โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มันและอิสตันบูล

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มันและอิสตันบูล

พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน vs. อิสตันบูล

ลต่านเบยาซิดที่ 2 ที่ตั้งแสดงอยู่ที่วัดเซนต์แมรีแห่งมองโกลในกรุงอิสตันบุลที่ประกาศอนุญาตให้ชุมชนกรีกเป็นเจ้าของสิ่งก่อสร้างดังกล่าว พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน (Firman) คือกฎหมาย หรือ ประกาศที่ออกโดยประมุขของรัฐอิสลามที่รวมทั้งจักรวรรดิออตโตมัน, จักรวรรดิโมกุล และ อิหร่านที่ใช้กันมาจนกระทั่งถึงสมัยที่อยู่ภายใต้การปกครองของโมฮัมมัด เรซา ปาห์เลวี (Mohammed Reza Pahlavi) ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า “firman” มาจากภาษาเปอร์เซีย “فرمان” (farmân) ที่แปลว่า “ประกาศ” หรือ “กฎ” ในภาษาตุรกีมาแผลงเป็นคำว่า “ferman” ในสมัยการปกครองของจักรวรรดิออตโตมันสุลต่านมีอำนาจจากการเป็นผู้รักษากฎหมายชาริอะห์ แต่กฎหมายชาริอะห์มิได้ครอบคลุมในทุกกรณีที่เกี่ยวกับชีวิตทางสังคมและการเมือง ฉะนั้นในการสร้างกฎที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์และสถานะภาพต่างๆ ที่มิได้อยู่ในข่ายของชาริอะห์ สุลต่านจึงก่อตั้งการออกพระราชกฤษฎีกาที่เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน” ขึ้น. อิสตันบูล (ตุรกี: İstanbul) เดิมชื่อ คอนสแตนติโนเปิล เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศตุรกี ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบบอสฟอรัส ซึ่งทำให้อิสตันบูลเป็นเมืองสำคัญเพียงเมืองเดียวในโลก ที่ตั้งอยู่ใน 2 ทวีป คือ ทวีปยุโรป (ฝั่ง Thrace ของบอสฟอรัส) และทวีปเอเชีย (ฝั่งอานาโตเลีย) ข้อมูลปี 2007 จังหวัดอิสตันบูลมีประชากรประมาณ 11,372,613 คน ในอดีต อิสตันบูลเป็นเมืองสำคัญของชนเผ่าจำนวนมากในบริเวณนั้น จึงส่งผลให้อิสตันบูลมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป เช่น ไบแซนไทน์, คอนสแตนติโนเปิล, สแตมโบล, อิสลามบูลเป็นต้น คำว่า อิสตันบูล มาจากภาษากรีก แปลว่า "ในเมือง" หรือ "ของเมือง".

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มันและอิสตันบูล

พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มันและอิสตันบูล มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาษาตุรกีจักรวรรดิออตโตมัน

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มันและภาษาตุรกี · ภาษาตุรกีและอิสตันบูล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

จักรวรรดิออตโตมันและพระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน · จักรวรรดิออตโตมันและอิสตันบูล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มันและอิสตันบูล

พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มัน มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ อิสตันบูล มี 24 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 6.45% = 2 / (7 + 24)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระราชกฤษฎีกาเฟอร์มันและอิสตันบูล หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »