โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระพุทธบาทและม่อนพระพุทธบาทสี่รอยบ้านนาตารอด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระพุทธบาทและม่อนพระพุทธบาทสี่รอยบ้านนาตารอด

พระพุทธบาท vs. ม่อนพระพุทธบาทสี่รอยบ้านนาตารอด

ระพุทธบาท อาจหมายถึง. ในมณฑปคลุมม่อนพระพุทธบาทสี่รอยบ้านนาตารอด ม่อนพระพุทธบาทสี่รอย ตั้งอยู่ที่ยอดม่อนภูเขาสูงกลางป่าชุมชนบ้านนาตารอด หมู่ที่ 9 ตำบลหาดงิ้ว อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ มีบรรยากาศโดยรอบเงียบสงบ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ม่อนพระพุทธบาทสี่รอยบ้านนาตารอด เป็นรอยพระพุทธบาทขนาดใหญ่ และเป็นพระพุทธบาทที่มีความสำคัญหนึ่งใน 6 แห่ง ของจังหวัดอุตรดิตถ์ พระพุทธบาทบ้านนาตารอด เป็นรูปรอยพระพุทธบาทซ้อน 4 ชั้น สร้างขึ้นเพื่อเป็นเครื่องหมายของพระพุทธเจ้า 4 พระองค์ในภัทรกัลป์นี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าพระพุทธบาทสี่รอยบ้านนาตารอดสร้างขึ้นในสมัยใด สันนิษฐานว่าเดิมมีแผ่นหินพระพุทธบาทสลักอยู่ ปัจจุบันได้มีการเทคอนกรีตทับรอยพระพุทธบาทเดิมไว้เพื่อป้องกันการสูญหาย และมีการสร้างอาคารขึ้นคลุมพระพุทธบาทไว้ โดยรอบอาคารพระพุทธบาท มีที่พักสงฆ์และศาลาขนาดเล็กที่สร้างมาตั้งแต่สมัยก่อน พ.ศ. 2500 โดยพระครูนิกรธรรมรักษ์ (ไซร้) เจ้าอาวาสวัดช่องลม เกจิอาจารย์ใหญ่แห่งเมืองอุตรดิตถ์ในสมัยนั้น รวมทั้งพระพุทธรูปขนาดใหญ่หน้าตัก 5 เมตร นามว่าหลวงพ่อมงคลนิมิตร ที่สร้างขึ้นโดย พระครูนิกรธรรมรักษ์ด้่วย ปัจจุบันม่อนพระพุทธบาทสี่รอย มีพระสงฆ์เวียนเข้ามาปักกรดปฏิบัติธรรมบ้าง ยังไม่ได้ตั้งเป็นสำนักสงฆ์แต่อย่างใ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระพุทธบาทและม่อนพระพุทธบาทสี่รอยบ้านนาตารอด

พระพุทธบาทและม่อนพระพุทธบาทสี่รอยบ้านนาตารอด มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระพุทธบาทและม่อนพระพุทธบาทสี่รอยบ้านนาตารอด

พระพุทธบาท มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ ม่อนพระพุทธบาทสี่รอยบ้านนาตารอด มี 3 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (3 + 3)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระพุทธบาทและม่อนพระพุทธบาทสี่รอยบ้านนาตารอด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »