โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระยศเจ้านายไทยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระยศเจ้านายไทยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระยศเจ้านายไทย vs. พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง. ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระมเหสี และ เจ้าจอมมารดา รวมทั้งสิ้น 37 และพระองค์ยังมีพระราชโอรส-ธิดา ทั้งหมดรวม 73 พระอง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระยศเจ้านายไทยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระยศเจ้านายไทยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มี 23 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิทการเฉลิมพระยศเจ้านายราชสกุลสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีสมเด็จพระศรีสุลาไลยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

งเรือหลวงในรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 - สวรรคต 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 ครองราชย์ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า ฉิม (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพัน..

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระยศเจ้านายไทย · พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระยศเจ้านายไทย · พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระยศเจ้านายไทย · พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อมีพระชนมายุได้ 43 พรรษ.

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระยศเจ้านายไทย · พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระยศเจ้านายไทย · พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจักรีบรมนาถฯ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๒๗๙ - พ.ศ. ๒๓๕๒ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๓๒๕ - พ.ศ. ๒๓๕๒) รัชกาลที่ ๑ แห่งราชจักรีวงศ์ พระราชสมภพเมื่อ วันพุธ เดือน 10 แรม ๕ ค่ำ 2000000000000000 ปีมะโรงอัฐศก เวลา ๓ ยาม ตรงกับวันที่ ๓๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๒๗๙ ในรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นบุตรคนที่ ๔ ของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (พระนามเดิม "ทองดี") และพระอัครชายา (พระนามเดิม "หยก"หรือ ดาวเรือง) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชย์ เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พุทธศักราช ๒๓๒๕ (ตรงกับ วันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๙ ค่ำ ปีขาล จัตราศก จุลศักราช ๑๑๔๔) ขณะมีพระชนมายุได้ ๔๕ พรรษา ปลาทอง ดร.

พระยศเจ้านายไทยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระมเหสี และ เจ้าจอมมารดา รวมทั้งสิ้น 37 และพระองค์ยังมีพระราชโอรส-ธิดา ทั้งหมดรวม 73 พระอง.

พระยศเจ้านายไทยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรสและพระร.

พระยศเจ้านายไทยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

นี่คือ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนั.

พระยศเจ้านายไทยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชโอรสและพระราชธิดาที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดารวมทั้งสิ้น 51 พระองค์ โดยประสูติก่อนบรมราชาภิเษก 38 พระองค์ และประสูติหลังจากบรมราชาภิเษก 13 พระองค์ ซึ่งมีรายพระนามเรียงตามพระประสูติกาล ดังต่อไปนี้ กรมหลวงวรเสร.

พระยศเจ้านายไทยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรฯ (8 ตุลาคม พ.ศ. 2337 - 27 เมษายน พ.ศ. 2399) ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน 11 ขึ้น 14 ค่ำ ปีขาล ฉศก จุลศักราช 1156 ตรงกับวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2337 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอมมารดาศิลา ณ บางช้าง ธิดาในขรัวยายฟักทอง ราชินิกุล ณ บางช้าง (ขรัวยายฟ้กทองนั้นมีบิดานาม ขุนสนิทภิรมย์ ซึ่งเป็นบุตรชายท่านยายเจ้ามุก ส่วนมารดาคือท่านยายเชียง บุตรสาวของท่านตาเจ้าแทนและท่านเจ้ามุก โดยเจ้าแทนมีศักดิ์เป็นพระชนกทอง หรือพระชนกของ สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี ในรัชกาลที่ 1) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทรฯ ทรงเป็นต้น ราชสกุล "พนมวัน" พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น กรมหมื่นพิพิธภูเบนทร และได้ทรงกำกับกรมพระนครบาล ในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2375 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนกรมขึ้นเป็น กรมขุนพิพิธภูเบนทร และโปรดเกล้าฯ ให้กำกับกรมคชบาล ต่อมาในรัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ เลื่อนกรมขึ้นเป็นกรมพระพิพิธโภคภูเบนทร นเรนทรสุริยวงศ์ อิศวรพงศพรพิพัฒนศักดิรัตนธำรง คุณาลงกฎเกียรติวิบุลย อดุลยเดชบพิตร ในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2394 กรมพระพิพิธฯทรงกำกับ กรมพระนครบาล (เวียง) ระหว่างรัชกาลที่ 2 ถึงรัชกาลที่ 3 โดยมีการโปรดฯ ให้กำกับกรมพระคชบาลเพิ่มอีกหนึ่งกรมอีกด้วย โดยกรมทั้งสองต่างเป็นกรมสำคัญที่มีผู้คนสังกัดมากทั้งสองกรม ทรงประทับอยู่ที่วังท้ายหับเผย (วังที่ 1) และสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ เดือน 5 แรม 8 ค่ำ ปีมะโรง อัฐศก จุลศักราช 1218 ตรงกับวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2399 พระชันษา 62 ปี ณ เดือน 4 ขึ้น 11 ค่ำ วันพฤหัสบดีที่ 5 มีนาคม..

พระยศเจ้านายไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ ประสูติเมื่อวันเสาร์ เดือน 3 แรม 12 ค่ำ ปีฉลู สัปตศก..

พระยศเจ้านายไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากลาง กรมพระเทเวศร์วัชรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ (18 เมษายน พ.ศ. 2341 - 16 เมษายน พ.ศ. 2406) ประสูติเมื่อวันพุธ เดือน 6 ขึ้น 4 ค่ำ ปีมะเมีย สัมฤทธิศก จุลศักราช 1160 ตรงกับวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2341 เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอมมารดาศิลา ทรงเป็นต้นราชสกุลกุญชร พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็น กรมหมื่นพิทักษเทเวศร์ และโปรดให้ทรงว่ากรมม้า ในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2394 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนกรมขึ้นเป็น กรมพระพิทักษเทเวศร์ นเรศรราชรวิวงศ์ อิศวรพงศพิพัฒนศักดิ อุดมอรรควรยศ วงศประนตนาถนเรนทร์ พาหเนนทรบพิตร และโปรดเกล้าฯ ให้กำกับกรมคชบาลเพิ่มอีกกรมหนึ่ง สิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ 4 เมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 5 แรม 13 ค่ำ ปีกุน เบญจศก จุลศักราช 1225 ตรงกับวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2406 พระชันษา 65 ปี.

พระยศเจ้านายไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุญชร กรมพระพิทักษเทเวศร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนวรจักรธรานุภาพ พระนามเดิม พระองค์เจ้าปราโมช เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าจอมมารดาอัมพา ประสูติ เมื่อวันอังคาร แรม 9 ค่ำ เดือน 4 ปีชวด ตรงกับวันที่ 11 มีนาคม..

พระยศเจ้านายไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2351 - 14 สิงหาคม พ.ศ. 2414) พระราชโอรสลำดับที่ 49 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ต้นราชสกุลสนิทวงศ์ และเป็นพระปัยกาในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีน.

พระยศเจ้านายไทยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านวม กรมหลวงวงศาธิราชสนิท · ดูเพิ่มเติม »

การเฉลิมพระยศเจ้านาย

ระยศเจ้านาย ในราชสกุลมี 2 ประเภทคือ สกุลยศ คือ ยศที่เกิดเป็นเจ้าชั้นใดในเบื้องต้น เจ้านายที่เกิดในสกุลยศชั้นใด ก็อยู่ในชั้นยศชั้นนั้น เป็นยศที่ได้โดยการเกิด และ "อิสริยยศ" คือยศที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสถาปนาแต่งตั้งให้ทางราชการในภายหลัง และ"ยศทางสกุล"โดยชั้นข้าหลวงให้นำหน้าสกุลว่า"วงค์"(เมื่อสิ้นสุดรัชกาล สำหรับเมื่อเป็นสามัญชน) เช่น วงค์ปินตา วงค์สมบูรณ์ วงค์บวรคง วงค์ปิ่นแก้ว ฯลฯ.

การเฉลิมพระยศเจ้านายและพระยศเจ้านายไทย · การเฉลิมพระยศเจ้านายและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ราชสกุล

ราชสกุล เป็นนามสกุลสำหรับผู้สืบเชื้อสายมาจากตระกูลวงศ์ในพระมหากษัตริย์ เกิดขึ้นเมื่อปี..

พระยศเจ้านายไทยและราชสกุล · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและราชสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี

มเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (พระยศเดิม:สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด; พระราชสมภพ: 21 กันยายน พ.ศ. 2310 — สวรรคต: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2379) หรือคนทั้งหลาย เรียกว่า สมเด็จพระพันวษา เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์ (พระเชษฐภคินีพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กับเจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน ต่อมาได้รับราชการฝ่ายในเป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชสวามี พระองค์เสด็จออกไปประทับ ณ พระราชวังเดิม พร้อมด้วยสมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฑามณี พระราชโอรสพระองค์เล็ก พระองค์สวรรคตในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระบรมอัฐิเป็น กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาต.

พระยศเจ้านายไทยและสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสุลาไลย

มเด็จพระศรีสุลาไลยพระนามของพระองค์มีการสะกดได้หลายทาง ได้แก.

พระยศเจ้านายไทยและสมเด็จพระศรีสุลาไลย · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระศรีสุลาไลย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าชายมั่ง พระโอรสใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดานิ่มซึ่งเป็นธิดาของเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ประสูติเมื่อวันเสาร์ ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 7 ปีฉลู ตรงกับวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2336 เวลา 5 ทุ่มเศษ.

พระยศเจ้านายไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามั่ง กรมพระยาเดชาดิศร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี เป็นพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย บางคราวเรียกว่าสมเด็จพระอัครมเหสีฝ่ายซ้าย พระองค์เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเจ้าทองสุกซึ่งเป็นพระธิดาในพระเจ้าอินทวงศ์แห่งนครเวียงจันทน์) พระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าจันทบุรี.

พระยศเจ้านายไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ มีพระนามเดิม เจ้าฟ้าชายกลาง (24 เมษายน พ.ศ. 2362 ถึง 1 กันยายน พ.ศ. 2429 รวมอายุ 67 ปี) เป็นพระราชโอรสพระองค์กลางในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี (พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทองสุก ซึ่งเป็นพระธิดาในพระเจ้าอินทวงศ์แห่งนครเวียงจันทน์) ทรงเป็นต้นราชสกุล มาลากุล เป็นพระอนุชาร่วมมารดาของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์ ต้นราชสกุล อาภรณ์กุล ทั้งสองราชสกุลจึงถือเป็นญาติใกล้ชิดเชื้อกัน.

พระยศเจ้านายไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์

มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์ (19 เมษายน พ.ศ. 2359 - พ.ศ. 2391) ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 5 แรม 7 ค่ำ ปีชวด อัฐศก..

พระยศเจ้านายไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์ · พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระยศเจ้านายไทยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระยศเจ้านายไทย มี 235 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มี 44 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 23, ดัชนี Jaccard คือ 8.24% = 23 / (235 + 44)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระยศเจ้านายไทยและพระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »