5 ปี ก็ถูกเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่ง คือ หม่องหม่อง โอรสของพระเจ้ามังลอก ทำการรัฐประหารยึดพระราชวัง ในระหว่างที่พระองค์เสด็จไปสักการะพระพุทธรูปสิงหดอที่ทางเหนือ โดยความช่วยเหลือของขุนนางและเชื้อพระวงศ์หลายคน (เชื่อว่ารวมทั้งอะแซหวุ่นกี้ที่ทนต่อการบริหารราชการของพระองค์ไม่ได้) แต่แรกพระเจ้าจิงกูจาคิดจะหนีไปอาศัยอยู่เมืองกะแซ แต่เป็นห่วงพระราชชนนีจึงลอบลงมาใกล้เมืองอังวะ แล้วมีหนังสือเข้าไปทูลให้ทราบว่าจะหนีไปเมืองกะแซ. ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระเจ้าจิงกูจาและราชวงศ์โกนบอง

พระเจ้าจิงกูจาและราชวงศ์โกนบอง มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2319พ.ศ. 2325พระเจ้ามังระพระเจ้ามังลอกพระเจ้าหม่องหม่องพระเจ้าปดุงภาษาพม่าอะแซหวุ่นกี้อังวะอาณาจักรธนบุรีเนเมียวสีหบดี

พ.ศ. 2319

ทธศักราช 2319 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2319และพระเจ้าจิงกูจา · พ.ศ. 2319และราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2325

ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.

พ.ศ. 2325และพระเจ้าจิงกูจา · พ.ศ. 2325และราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามังระ

ระเจ้ามังระ หรือ พระเจ้าซินพะยูชิน (ဆင်ဖြူရှင်;‌ Hsinbyushin.) เป็นพระโอรสองค์ที่ 2 ในจำนวน 6 พระองค์ของพระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์อลองพญาหรือราชวงศ์คองบอง ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของราชวงศ์อลองพญา ในปี..

พระเจ้าจิงกูจาและพระเจ้ามังระ · พระเจ้ามังระและราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามังลอก

ระเจ้ามังลอก (Naungdawgyi) เป็นพระโอรสพระองค์โตของพระเจ้าอลองพญา ในบรรดาพระโอรส 6 พระองค์ ขึ้นครองราชย์เนื่องจากทรงเป็น "เองเชเมง" หรือ อุปราชวังหน้า ซึ่งเมื่อการสวรรคตของพระเจ้าอลองพญา ในสมัยของพระองค์ได้เกิดการกบฏครั้งสำคัญคือมังฆ้องนรธาขุนพลคู่บารมีของพระเจ้าอลองพญา รวมไปถึงการแก่งแย่งอำนาจจากเจ้านายฝ่ายพม่าด้วยกันเอง ทำให้ตลอดรัชสมัยของพระองค์ต้องทำการปราบกบฎอยู่หลายครั้ง แต่ด้วยอุปนิสัยที่มีเมตตาของพระองค์ จึงทำเพียงขับไล่ หรือคุมขังผู้ทำผิดเสียเป็นส่วนมาก แต่ไม่ประหารชีวิตบางครั้งก็ถึงกับอภัยโทษให้ผู้ทำผิดอยู่บ่อ.

พระเจ้าจิงกูจาและพระเจ้ามังลอก · พระเจ้ามังลอกและราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหม่องหม่อง

ระเจ้าหม่องหม่อง หรือ พระเจ้าพองกาซาหม่องหม่อง (Maung Maung, Phaungkaza Maung Maung, ဖောင်းကားစား မောင်မောင်,; 12 กันยายน ค.ศ. 1763 - 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1782) เป็นพระโอรสองค์หนึ่งในพระเจ้ามังลอก หรือพระเจ้านองดอจี พระราชโอรสพระองค์โตในพระเจ้าอลองพญา ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์คองบอง เมื่อพระเจ้ามังระสวรรคตลงอย่างกะทันหันในปี พ.ศ. 2319 หม่องหม่อง ซึ่งเป็นเจ้าเมืองพองกา ซึ่งมีพระชันษาเพียง 18 ชันษา เมื่อพระเจ้าจิงกูจา หรือพระเจ้าเซงกูเมง ได้เสด็จไปกระทำการสักการะเจดีย์และพระพุทธรูปนอกกรุงอังวะ หม่องหม่องและขุนนางรวมถึงกำลังทหารจำนวนหนึ่ง (รวมถึงอะแซหวุ่นกี้ด้วย) ได้กระทำการยึดอำนาจแล้วสถาปนาตนเองขึ้นเป็นกษัตริย์ แต่ทว่าอยู่ในอำนาจได้เพียงแค่ 7 วันเท่านั้น ปโดงเมง เจ้าเมืองปโดง ซึ่งเป็นพระโอรสพระองค์หนึ่งของพระเจ้าอลองพญา ก็ยกทัพเข้ามาทำการปราบปราม พร้อมทั้งกำจัดกลุ่มผู้ที่สนับสนุนทั้งหม่องหม่องและพระเจ้าจิงกูจาด้วยการประหารชีวิต แล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าปดุง ในปี พ.ศ. 2325.

พระเจ้าจิงกูจาและพระเจ้าหม่องหม่อง · พระเจ้าหม่องหม่องและราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าปดุง

ระเจ้าปดุง (Bodawpaya) เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชวงศ์อลองพญา (หรือเป็นองค์ที่ 6 หากนับรวมพระเจ้าหม่องหม่องด้วย) ราชวงศ์สุดท้ายของพม่า เป็นพระโอรสลำดับที่ 5 ใน 6 พระองค์ของพระเจ้าอลองพญา ขึ้นครองราชย์โดยการปราบดาภิเษกในปี พ.ศ. 2325 ปีเดียวกับการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ พระเจ้าปดุง เมื่อทรงครองราชย์มีพระนามว่า "ปโดงเมง" หมายถึง "พระราชาจากเมืองปโดง" แต่มีพระนามที่เป็นที่เรียกขานในพม่าภายหลังว่า "โบดอพญา" (ဘိုးတော်ဘုရား) แปลว่า "เสด็จปู่ ".

พระเจ้าจิงกูจาและพระเจ้าปดุง · พระเจ้าปดุงและราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพม่า

ษาพม่า หรือ ภาษาเมียนมา (MLCTS: myanma bhasa) เป็นภาษาราชการของประเทศพม่า จัดอยู่ในในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า อันเป็นสาขาย่อยของตระกูลภาษา โดยเป็นภาษาแม่ของคนประมาณ 32 ล้านคนในพม่า และเป็นภาษาที่สองของชนกลุ่มน้อยในพม่า และในประเทศอินเดีย ประเทศบังกลาเทศ ประเทศมาเลเซีย ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา ภาษาพม่าเป็นภาษาที่มีระดับเสียง หรือวรรณยุกต์ มีวรรณยุกต์ 4 เสียงและเขียนโดยใช้อักษรพม่า ซึ่งดัดแปลงจากอักษรมอญอีกทอดหนึ่ง และจัดเป็นสมาชิกในตระกูลอักษรพราหมี รหัส ISO 639 สำหรับภาษาพม่าคือ 'my' และรหัส SIL คือ BMS.

พระเจ้าจิงกูจาและภาษาพม่า · ภาษาพม่าและราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

อะแซหวุ่นกี้

มะฮาตีฮะตูระ (แปลงเป็นไทย มหาสีหสุระ, မဟာသီဟသူရ, Maha Thiha Thura; ราวพุทธศักราช 2263-2325) เอกสารไทยเรียก อะแซหวุ่นกี้ เป็นแม่ทัพแห่งกองทัพพม่าช่วง..

พระเจ้าจิงกูจาและอะแซหวุ่นกี้ · ราชวงศ์โกนบองและอะแซหวุ่นกี้ · ดูเพิ่มเติม »

อังวะ

อังวะ (အင်းဝ, อีนวะ หรือ อะวะ) ตั้งอยู่ในเขตมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า เป็นเมืองหลวงเก่าของพม่าถึง 5 ครั้งในช่วง 360 ปีระหว่าง ค.ศ. 1365 ถึง ค.ศ. 1842 ทั้งในสมัยราชวงศ์อังวะ ราชวงศ์ตองอู และราชวงศ์คองบอง ในประวัติศาสตร์เมืองอังวะผ่านการสู้รบ ถูกปล้นสะดมและฟื้นฟูมาแล้วหลายครั้ง ปัจจุบันถูกทิ้งร้างอย่างสิ้นเชิง อันเป็นผลมาจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1839 ซากปรักหักพังที่เหลืออยู่ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในเขตมัณฑะเลย์ อังวะมีชื่อในภาษาบาลีว่า "รัตนปุระ" (พม่าเรียก ยะดะหน่าบู่ยะ) (ऋअतनपुर; ရတနာပူရ) ส่วนชื่อในภาษาพม่า มีความหมายว่า "ปากทะเลสาบ" เนื่องจากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของเมือง ตั้งอยู่ใกล้ทะเลสาบในเขตอำเภอจอกเซ.

พระเจ้าจิงกูจาและอังวะ · ราชวงศ์โกนบองและอังวะ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

พระเจ้าจิงกูจาและอาณาจักรธนบุรี · ราชวงศ์โกนบองและอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เนเมียวสีหบดี

นเมียวสีหบดี (နေမျိုးသီဟပတေ့, Ne Myo Thihapate) เขาเป็นแม่ทัพของราชวงศ์คองบองที่โดดเด่นมีฝีมือการรบเป็นที่น่าเกรงขาม อีกทั้งเป็นทหารคู่บารมีของพระเจ้ามังระอีกคนหนึ่ง.

พระเจ้าจิงกูจาและเนเมียวสีหบดี · ราชวงศ์โกนบองและเนเมียวสีหบดี · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระเจ้าจิงกูจาและราชวงศ์โกนบอง

พระเจ้าจิงกูจา มี 21 ความสัมพันธ์ขณะที่ ราชวงศ์โกนบอง มี 66 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 12.64% = 11 / (21 + 66)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระเจ้าจิงกูจาและราชวงศ์โกนบอง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: