เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวายและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวาย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวายและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวาย

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวาย vs. รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวาย

ระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวาย (Kamehameha III) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 แห่งราชอาณาจักรฮาวาย ต่อจากพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 2 แห่งฮาวายพระเชษฐา พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 1813 ที่เมืองโคนา ราชอาณาจักรฮาวาย เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวายกับสมเด็จพระราชินีคิโอปูโอลานิแห่งฮาวาย พระองค์ครองราชย์บัลลังก์เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 1825 ต่อจากพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 2 ซึ่งเสด็จสวรรคตที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในรัชกาลของพระองค์ราชอาณาจักรฮาวายเปลี่ยนระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ยาวนานที่สุดของฮาวาย พระองค์ทรงครองราชย์เป็นระยะเวลา 19 ปี แม้ว่าช่วงต้นรัชกาลจะอยู่ภายใต้การปกครองของผู้สำเร็จราชการซึ่งก็คือสมเด็จพระราชินีคาอาฮูมานูก็ตาม พระราชกรณีกิจที่สำคัญของพระองค์คือนำประเทศไปสู่ความพัฒนาเพื่อป้องกันการรุกรานจากชาติตะวันตก. ราชอาณาจักรฮาวายก่อตั้งโดยพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 (หรือที่รู้จักกันในพระนามคาเมฮาเมฮามหาราช) ในปี 1795 หลังจากทรงพิชิตเกาะส่วนใหญ่ในหมู่เกาะฮาวาย ราชวงศ์ของพระองค์สืบทอดต่อมาจนกระทั่งสมเด็จพระราชินีนาถลีลีโอกาลานี ซึ่งทรงถูกปลดออกจากราชบัลลังก์โดยการปฏิวัติอเมริกาในปี 1893 พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 มีพระชายามากมายหลายองค์ (บางทีอาจจะมากกว่า 21 องค์) แต่องค์ที่ทรงโปรดปรานที่สุดคือสมเด็จพระราชินีคาอาฮูมานู.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวายและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวาย

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวายและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวาย มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวายพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 2 แห่งฮาวายพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 4 แห่งฮาวายสมเด็จพระราชินีคาอาฮูมานูแห่งฮาวายสมเด็จพระราชินีคิโอปูโอลานิแห่งฮาวาย

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวาย

มฮาเมฮา ที่ 1 (Kamehameha I) หรือเป็นที่รู้จักกันในพระนาม คาเมฮาเมฮามหาราช เป็นผู้พิชิตเกาะฮาวาย และก่อตั้งราชอาณาจักรฮาวาย (The Kingdom of Hawaii) ในปี ค.ศ. 1810 หมู่เกาะฮาวายเกิดจากแนวภูเขาไฟโผล่ขึ้นกลางมหาสมุทรแปซิฟิกทอดยาวต่อเนื่องกันเป็นลูกโซ่ ประกอบด้วยเกาะขนาดใหญ่ที่ปรากฏให้เห็นตามแผนที่ทางภูมิศาสตร์ 8 เกาะและเกาะเล็กเกาะน้อยอีก 124 เกาะ แรกเริ่มเดิมทีเป็นถิ่นอาศัยของชาวพื้นเมืองโปลินีเชียนที่อพยพถ่ายเทข้ามไปมาระหว่างเกาะแก่งต่างๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก หมู่เกาะฮาวายแต่เก่าก่อนแยกกันปกครอง ต่อมาภายหลังพระเจ้าคาเมฮาเมฮามหาราช (King Kamehameha the Great) ได้รวบรวมหมู่เกาะเหล่านี้เข้าเป็นอาณาจักรเดียวกันเรียกว่าราชอาณาจักรฮาวาย ปกครองต่อเนื่องสืบมาจนสิ้นรัชกาลในปี..

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวายและพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวาย · พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวายและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 2 แห่งฮาวาย

ระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 2 แห่งฮาวาย (Kamehameha II) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 แห่งราชอาณาจักรฮาวาย ต่อจากพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวายพระราชบิดา พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี 1797 ที่เมืองฮิโล ราชอาณาจักรฮาวาย เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวายกับสมเด็จพระราชินีคิโอปูโอลานิแห่งฮาวาย พระองค์ทรงได้รับการแต่งตั้งเป็นพระรัชทายาทตั้งแต่ยังมีพระชนมพรรษาเพียง 5 พรรษา พระองค์ได้ขึ้นครองราชย์หลังจากที่พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 เสด็จสวรรคตเมื่อเดือนพฤษภาคม 1819 เมื่อพระองค์ขึ้นครองราชย์พระองค์ก็ไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองนักเนื่องจากอำนาจส่วนใหญ่อยู่ที่คูฮินา นูอิซึ่งเป็นตำแหน่งของหัวหน้ารัฐบาลฮาวาย พระองค์ทรงมีหน้าที่แต่ในทางพิธีการเท่านั้น เมื่อพระองค์สวรรคต พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 ซึ่งเป็นพระราชอนุชาของพระองค์ จึงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระอง.

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 2 แห่งฮาวายและพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวาย · พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 2 แห่งฮาวายและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 4 แห่งฮาวาย

ระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 4 แห่งฮาวาย (Kamehameha IV) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 4 แห่งราชอาณาจักรฮาวาย ต่อจากพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวายพระบรมราชชนก พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 4 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 1813 ที่เมืองโฮโนลูลู ราชอาณาจักรฮาวาย เป็นโอรสของหัวหน้าพระสังฆราชและผู้ว่าการจังหวัดโออาฮูของฮาวาย พระองค์จึงมีศักดิ์เป็นพระราชโอรสบุญธรรมของพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวาย ตามราชประเพณีโบราณของฮาวาย ในรัชสมัยของพระองค์เริ่มมีการล่าอาณานิคมทำให้พระองค์ต้องหาทางนำพาประเทศให้พ้นภัย เมื่อฝรั่งเศสเริ่มขยายดินแดนมาถึงหมู่เกาะฮาวายพระองค์ก็ทรงเจรจากับฝรั่งเศส และเริ่มมีชาวอเมริกันมาอาศัยอยู่ในราชอาณาจักรฮาวายมากขึ้นทำให้พระองค์ต้องหาทางต่อต้านอิทธิพลของชาวอเมริกัน ตลอดรัชสมัยของพระองค์ถือว่าเป็นสมัยที่ดี เพราะพระองค์และสมเด็จพระราชินีเอ็มม่าทรงทุ่มเททรงงานเพื่อการศึกษาและด้านสาธารณสุขทำให้ชาวฮาวายค่อนข้างสุขสบายภายใต้การปกครองของพระองค์ พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 4 เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 1863 ด้วยโรคหอบหืดเรื้อรัง ขณะมีพระชนมพรรษาได้ 29 พรรษา พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 5 พระเชษฐาของพระองค์จึงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระอง.

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวายและพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 4 แห่งฮาวาย · พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 4 แห่งฮาวายและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีคาอาฮูมานูแห่งฮาวาย

มเด็จพระราชินีอลิซาเบธ คาอาฮูมานูแห่งฮาวาย (Queen Consort Elizabeth Kaʻahumanu of Hawaiʻi) หรือ สมเด็จพระราชินีคาอาฮูมานูแห่งฮาวาย (Kaʻahumanu of Hawaiʻi) (1768 – 5 มิถุนายน 1832) เป็นพระมเหสีในพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวาย สมเด็จพระราชินีคาอาฮูมานูแห่งฮาวาย เสด็จพระราชสมภพเมื่อปี ค.ศ. 1768 เป็นพระธิดาในเคเออาอูโมกู ปาปาอิอาฮิอาฮิกับนามาฮานา อิ คาเลเลโอคาลานี พระมารดาพระองค์ทรงสืบเชื้อสายมาจากพระมหากษัตริย์แห่งเมาวี พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวาย เมื่อพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 สถาปนาราชอาณาจักรฮาวายขึ้น พระองค์จึงได้ดำรงพระราชอิสริยยศเป็น สมเด็จพระราชินีแห่งฮาวาย แม้พระองค์ไม่ใช่พระอัครมเหสีของพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แต่ก็เป็นพระมเหสีที่พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 ทรงโปรดที่สุด หลังจากพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 เสด็จสวรรคต พระองค์ยังได้เป็นผู้สำเร็จราชการในรัชกาลของพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 2 แห่งฮาวาย และยังทรงดำรงตำแหน่งคูฮินา นูอิ ซึ่งเปรียบเสมือนตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของฮาวายอีกด้ว.

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวายและสมเด็จพระราชินีคาอาฮูมานูแห่งฮาวาย · รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวายและสมเด็จพระราชินีคาอาฮูมานูแห่งฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีคิโอปูโอลานิแห่งฮาวาย

มเด็จพระราชินีคาลานิคาอูอิคาอาลานีโอ คาอิ คิโอปูโอลานิ อาฮู อิ เคคาอิ มาคูอาฮิเน อา คามา คาลานิ คาอู อิ เคอาลานีโอแห่งฮาวาย (Queen Consort Kalanikauikaʻalaneo Kai Keōpūolani-Ahu-i-Kekai-Makuahine-a-Kama-Kalani-Kau-i-Kealaneo of Hawaiʻi) หรือ สมเด็จพระราชินีคิโอปูโอลานิแห่งฮาวาย (Keōpūolani of Hawaiʻi) (1778-1823) เป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวาย สมเด็จพระราชินีคิโอปูโอลานิ พระราชสมภพเมื่อปี 1778 เป็นพระธิดาของคิวาลาโอกษัตริย์แห่งเกาะมาอูอิ กับเคคูอิอาปออิวา ลิลิฮาพระมเหสีของพระองค์ พระเจ้าคาเมฮาเมฮามหาราชรุกรานเกาะของพระองค์ พระองค์จึงต้องอภิเษกสมรสกับพระเจ้าคาเมฮาเมฮาเพื่อความสงบสุขของเกาะฮาวาย พระองค์และพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 มีพระราชโอรส-ธิดาด้วยกัน 3 พระองค์ คือ.

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวายและสมเด็จพระราชินีคิโอปูโอลานิแห่งฮาวาย · รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวายและสมเด็จพระราชินีคิโอปูโอลานิแห่งฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวายและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวาย

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวาย มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวาย มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 14.71% = 5 / (18 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 3 แห่งฮาวายและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์ฮาวาย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: