ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและอาณาจักรธนบุรี
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและอาณาจักรธนบุรี มี 22 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2325พระมหากษัตริย์กรมหมื่นเทพพิพิธกรุงเทพมหานครการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองมะริดรัฐตรังกานูรัฐเกอดะฮ์ราชวงศ์จักรีรามเกียรติ์รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยสมุหนายกสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีหลวงพระบางอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรธนบุรีจังหวัดลำปางตะนาวศรีประเทศกัมพูชาแม่น้ำเจ้าพระยาเวียงจันทน์
พ.ศ. 2325
ทธศักราช 2325 ตรงกับคริสต์ศักราช 1782 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน.
พ.ศ. 2325และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · พ.ศ. 2325และอาณาจักรธนบุรี ·
พระมหากษัตริย์
กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและพระมหากษัตริย์ · พระมหากษัตริย์และอาณาจักรธนบุรี ·
กรมหมื่นเทพพิพิธ
กรมหมื่นเทพพิพิธ พระนามเดิมคือ พระองค์เจ้าแขก พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ผนวชในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ ต่อมามีความผิดฐานคิดกบฏ จึงถูกเนรเทศออกไปอยู่ที่ลังกา และ เมื่อพระเจ้ามังระส่งกองทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา กรมหมื่นเทพพิพิธได้ทราบว่าพม่าทำการปิดล้อมกรุงศรีอยุธยา จึงได้เดินทางกลับไทย เกลี้ยกล่อมผู้คนทางหัวเมืองชายทะเลภาคตะวันออกเพื่อจะเข้ากู้กรุงศรีฯ แต่ไม่สำเร็จ จึงหนีไปเกลี้ยกล่อม พระยานครราชสีมา เจ้าเมืองนครราชสีมาให้เข้าร่วมช่วยกอบกู้กรุงศรีฯ แต่พระยานครราชสีมาไม่ยอม จึงทำการเกลี้ยกล่อมชาวบ้านบริเวณนั้นให้เข้าร่วมเป็นพวกของพระองค์ และให้ หม่อมเจ้าประยง พระโอรส กับ หลวงมหาพิชัย นำไพร่พลไปลอบสังหารพระยานครราชสีมา และยึดเมืองได้ในที่สุด ต่อมา หลวงแพ่ง น้องพระยานครราชสีมาได้ไปเกณฑ์พลจากเมืองพิมาย เพื่อไปตีเมืองนครราชสีมาเอาเมืองคืน ปรากฏว่ารบชนะ จึงจับกรมหมื่นเทพพิพิธได้ หลวงแพ่งต้องการที่จะประหารชีวิตกรมหมื่นเทพพิพิธเสีย แต่เจ้าพิมายมีความสงสารจึงขอชีวิตไว้ และขอนำกรมหมื่นเทพพิพิธไปคุมไว้ที่เมืองพิมาย แต่เจ้าพิมายจงรักภักดีต่อเจ้ากรุงศรีอยุธยามาก จึงยกกรมหมื่นเทพพิพิธขึ้นเป็นเจ้าแผ่นดินเมืองพิมาย สถาปนาเมืองพิมายเป็นราชธานีต่อจากกรุงศรีอยุธยา ส่วนเจ้าพิมายนั้นนั้นได้ถูกแต่งตั้งให้เป็น เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ผู้สำเร็จราชการบ้านเมืองทั้งหมด หลังจากนั้น เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ก็ได้สังหารหลวงแพ่ง แล้วยึดเมืองนครราชสีมา และ หัวเมืองน้อยใหญ่ทั้งปวงมารวมกับพิมายทั้งหมด เมืองพิมายมีอาณาเขตตั้งแต่แขวงหัวเมืองตะวันออกฝ่ายดอน ไปจนถึงแดนกรุงศรีสัตนาคนหุตและกรุงกัมพูชาธิบดี ฝ่ายใต้ลงมาถึงเมืองสระบุรีตลอดลำน้ำแควป่าสัก ภายหลังสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงสถาปนา กรุงธนบุรี พระองค์ทรงมีบัญชาให้ พระราชวรินทร์ (ทองด้วง) และ พระมหามนตรี (บุญมา) ยกทัพมาตีชุมนุมของกรมหมื่นเทพพิพิธ กองทัพพิมายของกรมหมื่นเทพพิพิธมิอาจต่อสู้ได้ พระองค์จึงพาครอบครัวหนีไปเมืองเวียงจันทน์ แต่ถูก ขุนชนะ กรมการเมืองนครราชสีมาตามจับตัวได้ทัน จึงนำตัวมาถวายพระเจ้ากรุงธนบุรี ในภายแรกพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงไม่ปรารถนาจะสำเร็จโทษ แต่กรมหมื่นเทพพิพิธไม่ยอมสวามิภักดิ์ต่อพระองค์ พระองค์จึงจำต้องสำเร็จโทษกรมหมื่นเท.
กรมหมื่นเทพพิพิธและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · กรมหมื่นเทพพิพิธและอาณาจักรธนบุรี ·
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
กรุงเทพมหานครและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · กรุงเทพมหานครและอาณาจักรธนบุรี ·
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองและอาณาจักรธนบุรี ·
มะริด
มะริด (မြိတ်, มเยะ หรือ เบะ; ဗိက်; Myeik) มีชื่อเดิมเป็นภาษาอังกฤษว่า เมอร์กุย (Mergui) เป็นเมืองหนึ่งในภูมิภาคตะนาวศรี ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้บริเวณชายฝั่งทะเลอันดามัน จากผลสำรวจสำมะโนครัวประชากรมีประชากรราว 209,000 คน World Gazetteer.
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและมะริด · มะริดและอาณาจักรธนบุรี ·
รัฐตรังกานู
ตรังกานู (Terengganu เดิมสะกดว่า Trengganu หรือ Tringganu, อักษรยาวี: ترڠڬانو) เป็นรัฐสุลต่านและเป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธ์มาเลเซีย มีชื่อเฉลิมเมืองเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลอีมาน ("ถิ่นที่อยู่แห่งความศรัทธา") รัฐตรังกานูตั้งอยู่ริมชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก ทางทิศเหนือและทิศตะวันตกติดต่อกับรัฐกลันตัน ทางทิศใต้ติดต่อกับรัฐปะหัง และทางทิศตะวันออกจรดทะเลจีนใต้ หมู่เกาะเปอร์เฮินเตียน (Perhentian Islands) เป็นส่วนหนึ่งของรัฐนี้ด้วย ทำให้รัฐตรังกานูมีพื้นที่ทั้งหมดรวม 12,955 ตารางกิโลเมตร องค์ประกอบทางชาติพันธุ์ในปี พ.ศ. 2538 ได้แก่ ชาวมลายู (859,402 คน หรือร้อยละ 94) ชาวจีน (42,970 คน หรือร้อยละ 5) ชาวอินเดีย (4,355 คน) และอื่น ๆ (3,238 คน) เมืองชายฝั่งกัวลาเตอเริงกานู (Kuala Terengganu) ตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำตรังกานูเป็นทั้งเมืองหลวงของรัฐและเมืองของสุลต่าน และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรั.
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและรัฐตรังกานู · รัฐตรังกานูและอาณาจักรธนบุรี ·
รัฐเกอดะฮ์
กอดะฮ์ (Kedah, قدح) หรือ ไทรบุรี มีชื่อเฉลิมเมืองเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลอามัน ("ถิ่นที่อยู่แห่งสันติภาพ") เป็นรัฐหนึ่งในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก ครอบคลุมขนาดเนื้อที่ 9,425 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่บนแผ่นดินใหญ่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบใช้สำหรับปลูกข้าว รวมทั้งเกาะลังกาวี พรมแดนของรัฐเกอดะฮ์ทางทิศเหนือติดต่อกับรัฐปะลิส และติดต่อกับจังหวัดสงขลาและจังหวัดยะลาของประเทศไทย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐเประก์ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับรัฐปีนัง เมืองหลวงของรัฐคือ อาโลร์เซอตาร์ และเมืองของเจ้าผู้ครองคือ อานักบูกิต เมืองหลักอื่น ๆ ได้แก่ ซูไงเปอตานี (Sungai Petani) และกูลิม (Kulim) บนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งกูวะห์ (Kuah) บนเกาะลังกาวี.
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและรัฐเกอดะฮ์ · รัฐเกอดะฮ์และอาณาจักรธนบุรี ·
ราชวงศ์จักรี
ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและราชวงศ์จักรี · ราชวงศ์จักรีและอาณาจักรธนบุรี ·
รามเกียรติ์
ตัวละครหลักที่ปรากฏในเรื่อง มีดังนี้ ฝ่ายพระราม.
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและรามเกียรติ์ · รามเกียรติ์และอาณาจักรธนบุรี ·
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย
รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยและอาณาจักรธนบุรี ·
สมุหนายก
มุหนายก คือ อัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน เป็นเจ้ากรมมหาดไทย บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือ บรรดาศักดิ์ "เจ้าพญาจักรีศรีองครักษ์" คู่กับสมุหกลาโหม อัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหาร เจ้ากรมกลาโหม บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายใต้ บรรดาศักดิ์ "เจ้าพญามหาเสนาบดีวิริยภักดีบดินทร์" หมวดหมู่:ขุนนางไทย หมวดหมู่:ยศศักดิ์ไทย ตั้งขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยา ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา โปรดให้แบ่งหัวเมืองออกเป็น ฝ่ายเหนือ และฝ่ายใต้ โดยให้สมุหนายก มีอำนาจบังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือ ทั้งกิจการฝ่ายทหารและพลเรือน ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน โดยตั้งกระทรวงขึ้นสิบสองกระทรวง มีเสนาบดีประจำทุกกระทรวง กรมมหาดไทยได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น กระทรวงมหาดไทย สมุหนายกจึงถูกลดฐานะจากอัครมหาเสนาบดี ลงเป็นเสนาบดีเท่ากับเสนาบดีอื่น ๆ นับเป็นการสิ้นสุดตำแหน่ง สมุหนายก ในสมัยอยุธยาตอนต้น การปกครองภายในราชธานี มีตำแหน่งเสนาบดีสำคัญสี่ตำแหน่ง เรียกว่า จตุสดมภ์ คือ เสนาบดีกรมเมือง หรือเวียง เสนาบดีกรมวัง เสนาบดีกรมคลัง และเสนาบดี กรมนา ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991 - 2031) ทรงปรับปรุงวิธีการปกครองส่วนกลาง โดยแบ่งขุนนางและไพร่พล ทั่วพระราชอาณาจักรออกเป็นสองฝ่ายคือ ฝ่ายพลเรือน และฝ่ายทหาร โปรดให้ตั้งกรมมหาดไทย ขึ้นโดยมีสมุหนายก เป็นเจ้ากรม และเป็นหัวหน้าข้าราชการฝ่ายพลเรือน มีหน้าที่ดูแลกิจการฝ่ายพลเรือน ในหัวเมืองต่าง ๆ ทุกเมือง รวมทั้งเสนาบดีจตุสมดภ์ด้วย ทรงตั้งกรมพระกลาโหม มีสมุหพระกลาโหม เป็นเจ้ากรม และหัวหน้าราชการฝ่ายทหาร มีหน้าที่ดูแลกิจการฝ่ายทหาร ในราชธานี และทุกหัวเมือง ทั้งสมุหนายก และสมุหกลาโหม มีฐานะเป็น อัครเสนาบดี และเป็นประธานในคณะลูกขุนฝ่ายทหารและพลเรือน ในยามศึกสงครามทั้งทหารและพลเรือน ต่างต้องทำหน้าที่ในการสู้รบป้องกันบ้านเมืองเช่นเดียวกัน ตำแหน่งสมุหนายก มีบรรดาศักดิ์และราชทินนามเป็น "เจ้าพญาจักรี" ศักดินา 10,000 มีตราพระราชสีห์ และตราจักร เป็นตราประจำตำแหน่ง เมื่อประชุมเสนาบดีทั้งหมด สมุหนายกจะเป็นประธานในการประชุม เพราะมีฐานะเป็นประมุขของเสนาบดี สมุหนายก มีหน้าที่ติดต่อกับประเทศราช ในนามของพระมหากษัตริย์ แต่ไม่มีอำนาจปกครอง ตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา (พ.ศ. 2231 - 2246) มีการแบ่งหัวเมืองในราชอาณาจักร ออกเป็นหัวเมืองฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้ ให้สมุหนายกดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ สมุหกลาโหม ดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ ในปลายสมัยอยุธยา ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (พ.ศ. 2275 - 2301) ได้มีการโอนอำนาจการปกครองหัวเมืองภาคใต้ ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนให้แก่ เจ้าพระยาโกษาธิบดี เสนาบดีพระคลัง ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ฯ โปรดเกล้า ฯ ให้โอนอำนาจการปกครองหัวเมืองภาคใต้ คืนให้สมุหกลาโหม ตั้งแต่หัวเมืองชายทะเลแปดเมือง รวมทั้งเมืองสมุทรสงคราม ซึ่งเดิมขึ้นกรมมหาดไทย รวมเป็นเก้าเมือง ให้เจ้าพระยาพระคลัง ปกครองโดยแบ่งหัวเมืองภาคใต้ฝ่ายตะวันตก ซึ่งขึ้นกับเจ้าพระยาพระคลัง สิบเก้าเมือง ขึ้นกับสมุหนายก หนึ่งเมืองคือ เพชรบุรี รวมยี่สิบเมือง มาขึ้นกับสมุหกลาโหม ในปี..
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและสมุหนายก · สมุหนายกและอาณาจักรธนบุรี ·
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (แต้จิ๋ว: Dênchao; 17 เมษายน พ.ศ. 2277 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325) มีพระนามเดิมว่า สิน เป็นคนไทยเชื้อสายจีน เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรธนบุรี และเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวของราชอาณาจักรนั้น เดิมพระองค์เป็นนายทหารในรัชกาลสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์ ต่อม..
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี · สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและอาณาจักรธนบุรี ·
หลวงพระบาง
หลวงพระบาง (ຫຼວງພຣະບາງ) เป็นเมืองเอกของแขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว อยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ตัวเมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและแม่น้ำคาน ซึ่งไหลมาบรรจบกันบริเวณนั้นเรียกว่า ปากคาน เป็นเมืองที่องค์การยูเนสโกได้ยกย่องให้เป็นมรดกโลกด้ว.
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและหลวงพระบาง · หลวงพระบางและอาณาจักรธนบุรี ·
อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)
ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · อาณาจักรธนบุรีและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) ·
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและอาณาจักรอยุธยา · อาณาจักรธนบุรีและอาณาจักรอยุธยา ·
อาณาจักรธนบุรี
อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและอาณาจักรธนบุรี · อาณาจักรธนบุรีและอาณาจักรธนบุรี ·
จังหวัดลำปาง
ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.
จังหวัดลำปางและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · จังหวัดลำปางและอาณาจักรธนบุรี ·
ตะนาวศรี
ตะนาวศรี (တနင်္သာရီ, ตะนี้นตายี; สำเนียงมอญ: ตะเนิงซอย; Tanintharyi, Taninthayi) เดิมใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า เทนัสเซริม (Tenasserim) เป็นเมืองเล็ก ๆ แห่งหนึ่งในภูมิภาคตะนาวศรี ทางตอนใต้ของประเทศพม.
ตะนาวศรีและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ตะนาวศรีและอาณาจักรธนบุรี ·
ประเทศกัมพูชา
กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..
ประเทศกัมพูชาและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ประเทศกัมพูชาและอาณาจักรธนบุรี ·
แม่น้ำเจ้าพระยา
แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและแม่น้ำเจ้าพระยา · อาณาจักรธนบุรีและแม่น้ำเจ้าพระยา ·
เวียงจันทน์
วียงจันทน์ (ວຽງຈັນ) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศลาว อยู่ในลุ่มแม่น้ำโขง ในพิกัด 17°58' เหนือ, 102°36' ตะวันออก (17.9667, 102.6) ประชากรในตัวเมืองมีประมาณ 200,000 คน (ค.ศ. 2005) แต่ประชากรทั้งหมดที่อาศัยในนครหลวงเวียงจันทน์ เชื่อว่ามีอยู่ถึงกว่า 730,000 คน เวียงจันทน์มีชื่อที่ตั้งในรัชสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ว่า กรุงศรีสัตนาคคนหุต วิสุทธิ์รัตนราชธานีบุรีรม.
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและเวียงจันทน์ · อาณาจักรธนบุรีและเวียงจันทน์ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและอาณาจักรธนบุรี มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและอาณาจักรธนบุรี
การเปรียบเทียบระหว่าง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและอาณาจักรธนบุรี
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช มี 138 ความสัมพันธ์ขณะที่ อาณาจักรธนบุรี มี 88 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 22, ดัชนี Jaccard คือ 9.73% = 22 / (138 + 88)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและอาณาจักรธนบุรี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: