โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสภากรรมการองคมนตรี

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสภากรรมการองคมนตรี

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว vs. สภากรรมการองคมนตรี

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน.. กรรมการองคมนตรี เป็นคณะที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแต่งตั้งองคมนตรี จำนวน 40 คน ตั้งเป็น สภากรรมการองคมนตรี ทำหน้าที่พิจารณาร่างกฎหมาย ต่อมาได้โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งองคมนตรี ขึ้นใหม่ทุกปีในวันที่ 4 เมษายน เนื่องในพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ในขณะที่กฎหมายกำหนดให้องคมนตรี ดำรงตำแหน่งจนถึงสิ้นรัชกาล และมีกำหนดหลังจากนั้นอีก 6 เดือน เมื่อสิ้นรัชกาลจึงมีองคมนตรีมากถึง 233 คน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแต่งตั้งคณะที่ปรึกษาขึ้นสามคณะ ประกอบด้วย อภิรัฐมนตรีสภา เสนาบดีสภา และ สภากรรมการองคมนตรี โดยอาศัยอำนาจตาม พระราชบัญญัติองคมนตรี พุทธศักราช ๒๔๗๐ ซึ่งทรงตราขึ้นมาใช้บังคับแทน พระราชบัญญัติปรีวีเคาน์ซิล พุทธศักราช ๒๔๑๗ ประกอบด้วยกรรมการองคมนตรีจำนวน 40 คน ซึ่งจะทรงตั้งจากองคมนตรี มีหน้าที่ประชุมปรึกษาหารือ ถวายความเห็นเกี่ยวกับสวัสดิภาพแห่งบ้านเมืองและประชาชน โดยกำหนดให้กรรมการองคมนตรี อยู่ในตำแหน่งได้ครั้งละ 3 ปี หลังจากนั้นอาจจะทรงแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งซ้ำอีกก็ได้ สภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีทั้งสิ้น 2 ชุด คือ ชุดที่หนึ่ง ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 2 กันยายน 2470 - 31 มีนาคม 2474 และชุดที่สอง ตั้งแต่ 1 เมษายน 2474 - 31 มีนาคม 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 คณะราษฎรได้มีประกาศยกเลิกพระราชบัญญัติองคมนตรี เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสภากรรมการองคมนตรี

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสภากรรมการองคมนตรี มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475คณะราษฎรเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและสภากรรมการองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475และสภากรรมการองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะราษฎร

ณะราษฎร (อ่านว่า "คะ-นะ-ราด-สะ-ดอน"; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) คือ กลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อาจได้ชื่อว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไท.

คณะราษฎรและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · คณะราษฎรและสภากรรมการองคมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · สภากรรมการองคมนตรีและเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสภากรรมการองคมนตรี

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มี 163 ความสัมพันธ์ขณะที่ สภากรรมการองคมนตรี มี 38 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 1.99% = 4 / (163 + 38)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสภากรรมการองคมนตรี หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »