โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 vs. พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่

ระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวง.. ระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (George I of Great Britain, George I von Großbritannien) (28 พฤษภาคม ค.ศ. 1660 – 11 มิถุนายน ค.ศ. 1727) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษรัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ครัฐนีเดอร์ซัคเซินราชวงศ์แฮโนเวอร์สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์โปรเตสแตนต์เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต

พระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าชาลส์ที่ 1 (Charles I; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 — 30 มกราคม ค.ศ. 1649) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษสมัยราชวงศ์สจวต รวมทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ และไอร์แลนด์ ระหว่างปี..

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ

ลายเซ็นของพระองค์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ (William III of England; 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1650 — 8 มีนาคม ค.ศ. 1702) ทรงเป็นที่รู้จักกันในนามว่า วิลเลียมที่ 2 แห่งสกอตแลนด์ และ วิลเลมที่ 3 แห่งออเรนจ์ ทรงเป็นขุนนางดัทช์ชั้นสูง และทรงเป็นศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนต์ เป็นพระราชโอรสของเจ้าชายวิลเลมแห่งออเรนจ์และเจ้าหญิงแมรี สจวตประสูติที่ The Hague ภายหลัง 8 วันจากที่พระองค์ประสูติ พระบิดาของพระองค์ก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษ ดังนั้นจึงทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงกลายเป็นเจ้าชายผู้ทรงอำนาจสูงสุดนับตั้งแต่ถือกำเนิดเลยทีเดียวก็ว่าได้ ต่อมาเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2203 เมื่อพระเจ้าวิลเลียมมีพระชนมายุได้ราวสิบกว่าพรรษา พระราชมารดาก็สวรรคตด้วยไข้ทรพิษในระหว่างที่ทรงเยี่ยมพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษพระเชษฐาของพระองค์ โดยก่อนที่จะสิ้นพระชนม์ลงได้ทรงตัดสินใจให้พระเจ้าชาลส์เป็นผู้ปกครอง โดยพระเจ้าชาลส์นั้นได้ทรงมอบหน้าที่ให้เป็นของเจ้าหญิงอมาเลีย เนื่องจากทรงเข้าใจในพระราชประสงค์ของพระเจ้าชาลส์เป็นอย่างดี และพระองค์ก็มิได้ทรงละเลยในการเขียนจดหมายติดต่อถึงหลานชายแต่อย่างใด ในปี พ.ศ. 2217 พระองค์ได้มีความพยายามในการที่จะสมรสกับแมรีหลานสาวของพระองค์เอง ซึ่งแมรี่เป็นธิดาของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ การสมรสนี้แม้นว่าเป็นไปอย่างยาก ลำบากมากก็ตาม แต่ในที่สุดก็ทรงได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสในปี พ.ศ. 2220 พระองค์ได้ทรงเข้าไปมีส่วนร่วมในสงครามที่ต่อต้านอำนาจพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสหลายต่อหลายครั้งด้วยกัน เหล่าสมาชิกนิกายโปรแตสแตนต์ถึงกับได้มอบเหรียญตราและเครื่องราชอิสริยาภรณ์เนื่องจากเลื่อมใสศรัทธาในพระองค์ แต่นั่นก็เป็นเพียงแค่บางส่วนเท่านั้น ชื่อเสียงและกิตติศัพท์ของพระองค์ทำให้พระองค์ทรงได้รับการสถาปนาเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในเวลาต่อมา ถึงแม้ว่าจะมีเหตุผลอื่น ในการประสบความสำเร็จของพระองค์จะเป็นในด้านการทหาร หรือกองเรือรบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดก็ตาม พระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2245 ด้วยโรคปอดอักเสบ อันเนื่องจากการที่พระองค์ทรงตกจากม้าของพระองค์เอง และเป็นที่เชื่อกันว่าม้าของพระองค์ นั้นได้ก้าวเท้าพลาดไปสะดุดกับรังของตัวตุ่นเข้า และนี่คงเป็นเหตุผลหนึ่งของที่มา ในการดื่มอวยพร Make a toasted ซึ่งมักจะมีการนิยมกล่าวกันในระหว่างที่ดื่มอวยพรว่า "the little gentleman in the black velvet waistcoat." และในปีถัดมา ท่านเซอร์วินสตัน เชอร์ชิล ก็ได้เพิ่มเติมลงไปอีกว่า "opened the trapdoor to a host of lurking foes".

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2109 – 27 มีนาคม พ.ศ. 2168) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม..

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ

พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษหรือพระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ พระเจ้าเจมส์ที่ 2แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2228 – พ.ศ. 2232) หรือ พระเจ้าเจมส์ที่ 7 แห่งสกอตแลนด์ เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ พระมหากษัตริย์ไอร์แลนด์ และพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์อังกฤษเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2228 ถึง 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2232 นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์สุดท้ายที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิก เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษทรงครองราชย์ในเวลาเดียวกันกับระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชในสมัยกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าเจมส์เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษและพระนางเฮนเรียตตา มาเรีย ประสูติที่พระราชวังเซนต์เจมส์ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ในปี..

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค

รัฐผู้คัดเลือกฮันโนเฟอร์ (Electorate of Hanover) หรือ รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค (Kurfürstentum Braunschweig-Lüneburg) เป็นหนึ่งในรัฐผู้คัดเลือกลำดับที่เก้าของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในปี..

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และรัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และรัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวค์-ลือเนอบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนีเดอร์ซัคเซิน

นีเดอร์ซัคเซิน (Niedersachsen) เป็นรัฐของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ทางเหนือ-ตะวันตกของประเทศ มีพื้นที่เป็นอันดับ 2 และมีประชากรเป็นอันดับ 4 ใน 16 รัฐของเยอรมนี มีเมืองหลวงของรัฐชื่อ ฮันโนเวอร์ ตั้งป็นรัฐเมื่อ..

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และรัฐนีเดอร์ซัคเซิน · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และรัฐนีเดอร์ซัคเซิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์แฮโนเวอร์

ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หรือ ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ เป็นราชวงศ์เยอรมันที่ครองบัลลังก์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ต่อจากราชวงศ์สจวตในปี พ.ศ. 2257 ราชวงศ์นี้ยังปกครองรัฐฮันโนเฟอร์ในประเทศเยอรมนีอันเป็นดินแดนที่ราชวงศ์นี้เป็นเจ้าของ ในบางครั้งอาจเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์เบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก สายฮันโนเฟอร์ (House of Brunswick and Lüneburg, Hanover line).

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และราชวงศ์แฮโนเวอร์ · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และราชวงศ์แฮโนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Mary II of England) (30 เมษายน ค.ศ. 1662 – 28 ธันวาคม ค.ศ. 1694) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชวงศ์สจวตของราชอาณาจักรอังกฤษและไอร์แลนด์ระหว่างปี..

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่

มเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ (Anne of Great Britain; 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1665 – 1 สิงหาคม ค.ศ. 1714) ทรงขึ้นครองราชย์เป็นพระราชินีนาถราชวงศ์สจวตองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรอังกฤษ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์ และราชอาณาจักรไอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 1702 สืบต่อจากสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ พระนางเจ้าแอนน์ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และพระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 · จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์

ซฟีแห่งพาลาทิเนต (Sophie von der Pfalz) หรือ โซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ (Sophie von Hannover) หรือ โซเฟียแห่งแฮโนเวอร์ (Sophia of Hanover) เป็นเจ้าหญิงเยอรมัน-สกอตแลนด์ ผู้กลายเป็นทายาทโดยสันนิษฐานแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ จากการที่นางเป็นพระราชนัดดา (หลานตา) ในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษทำให้เธอมีสิทธิในราชบัลลังก์อังกฤษ ท่านหญิงโซฟีเกิดเมื่อ 14 ตุลาคม..

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และโซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และโซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และโปรเตสแตนต์ · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต

“เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต” มาเรีย คลีเม็นทินา โซบิเอสกา พระชายา หลุมศพของเจ้าชายเจมส์ เจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต หรือ ผู้อ้างสิทธิ(ภาษาอังกฤษ: James Francis Edward Stuart หรือ The Old Pretender หรือ The Old Chevalier) (10 มิถุนายน ค.ศ. 1688 – 1 มกราคม ค.ศ. 1766) เจมส์ได้รับการขนานพระนามว่า The Old Pretender (ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์) เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษผู้ถูกปลดจากราชบัลลังก์อังกฤษ และ สมเด็จพระราชินีแมรีแห่งโมดีนา ในฐานะที่เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าเจมส์ที่ 2 เจมส์ ฟรานซิสจึงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของราชอาณาจักรอังกฤษ และราชอาณาจักรสกอตแลนด์ในนาม เจมส์ที่ 3 แห่งอังกฤษ และ เจมส์ที่ 8 แห่งสกอตแลนด์ เมื่อพระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1701 พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสทรงประกาศว่าเจมส์ ฟรานซิสเป็นพระเจ้าแผ่นดินอังกฤษ สกอตแลนด์และไอร์แลน.

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต · พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่และเจมส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่

พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 มี 28 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ มี 41 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 18.84% = 13 / (28 + 41)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701และพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »