สารบัญ
76 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2310พ.ศ. 2325พ.ศ. 2349พ.ศ. 2350พ.ศ. 2352พ.ศ. 2353พ.ศ. 2354พ.ศ. 2355พ.ศ. 2356พ.ศ. 2357พ.ศ. 2359พ.ศ. 2360พ.ศ. 2361พ.ศ. 2362พ.ศ. 2363พ.ศ. 2365พ.ศ. 2367พระบรมมหาราชวังพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระมหากษัตริย์ไทยพระมหามณเฑียรพระยาราชนิกูล (ทองคำ)พระยาตรังพระราชพิธีอาพาธพินาศพระสุนทรโวหาร (ภู่)พระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาทพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทพระปฐมวงศ์ในราชวงศ์จักรีกรมพระราชวังบวรสถานมงคลมาเก๊ามณีพิชัยย่างกุ้งราชวงศ์จักรีรามเกียรติ์รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยวรรณคดีสโมสรวัยสูงอายุวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารวันวิสาขบูชาสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสสมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารีสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี... ขยายดัชนี (26 มากกว่า) »
พ.ศ. 2310
ทธศักราช 2310 ตรงกับคริสต์ศักราช 1767 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2310
พ.ศ. 2325
ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2325
พ.ศ. 2349
ทธศักราช 2349 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2349
พ.ศ. 2350
ทธศักราช 2350 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2350
พ.ศ. 2352
ทธศักราช 2352 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2352
พ.ศ. 2353
ทธศักราช 2353 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2353
พ.ศ. 2354
ทธศักราช 2354 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2354
พ.ศ. 2355
ทธศักราช 2355 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2355
พ.ศ. 2356
ทธศักราช 2356 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2356
พ.ศ. 2357
ทธศักราช 2357 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1814.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2357
พ.ศ. 2359
ทธศักราช 2359 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2359
พ.ศ. 2360
ทธศักราช 2360 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2360
พ.ศ. 2361
ทธศักราช 2361 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2361
พ.ศ. 2362
ทธศักราช 2362 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2362
พ.ศ. 2363
ทธศักราช 2363 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2363
พ.ศ. 2365
ทธศักราช 2365 ใกล้เคียงกั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2365
พ.ศ. 2367
ทธศักราช 2367 ตรงกับคริสต์ศักราช 1824 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพ.ศ. 2367
พระบรมมหาราชวัง
ระบรมมหาราชวัง หรือพระราชวังพระนคร เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน พระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากเป็นอันดับที่ 16 ของโลก โดยมีผู้เข้าเยี่ยมชมในปี พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระบรมมหาราชวัง
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธเลิศหล้านภาลัย
ระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก และ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นพระนามของพระพุทธรูปปางห้ามสมุทรขนาดใหญ่สององค์ ในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระมหากษัตริย์ไทย
ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระมหากษัตริย์ไทย
พระมหามณเฑียร
ระมหามณเฑียร เป็นหมู่พระที่นั่งภายในพระบรมมหาราชวังโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในปี พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระมหามณเฑียร
พระยาราชนิกูล (ทองคำ)
ระยาราชนิกูล (ทองคำ) เป็นบิดาของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระยาราชนิกูล (ทองคำ)
พระยาตรัง
ระยาตรัง หรือ พระยาตรังคภูมาภิบาล เป็นเจ้าเมืองตรัง และเป็นกวีเอกคนหนึ่งในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยมีผลงานที่โดดเด่นด้านคำประพันธ์ประเภทโคลง มีผลงานเป็นที่ยกย่องแต่อดีตจนปัจจุบัน ทว่าประวัติชีวิตของท่านไม่ใคร่จะเป็นที่รู้จักมากนัก พระยาตรังเป็นชาวเมืองนครศรีธรรมราช เป็นบุตรของ 'ออกพระศรีราชสงครามราชภักดี (เยาว์) ' มารดาคือ 'หม่อมแจ่ม' ธิดาเจ้าพระยานคร (พัฒน์) ประวัติอื่นๆ เท่าที่ทราบ ก็คือ ท่านมีภรรยา 4 คน ชื่อ 'เขียว' (มีบุตรหนึ่งคน ชื่อ พิม), ชื่อ'คง ' (มีบุตรชื่อ อบ), ชื่อ 'แดง' (มีบุตรชื่อนายภู่และนายหนู) และชื่อ 'ฉิม' (มีบุตรชื่อเจิม) ในวัยเยาว์ท่านคงจะบวชและเรียนหนังสือที่วัดท่ามอญ (ปัจจุบัน คือ วัดศรีทวี ในเขตอำเภอเมือง นครศรีธรรมราช) ท่านได้เป็นเจ้าเมืองตรังในสมัยใดไม่ปรากฏ แต่ไม่น่าจะช้ากว่าสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี และเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงปราบดาภิเษก เมื่อ พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระยาตรัง
พระราชพิธีอาพาธพินาศ
ระราชพิธีอาพาธพินาศ เป็นพระราชพิธีที่เกิดขึ้นในต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ในพุทธศักราช ๒๓๖๓ ในรัชสมัยรัชกาลที่ ๒ เมื่อเกิดอหิวาตกโรคระบาดทั่วพระนคร มีผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมากจนเผาศพแทบไม่ทัน ศพกองสุมกันอยู่ที่วัดสระเกศ และมีอีแร้งลงมาจิกกินเป็นที่น่าสังเวชใจเป็นอย่างมาก จนมีคำกล่าวว่า "แร้งวัดสระเกศ" มีจดหมายเหตุเล่าถึงการะบาดของอหิวาตกโรคในครั้งนั้นว่า พระราชพิธีนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อปลุกปลอบใจราษฎร และเป็นการปัดรังควานแก่พระนคร โดยประกอบพิธีที่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทคล้ายพระพิธีตรุษ มีการยิงปืนใหญ่รอบพระนครตลอดคืน มีการอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) และพระบรมสารีริกธาตุออกจากที่ประดิษฐานภายในพระอุโบสถพระบรมมหาราชวังแห่รอบพระนคร นับเป็นครั้งแรกที่มีการอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรออกจากที่ประดิษฐานเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์นับตั้งแต่อัญเชิญมาประดิษฐานไว้ในกรุงรัตนโกสินทร์นี้ มีการนิมนต์สมเด็จพระสังฆราช (สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)) และพระสงฆ์รูปอื่น ๆ จำนวน ๕๐๐ รูป สวดพระปริตรประพรมน้ำพระปริตรไปในขบวนแห่นั้นด้วย องค์พระเจ้าอยู่หัวก็ทรงรักษาศีล สละพระราชทรัพย์ ซื้อชีวิตสัตว์สี่เท้าสองเท้า ปล่อยนักโทษ และห้ามราษฎรทำปาณาติบาต หลังพระราชพิธีนี้เสร็จ ฝนก็ตกลงมาห่าใหญ่ อหิวาตกโรคระบาดหนักอยู่ ๑๕ วัน ก็ค่อยหายไป หลังจากเกิดอหิวาตกโรคในครานั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงสังเวชสลดพระราชหฤทัยที่กรรมบันดาลให้เกิดภัยพิบัติแก่ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินเป็นอันมาก จึงทรงบำเพ็ญพระราชกุศลหลายอย่างหลายประการ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระราชพิธีอาพาธพินาศ
พระสุนทรโวหาร (ภู่)
ระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2398) เป็นอาลักษณ์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงเชิงกวี ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย เกิดหลังจากตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ 4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็นอาลักษณ์ราชสำนักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสิ้นรัชกาลได้ออกบวชเป็นเวลาร่วม 20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีกครั้งในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นอาลักษณ์ในสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น พระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิต สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชำนาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมายหลายเรื่อง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของวรรณคดีประเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนนับแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชยสุริยา นิราศพระบาท และอีกหลาย ๆ เรื่อง ปี..
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระสุนทรโวหาร (ภู่)
พระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท
ระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท เป็นปราสาทที่สร้างด้วยเครื่องไม้ทั้งองค์ นับเป็นพระมหาปราสาทองค์แรกในพระบรมมหาราชวัง โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ถ่ายแบบพระที่นั่งสรรเพชญปราสาทที่กรุงศรีอยุธยามาสร้างขึ้น เริ่มสร้างเมื่อปี..
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท
พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
ระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เป็นพระที่นั่งองค์ประธานของหมู่พระมหาปราสาท ใน พระบรมมหาราชวัง ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นกลาง ทางทิศตะวันตกของพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท มีพระที่นั่งพิมานรัตยา พระปรัศว์ซ้าย พระปรัศว์ขวา และ เรือนบริวาร หรือ เรือนจันทร์ ต่อเนื่องทางด้านหลังในเขตพระราชฐานชั้นใน พระที่นั่งองค์นี้ได้รับยกย่องว่าเป็นสถาปัตยกรรมชั้นเอกของกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นพระที่นั่งทรงไทยแท้องค์เดียว ในพระบรมมหาราชวัง โดยเฉพาะเรือนยอดพระมหาปราสาท (กุฎาคาร) มีรูปทรงต้องด้วยศิลปะลักษณะอันวิจิตรงดงาม.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
พระปฐมวงศ์ในราชวงศ์จักรี
ระปฐมวงศ์ใน พระบรมราชวงศ์จักรี.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและพระปฐมวงศ์ในราชวงศ์จักรี
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล
กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล
มาเก๊า
ตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Macao Special Administrative Region of the People's Republic of China, เรียกสั้น ๆ ว่า มาเก๊า ในภาษาอังกฤษเขียนเป็น Macau และ Macao, อ้าวเหมิน; 馬交 ก็เรียก) เป็นพื้นที่บนชายฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ปกครองโดยประเทศโปรตุเกสก่อนพ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและมาเก๊า
มณีพิชัย
มณีพิชัย เป็นที่รู้จักกันในชื่อเรื่องว่า "ยอพระกลิ่น" เข้าใจกันว่าเป็นบทพระราชนิพนธ์ในล้นเกล้า รัชกาลที่ ๒ โดยทรงพระราชนิพนธ์เป็นกลอนสำหรับใช้เป็นบทละครนอก ซึ่งความจริงร.๒ แต่เฉพาะตอนที่ยอพระกลิ่น ปลอมตัวเป็นพราหมณ์มาขอพระมณีพิไชยไปเป็นทาส ส่วนเนื้อเรื่องตามต้นเรื่องและบทท้ายนั้น จากหนังสือ "รวมพระราชนิพนธ์บทละครนอก ๖ เรื่อง" ไม่ได้ระบุว่าใครเป็นผู้แต่ง ซึ่งทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดย บริษัท สามเศียร จำกัด และ บริษัท ดาราวิดีโอ จำกัดเคยนำมาสร้างเป็นละครพื้นบ้านแนวจักรๆวงศ์ๆในชื่อ ยอพระกลิ่น โดยผู้รับบท มณีพิชัย คือ ชาตรี พิณโณ และผู้รับบทยอพระกลิ่นคือ กบ สุวนันท์ ปุณณกันต์ โดยละครเรื่องนี้ออกอากาศเมื่อ ปี 2535 บทโทรทัศน์ โดย ภาวิต ต่อมาเมื่อปี 2546 สามเศียร ได้นำมาทำใหม่อีกครั้ง โดยนำแสดงโดย รติพงษ์ ภู่มาลี และ ฐานมาศ ขวัญหวาน บทโทรทัศน์โดย พิกุลแก้ว ต่อมาเมื่อปี 2557 นำกลับสร้างอีกครั้งของ สามเศียร นำแสดงโดย ภัทชา งามพิสุทธิ์ รับบท ยอพระกลิ่น นพรัตน์ ประเสริฐสุข รับบท มณีพิชัย บทโทรทัศน์ โดย เกล้าเกศ หมวดหมู่:วรรณคดีไทย.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและมณีพิชัย
ย่างกุ้ง
งกุ้ง หรือ ยานโกน (ရန်ကုန်, MLCTS rankun mrui, ยานโกน มโย; "อวสานสงคราม") หรือ ร่างกุ้ง (Rangoon) เป็นเมืองหลวงของเขตย่างกุ้ง ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี..
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและย่างกุ้ง
ราชวงศ์จักรี
ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและราชวงศ์จักรี
รามเกียรติ์
ตัวละครหลักที่ปรากฏในเรื่อง มีดังนี้ ฝ่ายพระราม.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและรามเกียรติ์
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
วรรณคดีสโมสร
วรรณคดีสโมสร จัดตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกาตั้งวรรณคดีสโมสร..
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและวรรณคดีสโมสร
วัยสูงอายุ
วัยสูงอายุ หรือ วัยชรา หมายถึง มนุษย์ที่มีอายุอยู่ในช่วงปลายของชีวิต นิยามของผู้สูงอายุอาจแตกต่างกันไปเมื่อพิจารณาจากแง่มุมต่าง ๆ อาทิ ทางชีววิทยา ประชากรศาสตร์ การจ้างงาน และทางสังคมวิทยา ในทางสถิติมักถือว่าผู้ที่อยู่ในวัยสูงอายุคือบุคคลที่มีอายุ 60-65 ปีขึ้นไป สำหรับประเทศไทยกำหนดไว้ว่าผู้สูงอายุคือบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่จะมีสัดส่วนผู้สูงอายุต่อประชากรทั้งประเทศสูงกว่าประเทศกำลังพัฒนา สำหรับประเทศไทยมีสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ 2.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและวัยสูงอายุ
วัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร
วัดสุทัศนเทพวราราม หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า วัดสุทัศน์ เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ที่มีอยู่เพียงไม่กี่แห่งของประเทศไทย และถือเป็นวัดประจำรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เป็นวัดที่ตั้งอยู่ในเขตพระนครชั้นใน และอยู่มีสิ่งก่อสร้างที่โดดเด่นคือ เสาชิงช้า อยู่บริเวณหน้าวั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม หรือที่นิยมเรียกกันในภาษาพูดว่า วัดแจ้ง หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ที่ชื่อวัดแจ้ง เพราะ พระเจ้าตากฯ ทำศึกเสร็จ แล้วยกทัพกลับมาเป็นเวลาเช้าพอดี ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตั้งราชธานีที่กรุงธนบุรีใน พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
วันวิสาขบูชา
วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและวันวิสาขบูชา
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท หรือ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระนามเดิม บุญมา เป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชชนกชนนีกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี) และพระอัครชายา (หยก) ประสูติในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน..
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์
มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ พระนามเดิม จุ้ย (29 มีนาคม พ.ศ. 2316 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2360) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลั.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 7 แห่งอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) และเป็นพระราชวงศ์พระองค์แรกที่ทรงได้รับสถาปนาให้ดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ยังเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์แรกที่ประสูติในสมัยรัตนโกสินทร์อีกด้วย ทรงสถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรงสมณศักดิ์เมื่อปี..
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี
มเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี มีพระนามเดิมว่า สั้น หรือ มาก (ประสูติ: ราว พ.ศ. 2254 — สิ้นพระชนม์: พ.ศ. 2344) เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี ถือเป็นพระสัสสุ (แม่ยาย) ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาร.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี
สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
มเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (พระยศเดิม:สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าบุญรอด; พระราชสมภพ: 21 กันยายน พ.ศ. 2310 — สวรรคต: 18 ตุลาคม พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี
มเด็จพระอมรินทราบรมราชินี (9 มีนาคม พ.ศ. 2280 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2369) หรือ สมเด็จกรมพระอมรินทรามาตย์ พระนามเดิม นาค เป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เพราะเป็นสมเด็จพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี
สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก
มเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระนามเดิม ทองดี เป็นสมเด็จพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องด้วยทรงเป็นสมเด็จพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก ประสูติที่บ้านสะแกกรัง เมืองอุทัยธานี ทรงเป็นบุตรคนโตของพระยาราชนิกูล (ทองคำ) ปลัดทูลฉลองกรมมหาดไทย (บ้างก็ว่า กรมนา) ในรัชกาลสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 ซึ่งสืบเชื้อสายมาจากเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) เสนาบดีพระคลังในรัชกาลสมเด็จพระเพทราชา ผู้ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นออกพระวิสุทธสุนทร และได้เดินทางไปถวายพระราชสาส์นของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ยังราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก
สังข์ศิลป์ชัย
ประติมากรรมรูปสังข์ศิลป์ชัย บนเสาไฟฟ้าริมถนนในเทศบาลนครขอนแก่น สังศิลป์ชัย หรือ สังข์ศิลป์ไชย เป็นวรรณคดีชิ้นเอกเรื่องหนึ่งในไทยและลาว (ล้านช้างหรือลาวในปัจจุบันเรียก สินไซ) ประพันธ์ขึ้นโดยเจ้าปางคำแห่งเมืองหนองบัวลุ่มภู ในราว พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสังข์ศิลป์ชัย
สังข์ทอง
สังข์ทอง เดิมทีนั้นเป็นบทเล่นอุทัยเทวี (2560) หมวดหมู่:วรรณคดีไทย หมวดหมู่:วรรณคดีประเภทกลอน หมวดหมู่:พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 หมวดหมู่:บทละคร หมวดหมู่:ละครโทรทัศน์ไทยที่ออกอากาศตั้งแต่ พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสังข์ทอง
อหิวาตกโรค
อหิวาตกโรค หรือ โรคห่า (cholera) คือ โรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Vibrio cholerae ที่ลำไส้เล็ก ผู้ป่วยจะมีอาการท้องร่วงเป็นน้ำและอาเจียนเป็นหลัก เรียกว่า "ลงราก" จึงเรียกโรคนี้ว่า "โรคลงราก" ก็มี และถ้าเกิดแก่สัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ วัว ควาย เรียก "กลี" ร่างกายจะขับน้ำออกมาเป็นจำนวนมาก ในผู้ป่วยรุนแรงอาจทำให้มีผิวสีออกเทา-น้ำเงินได้ การแพร่เชื้อเกิดขึ้นจากการดื่มน้ำหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระของผู้ติดเชื้อเป็นหลัก ซึ่งผู้นั้นแม้ไม่มีอาการก็สามารถแพร่เชื้อได้ ความรุนแรงของอาการท้องร่วงและอาเจียนสามารถนำไปสู่ภาวะขาดน้ำและเสียสมดุลเกลือแร่อย่างรวดเร็ว กระทั่งเสียชีวิตในบางราย การรักษาหลักคือการชดเชยสารน้ำโดยการกิน ซึ่งมักทำโดยให้ดื่มสารละลายชดเชยการขาดน้ำและเกลือแร่ ถ้าไม่ได้ผลหรือได้ผลเร็วไม่เพียงพอหรือดื่มไม่ได้ ผู้ป่วยบางรายอาจจำเป็นต้องได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ สำหรับผู้ป่วยบางรายที่เป็นรุนแรงอาจใช้ยาปฏิชีวนะช่วยเพื่อลดระยะเวลาและความรุนแรงของการป่ว..
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและอหิวาตกโรค
อักษรไทย
อักษรไทย เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทย และภาษากลุ่มน้อยอื่น ๆ ในประเทศไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และเครื่องหมายอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซ้ายไปขวา ส่วนสระจะอยู่หน้า บน ล่าง และหลังพยัญชนะประกอบคำแล้วแต่ชนิดของสระ อักษรไทยไม่มีการแยกอักษรตัวใหญ่หรืออักษรตัวเล็กอย่างอักษรโรมัน และไม่มีการเว้นวรรคระหว่างคำ เมื่อจบหนึ่งประโยคจะลงท้ายด้วยการเว้นวรรค กับมีเครื่องหมายวรรคตอนจำนวนหนึ่ง ภาษาไทยมีตัวเลขเป็นของตัวเอง แต่นิยมใช้เลขอารบิกเป็นส่วนใหญ่ในชีวิตประจำวัน.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและอักษรไทย
อัมพวา
อัมพวา อาจหมายถึง.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและอัมพวา
อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)
ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)
อำเภอถลาง
อำเภอถลาง อำเภอหนึ่งในจังหวัดภูเก็ต.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและอำเภอถลาง
อิน-จัน
อิน-จัน และลูก ๆ ของทั้งคู่ อิน-จัน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2354 — 17 มกราคม พ.ศ. 2417) เป็นชื่อของฝาแฝดสยาม ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก โดยเป็นที่มาของคำว่า "แฝดสยาม" เนื่องจากเกิดที่ประเทศสยาม (ประเทศไทย) ฝาแฝดที่มีหน้าอกติดกันและใช้ตับร่วมกัน เป็นฝาแฝดคู่แรกของโลกที่สามารถดำรงชีพเหมือนคนธรรมดาได้ตลอดชีวิต อิน-จันได้สัญชาติอเมริกันเมื่อปี พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและอิน-จัน
อิเหนา
ละครของกรมศิลปากร เรื่อง “อิเหนา” ตอนส่งดอกลำเจียกให้นางค่อม แสดงเมื่อประมาณ พ.ศ. 2483 อิเหนาเป็น วรรณคดีเก่าแก่เรื่องหนึ่งของไทย เป็นที่รู้จักกันมานาน เข้าใจว่าน่าจะเป็นช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยได้ผ่านมาจากหญิงเชลยปัตตานี ที่เป็นข้าหลวงรับใช้พระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและอิเหนา
อุณรุทร้อยเรื่อง
อุณรุทร้อยเรื่อง เป็นวรรณคดีขนาดสั้น แต่งในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์โดย คุณสุวรรณ เป็นวรรณคดีนิทานจักร ๆ วงศ์ ๆ ที่นำตัวละคร และเรื่องราวจากวรรณคดีเรื่องต่าง ๆ มาประมวลไว้ด้วยกันมากกว่าร้อยชื่อ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและอุณรุทร้อยเรื่อง
จอห์น ครอว์เฟิร์ด
อง จอห์น ครอว์เฟิร์ด จอห์น ครอว์เฟิร์ด FRS (John Crawfurd, 13 สิงหาคม 1783 – 11 พฤษภาคม 1868) นักฟิสิกส์, นักการทูต และนักเขียนชาวอังกฤษเป็นที่รู้จักจากการเป็นทูตเดินทางเข้ามายังสยามเมื่อ..
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและจอห์น ครอว์เฟิร์ด
จังหวัดสมุทรสงคราม
ังหวัดสมุทรสงคราม เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย (หน่วยงานบางแห่งถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคตะวันตก) มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดของประเทศ คือประมาณ 416.7 ตารางกิโลเมตร ทั้งยังมีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศด้วย นับเป็นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและมีชายฝั่งทะเลติดอ่าวไทยยาวประมาณ 23 กิโลเมตรซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มากเพราะเป็นดินดอนปากแม่น้ำ มีภูเขา 1 ลูก (เขายี่สาร) ไม่มีเกาะ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มโดยพื้นที่ฝั่งตะวันตกจะสูงกว่าฝั่งตะวันออกเล็กน้อย ปลายปี พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและจังหวัดสมุทรสงคราม
ธงชาติไทย
งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและธงชาติไทย
ซอสามสาย
ซอสามสาย เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่ง จำพวกเครื่องสาย มีขนาดใหญ่กว่าซอด้วงหรือซออู้ และมีลักษณะพิเศษ คือมีสามสาย มีคันชักอิสระ กะโหลกซอมีขนาดใหญ่ นับเป็นเครื่องดนตรีที่มีความสง่างามชิ้นหนึ่งในวงเครื่องสาย ผู้เล่นจะอยู่ในตำแหน่งด้านหน้าของวง.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและซอสามสาย
ประเทศโปรตุเกส
ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและประเทศโปรตุเกส
ประเทศเวียดนาม
วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและประเทศเวียดนาม
ปางอุ้มบาตร
ระพุทธรูปปางอุ้มบาตร ที่เป็นพระพุทธรูปประจำพระชนมวารรัชกาลที่ 2 ปางอุ้มบาตร เป็นชื่อเรียกของพุทธลักษณะของพระพุทธรูป ทำนั่งขัดสมาธิอย่างปางสมาธิ หรือยืน แต่พระหัตถ์ทั้งสองประคองถือบาตร.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและปางอุ้มบาตร
นายนรินทรธิเบศร์ (อิน)
นายนรินทรธิเบศร์ เดิมชื่อ อิน ได้รับราชการเป็น มหาดเล็ก ฝ่ายพระราชวังบวร (วังหน้า) ในสมัยรัชกาลที่ 2 ได้รับพระราชทานยศเป็นหุ้มแพร มีบรรดาศักดิ์ที่ นายนรินทรธิเบศร์ จึงมักเรียกกันว่า นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) คือใส่ชื่อเดิมเข้าไปด้วย นายนรินทรธิเบศร์เป็นผู้แต่งนิราศคำโคลง ที่เรียกกันว่านิราศนรินทร์ตามชื่อผู้แต่ง ทว่าประวัติของนายนรินทรธิเบศร์ไม่ปรากฏรายละเอียดมากนัก ทราบแต่ว่ารับราชการในสมัยรัชกาลที่ 2 เท่านั้น ในชั้นหลังเราได้ทราบประวัติของท่านจากหนังสือนิราศนรินทร์ที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงพระนิพนธ์ไว้ โดยทรงเล่าเพิ่มเติมว่า “...นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ไม่ใคร่จะได้แต่งหนังสือไว้มากนัก และแต่งไว้บ้างก็ล้วนแต่เป็นโคลง ที่ปรากฏว่าเป็นกลอนนั้นน้อยเต็มที โคลงยอพระเกียรติตอนท้ายหนังสือปฐมมาลา ก็เป็นฝีปากของนายนรินทร์ (อิน) จึงสันนิษฐานว่านายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ชอบโคลงมากกว่าคำประพันธ์อื่นๆ” ผลงานการประพันธ์ของนายนรินทรธิเบศร์นั้นไม่ปรากฏแพร่หลาย แต่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงกล่าวไว้ว่า “..ส่วนที่แต่งไว้ในที่อื่นๆ นั้น ไม่มีที่ใดจะเปรียบกับโคลงนิราศนี้ได้” แต่ทรงมิได้ระบุว่านายนรินทร์ได้แต่งเรื่องอื่นใดไว้นอกจากที่กล่าวมาข้างต้น อย่างไรก็ตาม ยังมีเพลงยาวอีกเรื่องหนึ่งที่กล่าวว่าเป็นของนายนรินทรธิเบศร์ นั่นคือเพลงยาวของนายนรินทร์ มีเนื้อความดังนี้ หมวดหมู่:นักเขียนชาวไทย หมวดหมู่:มหาดเล็ก หมวดหมู่:กวีชาวไทย.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและนายนรินทรธิเบศร์ (อิน)
ไชยเชษฐ์
250px ไชยเชษฐ์ เป็น นิทานพื้นบ้าน สมัย กรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี มีผู้นำนิทานเรื่องนี้มาเล่นเป็นละครเพราะเป็นเรื่องสนุก ต่อมา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ทรงนำนิทาน เรื่องไชยเชษฐ์มาพระราชนิพนธ์เป็นบทละครนอก เดิมละครนอกเป็นละครที่ราษฎรเล่นกัน ให้ผู้ชายแสดงเป็นตัวละครทั้งหมด พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่องไชยเชษฐ์ เพื่อให้เป็นบทละครนอกของหลวง และทรงให้ผู้หญิงที่เป็นละครหลวงแสดงอย่างละครนอก.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและไชยเชษฐ์
ไกรทอง
การต่อสู้ระหว่างไกรทอง กับชาละวันในร่างมนุษย์ ที่วัดอัมพวันเจติยาราม ไกรทอง เป็นนิทานพื้นบ้านภาคกลางของไทย ที่มีตัวเอกชื่อ ไกรทอง เล่าไว้หลายสำนวนด้วยกัน ภายหลังในสมัยรัชกาลที่ 2 ได้ทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทละครสำหรับละครนอก และได้รับความนิยม ยกย่องเป็นฉบับมาตรฐานฉบับหนึ่ง ซึ่งเป็นเรื่องราวความรักเกี่ยวกับคนและจระเข้.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและไกรทอง
เสือโคคำฉันท์
ือโคคำฉันท์ เป็นวรรณคดีไทย ประเภทฉันท์เรื่องแรก และเป็นแบบฉบับของการแต่งฉันท์ในสมัยต่อมา ซึ่งพระมหาราชครู ภิกษุชาวเชียงใหม่ เป็นผู้แต่ง มีเค้าเรื่องอยู่ในปัญญาสชาดก.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเสือโคคำฉันท์
เจ้าพระยาวรวงษาธิราช (ขุนทอง)
้าพระยาวรวงษาธิราช นามเดิม ขุนทอง เป็นบุตรชายของเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน).
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและเจ้าพระยาวรวงษาธิราช (ขุนทอง)
21 กรกฎาคม
วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและ21 กรกฎาคม
7 กันยายน
วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น.
ดู พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและ7 กันยายน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ KingBuddhaLoetlaรัชกาลที่ 2รัชกาลที่ ๒สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 5สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าชายฉิมสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าชายฉิม กรมหลวงอิศรสุนทรสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าฉิม กรมหลวงอิศรสุนทรสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2พระบาทสมเด็จพระปรมพงษเชษฐ์มเหศวรสุนทร ฯ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอิศรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระพุทธเลิศหล้าเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร