โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระศักติและอุปนิษัท

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระศักติและอุปนิษัท

พระศักติ vs. อุปนิษัท

รูปบูชาพระแม่อทิศักติอันงดงาม พระแม่ศักติหรือ พระแม่อทิศักติหรือ พระแม่อทิ ปราศักติ (สันสกฤษ: शक्ति, आदि शक्ति, आदि पराशक्ति อังกฤษ: Shakti, Adi Shakti, Adi Parashakti) เป็นมหาเทวีองค์สูงสุดในลัทธิศักติของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระองค์ยังเป็นที่นิยมเรียกว่า ปรามะ ศักติ, มหาศักติ, มหาเทวี, ปารวตี หรือแม้แต่ศักติ ปรามะ หมายถึง ความแน่นอน สัตยา หมายถึง ความจริง ตามคัมภีร์ เทวี ภควตา มหาปุราณะ กล่าวไว้ว่า พระแม่ศักติเป็นผู้พิทักษ์และทรงคุ้มครองจักรวาลทั้งปวง พระองค์ทรงกำเนิดมาจากความซ่อนเร้นของจักรวาล และทรงสร้างจักรวาลขึ้นมา และทรงสร้างเทพทั้ง3ได้แก่ พระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ หรือที่เรียกว่า ตรีมูรติ หรือ ทัตตะเตรยะ และทรงสร้างเทวีทั้ง3ได้แก่ พระแม่สุรัสวดี พระแม่ลักษมี และพระแม่อุมา หรือที่เรียกว่า ตรีศักติ หรือ ตรีเทวี ในอินเดียภาคใต้นิยมบูชาพระองค์ในรูปของพระแม่ลลิตาหรือพระแม่ตรีปุระสุนทรี ซึ่งพระแม่ตรีปุระสุนทรีทรงเป็นร่างปฐมของพระแม่อทิศักติและยังอวตารลงมาเป็นพระสตีกับพระแม่ปารวตีอีกด้วย แต่ร่างที่แท้จริง คือ พระแม่อทิศักติ. อุปนิษัท (เทวนาครี: उपनिषद्, IAST: upaniṣad) เป็นคัมภีร์ของศาสนาฮินดู เนื้อหาเป็นหลักธรรม หรือคำสอนอันลึกซึ้ง นับเป็นส่วนสุดท้ายของวรรณกรรมพระเวท (วรรณกรรมพระเวทส่วนอื่นได้แก่ สังหิตา, พราหมณะ, อารัณยกะ) และเนื่องจากเป็นส่วนสุดท้ายของวรรณกรรมพระเวท จึงอีกอย่างหนึ่งว่า "เวทานฺต" (เวทานตะ) คำว่า "อุปนิษัท" มาจากรากศัพท์ คำอุปสรรค 'อุป' 'นิ' และธาตุ 'สัท' (นั่ง) ซึ่งหมายถึง นั่งใกล้คนใดคนหนึ่ง อันได้แก่ การนั่งของศิษย์ใกล้ครูอาจารย์ เพื่อสอนหลักธรรมอันลึกซึ้ง คัมภีร์อุปนิษัทนั้นมีอยู่เป็นจำนวนมาก และอยู่ในช่วงเวลาที่กว้าง บางเล่มอยู่ในสมัยก่อนพุทธกาล บางเล่มมีอายุอยู่หลังพุทธกาล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระศักติและอุปนิษัท

พระศักติและอุปนิษัท มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระศักติและอุปนิษัท

พระศักติ มี 0 ความสัมพันธ์ขณะที่ อุปนิษัท มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (0 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระศักติและอุปนิษัท หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »