ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)และเปรียญธรรม 4 ประโยค
พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)และเปรียญธรรม 4 ประโยค มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระไตรปิฎกภาษาบาลีภิกษุนักธรรมชั้นโทเปรียญธรรม 3 ประโยค
พระไตรปิฎก
ระไตรปิฎก (Tipiṭaka; त्रिपिटक) เป็นคัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระโคตมพุทธเจ้า ไตรปิฎก แปลว่า ตะกร้า 3 ใบ เพราะเนื้อหาแบ่งเป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ คือ.
พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)และพระไตรปิฎก · พระไตรปิฎกและเปรียญธรรม 4 ประโยค ·
ภาษาบาลี
ษาบาลี (ปาลิ; पाऴि); (Pali) เป็นภาษาที่เก่าแก่ภาษาหนึ่ง ในตระกูลอินเดีย-ยุโรป (อินโด-ยูโรเปียน) ในสาขาย่อย อินเดีย-อิหร่าน (อินโด-อิเรเนียน) ซึ่งจัดเป็นภาษาปรากฤตภาษาหนึ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเป็นภาษาที่ใช้บันทึกคัมภีร์ในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท (มี พระไตรปิฎก เป็นต้น) โดยมีลักษณะทางไวยากรณ์ และคำศัพท์ที่คล้ายคลึงกับภาษาสันสกฤต ไม่มีอักษรชนิดใดสำหรับใช้เขียนภาษาบาลีโดยเฉพาะ มีหลักฐานจารึกภาษาบาลีด้วยอักษรต่าง ๆ มากมายในตระกูลอักษรอินเดีย เช่น อักษรพราหมี อักษรเทวนาครี จนถึง อักษรล้านนา อักษรขอม อักษรไทย อักษรมอญ แม้กระทั่งอักษรโรมัน (โดยมีการเพิ่มเครื่องหมายเล็กน้อย) ก็สามารถใช้เขียนภาษาบาลีได้ อนึ่ง บางตำราสะกด “บาลี” ว่า “ปาฬิ” หรือ “ปาฬี” ก็มี.
พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)และภาษาบาลี · ภาษาบาลีและเปรียญธรรม 4 ประโยค ·
ภิกษุ
กษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา มีความหมายว่า ผู้ขอ (ขออาหาร เป็นต้น) และสามารถแปลว่า ผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ก็ได้ ดังรูปวิเคราะห์ว่า "วฏฺฏสํสาเร ภยํ อิกฺขตีติ ภิกฺขุ" ในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ" แปลว่าผู้ประเสร.
พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)และภิกษุ · ภิกษุและเปรียญธรรม 4 ประโยค ·
นักธรรมชั้นโท
นักธรรมชั้นโท (ชื่อย่อ น.ธ.โท) เป็นระดับการศึกษา พุทธศาสนาในประเทศไทยแผนกธรรม โดยเป็นชั้นกลางของการศึกษาระดับพื้นฐานของพระสงฆ์ สามเณรในประเทศไทย โดยเป็นการศึกษาสำหรับฝ่าย พระภิกษุสามเณรโดยเฉพาะ หลักสูตรนักธรรมชั้นโท.
นักธรรมชั้นโทและพระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) · นักธรรมชั้นโทและเปรียญธรรม 4 ประโยค ·
เปรียญธรรม 3 ประโยค
ัดยศเปรียญธรรม 3 ประโยค เปรียญธรรม 3 ประโยค (ชื่อย่อ ป.ธ.3) เป็นระดับชั้นการศึกษาแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย เรียกพระภิกษุผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้ว่า "พระมหา" และสามเณรว่า "สามเณรเปรียญ" กระทรวงศึกษาธิการเทียบวุฒิผู้สอบได้ในชั้นนี้ให้เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนต้น คณะสงฆ์ เคยมีการขอให้ปรับวุฒิผู้สอบไล่ได้ชั้นนี้ ให้เทียบเท่าระดับอุดมศึกษา แต่ไม่ได้รับการตอบรับจากผู้เกี่ยวข้อง แต่เปรียญธรรม 3 ประโยค ก็ยังเป็นที่นับถือกันโดยพฤตินัยในวงการคณะสงฆ์ไทยว่าผู้สอบได้ในชั้นนี้เป็น "ปริญญาตรี" ของฝ่ายคณะสงฆ์ หรือเปรียบได้กับคฤหัสถ์ผู้สอบไล่ได้ปริญญาบัณฑิตของฝ่ายฆราวาส โดยผู้สอบได้ในชั้นนี้จะได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ โปรดฯ ทรงตั้งให้เป็นเปรียญ ได้รับพระราชทานประกาศนียบัตร พัดเปรียญธรรม 3 ประโยค การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีในชั้น "เปรียญธรรม 3 ประโยค" นั้น แบ่ง รายวิชาที่สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงกำหนดให้พระภิกษุสามเณรสอบไล่เพื่อผ่านในชั้นนี้ได้เป็น 4 วิชา คือ วิชาไวยากรณ์, วิชาแปลมคธเป็นไทย, วิชาสัมพันธ์ไทย และวิชาบุร.
พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)และเปรียญธรรม 3 ประโยค · เปรียญธรรม 3 ประโยคและเปรียญธรรม 4 ประโยค ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)และเปรียญธรรม 4 ประโยค มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)และเปรียญธรรม 4 ประโยค
การเปรียบเทียบระหว่าง พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)และเปรียญธรรม 4 ประโยค
พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) มี 48 ความสัมพันธ์ขณะที่ เปรียญธรรม 4 ประโยค มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 7.25% = 5 / (48 + 21)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร)และเปรียญธรรม 4 ประโยค หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: