เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ดัชนี พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ.

สารบัญ

  1. 154 ความสัมพันธ์: บันทึกสถิติโลกกินเนสส์พ.ศ. 2463พ.ศ. 2465พ.ศ. 2470พ.ศ. 2472พ.ศ. 2477พ.ศ. 2479พ.ศ. 2483พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พ.ศ. 2486พ.ศ. 2487พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2491พ.ศ. 2492พ.ศ. 2493พ.ศ. 2494พ.ศ. 2495พ.ศ. 2496พ.ศ. 2497พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2500พ.ศ. 2501พ.ศ. 2502พ.ศ. 2503พ.ศ. 2504พ.ศ. 2505พ.ศ. 2510พ.ศ. 2512พ.ศ. 2513พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2521พ.ศ. 2534พ.ศ. 2536พ.ศ. 2546พ.ศ. 2547พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคลพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช... ขยายดัชนี (104 มากกว่า) »

  2. นักดนตรีชาวกัมพูชา
  3. นายกรัฐมนตรีกัมพูชา
  4. ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา
  5. ผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง
  6. พุทธศาสนิกชนชาวกัมพูชา
  7. ราชสกุลนโรดม

บันทึกสถิติโลกกินเนสส์

หน้าปกกินเนสส์บุ๊ก ฉบับปี ค.ศ. 2008 หนังสือบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ หรือ กินเนสส์บุ๊ค (Guinness Book of World Records) เป็นหนังสือที่บันทึกที่สุดในโลกด้านต่างๆ โดยออกเป็นรูปแบบหนังสือรายปี.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและบันทึกสถิติโลกกินเนสส์

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2463

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2465

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2470

พ.ศ. 2472

ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2472

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2477

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2479

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2483

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2484

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2485

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2486

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2487

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2488

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2489

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2490

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2491

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2492

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2493

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2494

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2495

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2496

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2497

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2498

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2499

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2500

พ.ศ. 2501

ทธศักราช 2501 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1958 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2501

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2502

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2503

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2504

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2505

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2510

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2512

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2513

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2516

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2518

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2519

พ.ศ. 2521

ทธศักราช 2521 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1978 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2521

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2534

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2536

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2546

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2547

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2555

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพ.ศ. 2556

พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล

ระบรมราชวังในพระราชาณาจักรกัมพูชา (ព្រះបរមរាជវាំងនៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระบรมราชวำงไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) หรือ พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล (ព្រះបរមរាជវាំងចតុមុខសិរីមង្គល พฺระบรมราชวำงจตุมุขสิรีมงฺคล) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ในกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา เป็นกลุ่มอาคารพระราชมนเทียรของพระมหากษัตริย์กัมพูชา พระเจ้าแผ่นดินกัมพูชาเสด็จประทับที่นี้นับแต่แรกสร้างใน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล

พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

ระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี (ព្រះបាទសម្តេចព្រះបរមនាថ នរោត្តម សីហមុនី พฺระบาทสมฺเตจพฺระบรมนาถ นโรตฺตม สีหมุนี; ออกเสียง โนโรด็อม เส็ยหะโมนี; ประสูติ 14 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថ; พระบาทสีสุวัตถิ์, ในเอกสารไทยเรียกว่า "สมเด็จพระศรีสวัสดิ์") พระมหากษัตริย์ผู้ปกครองพระราชอาณาจักรกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថមុនីវង្ស) เอกสารไทยในบางแห่งเรียกว่า สมเด็จพระศรีสวัสดิ์มณีวงศ์ เสด็จพระราชสมภพเมี่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

ระบาทสมเด็จพระนโรดม (ព្រះបាទនរោត្តម, พฺระบาทนโรตฺตม "พระบาทนโรดม") หรือ สมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ หรือ นักองค์ราชาวดี (អង្គ រាជាវតី, องคฺราชาวดี "องค์ราชาวดี") เสด็จพระราชสมภพเมี่อ15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา นับตั้งแต่สมัยการยึดครองของฝรั่ง.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต

พระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา

ระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา (ស៊ីសុវត្ថិមុនីវង្ស កុសុមៈនារីរ័ត្នសេរីវឌ្ឍនា; 9 เมษายน พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา

พระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา

ระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา (នរោត្ដម មុនីនាថ សីហនុ; 18 มิถุนายน พ.ศ. 2479) พระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ และเป็นพระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชารัชกาลปัจจุบัน พระองค์เป็นที่รู้จักในพระนาม พระราชินีโมนีก (Queen Monique).

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดา

พระองค์เจ้านโรดม พงางาม

มเด็จพระราชอัยยิกาขัตติยกัลยาราชสุดาวดีนโรดมพงางาม (พ.ศ. 2417 - พ.ศ. 2487) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์กับเจ้าจอมมารดานวล และเป็นพระราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา พระองค์ประสูติในปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระองค์เจ้านโรดม พงางาม

พระองค์เจ้านโรดม มารี รณฤทธิ์

ระองค์เจ้านโรดม มารี รณฤทธิ์ (สกุลเดิม: เอง; 21 ธันวาคม พ.ศ. 2491) เป็นนักการเมืองชาวกัมพูชา อดีตพระชายาในสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ และอดีตนายิกาสภากาชาดกัมพูชา (พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระองค์เจ้านโรดม มารี รณฤทธิ์

พระองค์เจ้านโรดม วิชรา

ระองค์เจ้านโรดม วิชรา (17 สิงหาคม พ.ศ. 2489 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สุรามฤต กับคุณเทพกัญญาโสภา (คิม อันยิป) ถือเป็นพระขนิษฐาต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ พระชนกของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระองค์เจ้านโรดม วิชรา

พระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา

ระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา (18 มกราคม พ.ศ. 2494 - เมษายน พ.ศ. 2519) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับพระองค์เจ้าสีสุวัตถิ์ พงสานมุนี มีพระพี่น้องร่วมพระมารดา 7 พระองค์ พระองค์ทรงพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผา

พระตะบอง

ระตะบอง อาจหมายถึง.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระตะบอง

พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและพนมเปญ

กันยายน

กันยายน เป็นเดือนที่ 9 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกันยายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกันย์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีตุล แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกันยายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวสิงโตและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวหญิงสาว เดือนกันยายนในภาษาอังกฤษ September มาจากภาษาละติน septem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 7 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม ประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนกันยายนในปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและกันยายน

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและภาษาฝรั่งเศส

ภาษาละติน

ษาละติน (Latin) เป็นภาษาโบราณในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน มีต้นกำเนิดในที่ราบลาติอุม (Latium) ซึ่งเป็นพื้นที่รอบๆกรุงโรม และได้ชื่อว่าเป็นภาษาทางการในการสื่อสารของจักรวรรดิโรมัน ต่อมาภาษาละตินได้ถูกกำหนดให้เป็นภาษาสื่อสารและในพิธีสวดของศาสนจักรโรมันคาทอลิก และยังเป็นภาษาที่ใช้โดยนักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา และนักเทววิทยาของยุโรป ตั้งแต่ตลอดยุคกลางจนมาถึงยุคสมัยใหม่ ภาษาละตินจึงเป็นภาษาต้นฉบับของงานเขียนที่ทรงคุณค่าทั้งทางประวัติศาสตร์ และทางวรรณกรรมเป็นจำนวนมาก ภาษาอังกฤษได้รับคำในภาษาละตินเข้ามาในภาษาตนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากอิทธิพลของเจ้าปกครองชาวแองโกล-นอร์มัน ซึ่งใช้ภาษาฝรั่งเศส นอกจากนี้คำศัพท์ที่ใช้ในสาขาวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ล้วนเป็นคำศัพท์ภาษาละตินหรือสร้างจากภาษาละติน ภาษาละตินเป็นภาษามีวิภัติปัจจัย (การผันคำ) มีการก 7 การก (case), มีเพศ 3 เพศ, และมีพจน์ 2 พจน์ ภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน พัฒนาสืบต่อมาจากภาษาละตินพื้นบ้าน ซึ่งจะเรียกกลุ่มภาษาเหล่านี้ว่า ภาษากลุ่มโรมานซ์ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มภาษาโรมานซ์ที่สำคัญได้แก่ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมาเนีย ภาษาอิตาลี ภาษาโปรตุเกส และภาษาสเปน ภาษาส่วนใหญ่ในภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียนก็มีความสัมพันธ์บางอย่างกับภาษาละติน แม้ภาษาละตินในปัจจุบัน จะมีผู้ใช้น้อยมากจนถูกนับว่าเกือบเป็นภาษาสูญแล้ว แต่การศึกษาภาษาละตินในโรงเรียนและในมหาวิทยาลัยก็ยังคงมีอยู่อย่างแพร่หลาย นอกจากนี้อักษรละติน (ที่พัฒนามาจากอักษรกรีก) ยังคงมีใช้ในหลายภาษา และเป็นอักษรที่ใช้มากที่สุดในโลก.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและภาษาละติน

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและภาษาอังกฤษ

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและภาษาไทย

ภาษาเขมร

ษาเขมร (ភាសាខ្មែរ ภาสาแขฺมร เพียซา ขฺมะเอ) ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นหนึ่งในภาษาหลักของภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก และได้รับอิทธิพลหลายๆ ประการมาจากภาษาสันสกฤต และภาษาบาลี พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้เข้ามาผ่านศาสนาพุทธ และศาสนาฮินดู ในขณะที่อิทธิพลจากภาษาอื่นๆ โดยมากเป็นคำยืม เช่น จากภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ และภาษาจีนจากการอพยพ ภาษาฝรั่งเศสจากการตกเป็นอาณานิคมช่วงเวลาหนึ่ง และภาษามลายูจากความสัมพันธ์ในอดีตและการที่เคยมีอาณาจักรจามปาในตอนกลางของประเทศเวียดนาม ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน (ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเวียดนาม) เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและภาษาเขมร

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

ราชสกุลนโรดม

ราชสกุลนโรดม เป็นราชวงศ์ของกัมพูชา สถาปนาขึ้นเมื่อปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและราชสกุลนโรดม

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

รายนามประมุขแห่งรัฐกัมพูชา

ทความนี้เป็นรายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐกัมพูชา ตั้งแต่ได้รับเอกราชจากประเทศฝรั่งเศสเป็นต้นมา โดยปัจจุบันประมุขแห่งรัฐคือ พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรกัมพู.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและรายนามประมุขแห่งรัฐกัมพูชา

รายนามนายกรัฐมนตรีกัมพูชา

นายกรัฐมนตรีกัมพูชา (នាយករដ្ឋមន្ត្រីកម្ពុជា นายกรฎฺฐมนฺตฺรีกมฺพุชา) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรีในพระราชาณาจักรกัมพูชา (នាយករដ្ឋមន្ត្រីនៃព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា นายกรฎฺฐมนฺตฺรีไนพฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นประธานคณะรัฐมนตรีกัมพูชา ทั้งเป็นผู้แทนรัฐบาลในกิจการภายในและต่างประเทศ ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี ไม่จำกัดวาระ ตามรัฐธรรมนูญ นายกรัฐมนตรีจำต้องเป็นสมาชิกรัฐสภากัมพูชา อันเป็นสภาล่างในสภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา และต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาก่อนที่พระมหากษัตริย์กัมพูชาจะทรงแต่งตั้ง อนึ่ง ตามธรรมเนียม เมื่อได้รับแต่งตั้งแล้ว นายกรัฐมนตรีจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์และสังฆราชแห่งมหานิกายกับธรรมยุติกนิกาย ณ พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล นับแต..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและรายนามนายกรัฐมนตรีกัมพูชา

ลอน นอล

ลอน นอล (លន់ នល់ ลน่ นล่; 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1913 - 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1985) เป็นนายทหารและนักการเมืองกัมพูชา เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีกัมพูชาสองสมัย และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหมอีกหลายครั้ง เป็นผู้ก่อการรัฐประหารล้มอำนาจของรัฐบาลเจ้านโรดม สีหนุในปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและลอน นอล

ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ

ลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice; ICJ) หรือภาษาปากว่า ศาลโลก (World Court) เป็นศาลซึ่งตั้งขึ้นโดยกฎบัตรสหประชาชาติ เมื่อ..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ

สมเด็จพระบรมเรียมนโรดม ยุวนาถ

มเด็จพระบรมรามานโรดม ยุวนาถ (Samdech Preah Boromriem Norodom Yuvaneath) เป็นพระราชโอรสองค์โตในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุกับพระองค์เจ้าสีสุวัตถิ์ พงสานมุนี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จพระบรมเรียมนโรดม ยุวนาถ

สมเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์

มเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์ (ประสูติ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1945 -) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับพระองค์เจ้าสีสุวัตถิ์ พงสานมุนี จึงถือว่าพระองค์เป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์

สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี

มเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี หรือ นักองด้วง หรือ พระองค์ด้วง (ព្រះបាទ អង្គ ឌួង; พระบาทองค์ด้วง) เสด็จพระราชสมภพเมี่อ พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี

สมเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมี

มเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมี (នរោត្តម អរុណរស្មី; 2 ตุลาคม พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับหม่อมมะนีวัน พานีวง หม่อมชาวลาว.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมี

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

สมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์

มเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์ (សម្តេចព្រះនរោត្តម នរិន្រ្ទពង្ស, พ.ศ. 2497 - 2546) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุกับสมเด็จพระราชินีนโรดม มุนีนาถ สีหนุโดยมีพระเชษฐาคือ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์

สมเด็จพระเรียมนโรดม บุปผาเทวี

รับบทเป็นนางรอง สมเด็จพระเรียมนโรดม บุปผาเทวี (នរោត្ដម បុប្ផាទេវី นโรตฺฎม บุบฺผาเทวี; 8 มกราคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับนักนางพาต กาญล ซึ่งเป็นนางรำหลวง โดยมีพระอนุชาร่วมพระมารดาคือ สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ โดยทั้งสองพระองค์ต่างพระมารดากับพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จพระเรียมนโรดม บุปผาเทวี

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ

มเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ (Sisowath Monireth) ประสูติเมื่อ 25 พฤศจิกายน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ

สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์

มเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ (នរោត្ដម រណឬទ្ធិ นโรตฺฎม รณฤๅทฺธิ; ประสูติ 2 มกราคม พ.ศ. 2487) พระราชโอรสพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหนุ แห่งกัมพูชา และพระเชษฐาต่างพระมารดากับ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์

สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส

มเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส (พ.ศ. 2415 - พ.ศ. 2488) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์กับเจ้าจอมมารดาเอี่ยม และเป็นพระราชบิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 5 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา พระองค์ประสูติในปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารส

สมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม

ีย ซีม จอมพล สมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม ศูนย์อินโดจีนศึกษา วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 23 ธันวาคม 2552 (សម្តេច​អគ្គមហាធម្មពោធិសាល ជា ស៊ីម สมฺเตจ​อคฺคมหาธมฺมโพธิสาล ชา สีม; 15 พฤศจิกายน ค.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีม

สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

อมพล สมเด็จอัคคมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน (សម្តេចអគ្គមហាសេនាបតីតេជោ ហ៊ុន សែន สมฺเตจอคฺคมหาเสนาบตีเตโช หุน แสน ออกเสียง ฮุน แซน, 4 เมษายน พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน

สวลี ผกาพันธุ์

วลี ผกาพันธุ์ มีชื่อจริงว่า เชอร์รี่ เศวตนันทน์ (สกุลเดิม: ฮอฟแมนน์; 6 สิงหาคม พ.ศ. 2474 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุง และนักแสดงชาวไทย สวลีมีผลงานบันทึกเสียงประมาณ 1,500 เพลง และเธอได้รับการยกย่องเป็นปูชนียบุคคลของวงการเพลงลูกกรุง สวลีถือเป็นนักแสดงรุ่นบุกเบิกของวงการภาพยนตร์ไทยยุคฟิล์ม 16 มิลลิเมตร มีผลงานแสดงสร้างชื่อจากภาพยนตร์เรื่อง ดรรชนีนาง รับบทเป็น "ดรรชนี" และเป็นนักแสดงคนแรกที่รับบทเป็น "พจมาน สว่างวงศ์" จากละครเวทีเรื่อง บ้านทรายทอง สวลีเป็นนักร้องสตรีรางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทานมากที่สุดถึง 4 ครั้ง และรับรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง)..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสวลี ผกาพันธุ์

สังคมราษฎรนิยม

ระนโรดม สีหนุ ผู้นำพรรคสังคมระหว่างพ.ศ. 2498– 2513 สังคมราษฎรนิยม (សង្គមរាស្ត្រនិយម สงฺคมราสฺตฺรนิยม; Sangkum Reastr Niyum; People's Socialist Community) เป็นพรรคการเมืองในกัมพูชา มีชื่อเรียกอย่างสั้น ๆ ว่า สังคม ก่อตั้งเมื่อ..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสังคมราษฎรนิยม

สาธารณรัฐเขมร

รณรัฐเขมร (Khmer Republic; République Khmère) เป็นรัฐบาลของประเทศกัมพูชาที่ปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 9 ตุลาคม..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสาธารณรัฐเขมร

สีสุวัตถิ์ สิริมตะ

นักองค์ราชวงศ์ (หม่อมราชวงศ์) สีสุวัตถิ์ สิริมตะ (អ្នកឣង្គរាជវង្ស ស៊ីសុវត្ថិ សិរិមតះ; Sisowath Sirik Matak; 22 มกราคม พ.ศ. 2457 — 21 เมษายน พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและสีสุวัตถิ์ สิริมตะ

หม่อมมะนีวัน พานีวง

หม่อมมะนีวัน พานีวง (Mam Manivan Phanivong) หรือ หม่อมมณีวรรณ พรรณีวรมัน พระมเหสีชาวลาวในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ หม่อมมะนีวันประสูติเมื่อ ค.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและหม่อมมะนีวัน พานีวง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ (26 มกราคม พ.ศ. 2473 - 16 เมษายน พ.ศ. 2556) นักเขียนนวนิยาย เรื่องสั้น และสารคดีเกี่ยวชีวิตเจ้านายในวัง เจ้าของนามปากกา "ศรีฟ้า ลดาวัลย์" "สีฟ้า" และ "จุลลดา ภักดีภูมินทร์" ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ

หีบเพลงชัก

หีบเพลงชักแบบลิ่มนิ้ว หีบเพลงชัก หรือ แอกคอร์เดียน (accordion) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง มีลักษณะอัดลมมีรูใช้นิ้วปิดเปิดให้เป็นเสียงเพลง บางชนิดมีลิ่มนิ้วให้เล่นง่ายขึ้น หมวดหมู่:เครื่องลิ่มนิ้ว หมวดหมู่:เครื่องลมไม้.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและหีบเพลงชัก

อักษรเขมร

ตัวอย่างอักษรเขมรสองแบบ อักษรเขมร (អក្សរខ្មែរ)​ ​คือรูปอักษรที่ดัดแปลงมาจากอักษรหลังปัลลวะ (ราว พ.ศ. 1200-1400) ซึ่งเป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรปัลลวะ (ราว พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและอักษรเขมร

อินโดจีนของฝรั่งเศส

อินโดจีนของฝรั่งเศส (Indochine française, French Indochina) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สหภาพอินโดจีน (Union Indochinoise) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและอินโดจีนของฝรั่งเศส

จังหวัดพระวิหาร

ระวิหาร หรือ เปรียะวิเฮีย (ព្រះវិហារ) เป็นจังหวัดสำคัญทางภาดเหนือของประเทศกัมพูชา มีชายแดนติดกับประเทศไทยทางด้านจังหวัดศรีสะเกษ มีเมืองพนมตะแบงมีชัยเป็นเมืองหลักของจังหวัด จังหวัดนี้เป็นที่ตั้งของปราสาทพระวิหารซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชาที่มีปัญหาเรื่องพื้นที่ทับซ้อน และได้เกิดกรณีพิพาทเรื่องปราสาทหินนี้จนต้องมีการตัดสินในศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ เมื่อ พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและจังหวัดพระวิหาร

จังหวัดศรีสะเกษ

รีสะเกษ เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ลักษณะภูมิประเทศทางตอนใต้เป็นที่สูง และค่อย ๆ ลาดต่ำไปทางเหนือลงสู่ลุ่มแม่น้ำมูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของจังหวัด ปัจจุบันมีเนื้อที่ 8,840 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยอำเภอ 22 อำเภอ มีประชากรราว 1.47 ล้านคน ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว (สำเนียงลาวใต้ซึ้งใช้ครอบคลุมทั้งฝั่งอุบลราชธานีและจำปาศักดิ์), ภาษากูย, ภาษาเยอ และภาษาเขมรถิ่นไทย ส่วนใหญ่เป็นพุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิมกรมศิลปากร.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและจังหวัดศรีสะเกษ

จังหวัดเกาะกง

กาะกง (កោះកុង) เดิมไทยเรียก ปัจจันตคิรีเขตรรุ่งมณี เมฆโสภณ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและจังหวัดเกาะกง

ความดันโลหิตสูง

รคความดันโลหิตสูง (hypertension) เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่ผู้ป่วยมีความดันเลือดในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา ความดันเลือดประกอบด้วยสองค่า ได้แก่ ความดันช่วงหัวใจบีบและความดันช่วงหัวใจคลาย ซึ่งเป็นความดันสูงสุดและต่ำสุดในระบบหลอดเลือดแดงตามลำดับ ความดันช่วงหัวใจบีบเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวมากที่สุด ความดันช่วงหัวใจคลายเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวมากที่สุดก่อนการบีบตัวครั้งถัดไป ความดันเลือดปกติขณะพักอยู่ในช่วง 100–140 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจบีบ และ 60–90 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจคลาย ความดันโลหิตสูงหมายถึง ความดันเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอทตลอดเวลา ส่วนในเด็กจะใช้ตัวเลขต่างไป ปกติความดันโลหิตสูงไม่ก่อให้เกิดอาการในทีแรก แต่ความดันโลหิตสูงต่อเนื่องเมื่อผ่านไปเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคหัวใจเหตุความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ท่อเลือดแดงโป่งพอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และโรคไตเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ (ไม่ทราบสาเหตุ) และความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ราวร้อยละ 90–95 จัดเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ หมายถึงมีความดันโลหิตสูงโดยไม่มีเหตุพื้นเดิมชัดเจน ที่เหลืออีกร้อยละ 5–10 จัดเป็นความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิมักมีสาเหตุที่สามารถบอกได้ เช่น โรคไตเรื้อรัง ท่อเลือดแดงหรือหลอดเลือดแดงไตตีบแคบ หรือโรคของต่อมไร้ท่อ เช่น แอลโดสเตอโรน คอร์ติซอลหรือแคทิโคลามีนเกิน อาหารและการเปลี่ยนวิถีชีวิตสามารถช่วยควบคุมความดันเลือดและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนต่อสุขภาพ แม้การรักษาด้วยยายังมักจำเป็นในผู้ที่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตยังไม่พอหรือไม่ได้ผล การรักษาความดันในหลอดเลือดแดงสูงปานกลาง (นิยามเป็น >160/100 มิลลิเมตรปรอท) ด้วยยาสัมพันธ์กับการคาดหมายคงชีพที่เพิ่มขึ้น ประโยชน์ของการรักษาความดันเลือดระหว่าง 140/90 ถึง 160/100 มิลลิเมตรปรอทไม่ค่อยชัดเจน บางบทปริทัศน์ว่าไม่มีประโยชน์ แต่บ้างก็ว่ามี.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและความดันโลหิตสูง

ปก พอลกุณ

ปก พอลกุณ หรือปก กุณ (Poc Khun) หรือพระพิเศษพานิช หรือวิบูล ปกมนตรี เป็นชาวกัมพูชาที่มีบทบาทโดดเด่นในการจัดตั้งขบวนการเขมรอิสระเพื่อต่อต้านการปกครองกัมพูชาของฝรั่งเศส และมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับไท.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและปก พอลกุณ

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและประเทศกัมพูชา

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและประเทศจีน

ประเทศเวียดนามใต้

รณรัฐเวียดนาม เป็นรัฐที่ปกครองบริเวณตอนใต้ของเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2498 ถึง พ.ศ. 2518 ซึ่งต่างชาติโดยเฉพาะรัฐประชาธิปไตยและชาติต่อต้านคอมมิวนิสต์นิยมเรียกในชื่อว่า เวียดนามใต้ คำเรียก เวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ ถูกใช้อย่างแพร่หลายในปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและประเทศเวียดนามใต้

ปราสาทพระวิหาร

ปราสาทพระวิหาร (ប្រាសាទព្រះវិហារ บฺราสาทพฺระวิหาร; Temple of Preah Vihear) เป็นปราสาทหินตามแบบศาสนาฮินดูที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก (ភ្នំដងរែក ภฺนํฎงแรก; "ภูเขาไม้คาน") สูงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม เขาพระวิหาร (ភ្នំព្រះវិហារ ภฺนํพฺระวิหาร) อยู่ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเคยเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทที่สะดวกที่สุด ปราสาทพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสาทขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวปราสาทเป็นเวลานานแล้ว ใน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและปราสาทพระวิหาร

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและปักกิ่ง

นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย

ร้อยตำรวจเอก นิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย เดิมชื่อ นิติภูมิ นวรัตน์ (ชื่อเล่น: หมู; 5 มิถุนายน พ.ศ. 2503 —) เกิดที่ บ้านดงกลาง ตำบลเขาสมิง อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด แต่มาเติบโตที่บ้านซึ้งล่าง ตำบลวันยาว อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี บิดาชื่อ มิ่ง อยู่พร้อม มารดาชื่อ เชื้อน อยู่พร้อม (สกุลเดิมกลิ่นอยู่ มีเชื้อสายสกุลชัชวาลย์, พูลเกษม และเจริญลาภ) มีเชื้อสายฝ่ายแม่เป็นคนจีนแซ่ลี้ และบรรพบุรุษบางสายมาจากอินเดีย เขานับถือศาสนาพุทธ จบการศึกษาระดับปริญญาเอกทางประวัติศาสตร์ จากสถาบันเอเชียและแอฟริกาศึกษา มหาวิทยาลัยมอสโก อดีตสหภาพโซเวียต เดิมนามสกุล อยู่พร้อม แต่เปลี่ยนมาใช้นามสกุลของบิดาบุญธรรมคือ หม่อมราชวงศ์เชาวน์ นวรัตน์ และเมื่อวันจันทร์ที่ 12 กันยายน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและนิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัย

นิโคไล เชาเชสกู

นิโคไล เชาเชสกู (อังกฤษ - Nicolae Ceausescu; โรมาเนีย: Nicolae Ceauşescu) (26 มกราคม พ.ศ. 2462 - 25 ธันวาคมพ.ศ. 2532) เขาเป็นชาวโรเมเนีย (ชาวโรมาเนีย) และนักการเมืองในสายคอมมิวนิสต์ เขาเป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์โรเมเนียในช่วงปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและนิโคไล เชาเชสกู

นครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์ (Thành phố Hồ Chí Minh, ถั่ญโฟ้โห่จี๊มิญ) หรือชื่อเดิม ไซ่ง่อน (Sài Gòn ส่ายก่อน) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง นครโฮจิมินห์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จากประชากรร้อยละ 7.5 ของประเทศ แต่มีจีดีพีถึงร้อยละ 20.2 และการลงทุนจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 34.9 ของทั้งประเท.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและนครโฮจิมินห์

นโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวี

นโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวี (พ.ศ. 2419 - พ.ศ. 2455) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ อภิเษกสมรสในปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและนโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวี

นโรดม นรินทเดช

ระองค์เจ้านโรดม นรินทเดช (Norodom Norindeth) เป็นเชื้อพระวงศ์ในสายสกุลนโรดมของกัมพูชา และเป็นนักการเมืองระหว่าง..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและนโรดม นรินทเดช

แยม ซัมโบร์

แยม ซัมโบร์ (យ៉ែម សំបូរ แยม สํบูร) เป็นนักการเมืองชาวกัมพูชาและเป็นนายกรัฐมนตรีในช่วง..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและแยม ซัมโบร์

แซกโซโฟน

รอบครัวแซกโซโฟน (เรียงลำดับใหญ่-เล็ก) คอนทร่าเบสแซกฯ, เบสแซกฯ, บาริโทนแซกฯ, เทนเนอร์แซกฯ, C เทนเนอร์แซก, อัลโต้แซกฯ, F อัลโต้แซก, โซปราโน่แซกฯ, C โซปราโน่แซกฯ และโซปรานิโน่แซกฯ อัลโต้ แซกโซโฟน (ยามาฮ่า รุ่น YAS-275 MK1) แซกโซโฟน (saxophone) เป็นเครื่องดนตรีในตระกูลเครื่องลมไม้ ใช้ลิ้นเดี่ยวเหมือนของคลาริเนต แม้ว่าตัวเครื่องมักจะทำด้วยโลหะแต่สุ้มเสียงก็กระเดียดมาทางเครื่องลมไม้ แซกโซโฟนจึงได้รับฉายาว่า "คลาริเนตทองเหลือง" (brass clarinet) โดยมากจะใช้ในวงโยธวาทิต วงดนตรีลูกทุ่ง จนถึงวงออเคสตรา และแตรวง แบร์ลิออซได้กล่าวว่าเสียงของแซกโซโฟนคือการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่าง ซอเชลโล ปี่คอร์อังแกลส์และปี่คลาริเนท แซกโซโฟนจะเล่นกระซิบกระซาบ อ่อนหวานนุ่มนวล หรือจะแผดให้แสบโสตประสาทก็ทำได้ จึงเหมาะสำหรับใช้เป็นเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการแสดงอย่างมาก CR:"NiCEkUNG.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและแซกโซโฟน

แปน นุต

มเด็จแปน นุต (1 เมษายน ค.ศ. 1906 - 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1985) เป็นนักการเมืองชาวกัมพูชา เขาเป็นนายกรัฐรัฐมนตรี และมีส่วนร่วมในทางการเมืองของกัมพูชา ในช่วงกัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส,เป็นนายกรัฐมนตรีประเทศกัมพูชาหลายครั้ง (1953, 1954-1955, 1958, 1961) ในสังกัดพรรคสังคมราษฎร์นิยม ในระบอบการปกครองราชาธิปไตยของ พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ เป็นนายกรัฐมนตรีถึง 6 สมัย ตั้งแต่วันที่ 31 มกราคม..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและแปน นุต

โพธิ์ เพรือง

รือง(ផូ ព្រឿង;; 18 สิงหาคม พ.ศ. 2446 – พ.ศ. 2518) เป็นนายกรัฐมนตรีกัมพูชา ตั้งแต่ 25 ตุลาคม..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและโพธิ์ เพรือง

เบาหวาน

รคเบาหวาน (Diabetes mellitus (DM) หรือทั่วไปว่า Diabetes) เป็นกลุ่มโรคเกี่ยวกับการเผาผลาญอาหารซึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน น้ำตาลในเลือดสูงก่อให้เกิดอาการปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำและความหิวเพิ่มขึ้น หากไม่ได้รับการรักษา เบาหวานอาจก่อให้เกิดอาการแทรกซ้อนจำนวนมาก ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน ได้แก่ ภาวะเลือดเป็นกรดจากคีโตนจากเบาหวาน (diabetic ketoacidosis) และโคม่าเนื่องจากออสโมลาร์สูงที่ไม่ได้เกิดจากคีโตน (nonketotic hyperosmolar coma) ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวที่ร้ายแรงรวมถึงโรคหัวใจ, โรคหลอดเลือดสมอง, ไตวาย, แผลที่เท้าและความเสียหายต่อตา เบาหวานเกิดจากตับอ่อนผลิตอินซูลินไม่เพียงพอหรือเซลล์ร่างกายไม่ตอบสนองอย่างเหมาะสมต่ออินซูลินที่ผลิตอย่างใดอย่างหนึ่ง น้ำตาลที่ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายจะถูกนำไปเปลี่ยนเป็นพลังงานโดยการควบคุมของอินซูลิน ในเมื่ออินซูลินมีปัญหา ทำให้ไม่สามารถดึงน้ำตาลไปใช้ได้ จึงมีน้ำตาลตกค้างในกระแสเลือดมาก ไตจึงขับของเสียออกมาทางปัสสาวะ อันเป็นเหตุให้ปัสสาวะหวานนั้นเอง เบาหวานมีสามชนิดหลัก ได้แก.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเบาหวาน

เจง เฮง

ง เฮง (Cheng Heng) เป็นนักการเมืองชาวกัมพูชาเกิดเมื่อ..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเจง เฮง

เขมรอิสระ

งของเขมรอิสระฝ่ายซ้ายที่นิยมเวียดมิญจะมีปราสาทนครวัดห้ายอด ธงนี้ต่อมาใช้เป็นธงของแนวร่วมประชาชาติกู้ชาติกัมพูชาที่ร่วมมือกับเวียดนามต่อต้านเขมรแดง และใช้เป็นธงชาติของสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชาMargaret Slocomb, ''The People's Republic of Kampuchea, 1979-1989: The revolution after Pol Pot'' ISBN 9789749575345 เขมรอิสระ (Khmer Issarak; ภาษาเขมร: ខ្មែរឥស្សរៈ) เป็นกลุ่มต่อต้านฝรั่งเศสและกลุ่มชาตินิยมเขมร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเขมรอิสระ

เขียว สัมพัน

ียว สัมพัน ก่อนการพิจารณาคดีที่ศาลพิเศษคดีอาชญากรสงคราม กรุงพนมเปญ ในปี 2009 เขียว สัมพัน (ខៀវ សំផន เขียว สํผน; เกิด 27 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเขียว สัมพัน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ล้านช้างร่มขาว

รื่องราชอิสริยาภรณ์ล้านช้างร่มขาว (ອິສະຣິຍາພອນລັານຊັາງຮົ່ມຂາວ อิดสะริยาพอนล้านซ้างฮ่มขาว, Order of the Million Elephants and the White Parasol, L'Ordre royal du Million d’Éléphants et du Parasol blanc) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดแห่งราชอาณาจักรลาว.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ล้านช้างร่มขาว

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ (อังกฤษ: Supreme Order of the Chrysanthemum) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสุงสุดของญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ

เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรีย

รื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรีย (Ehrenzeichen für Verdienste um die Republik Österreich, Decoration of Honour for Services to the Republic of Austria หรือ Order of Merit of the Austrian Republic) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชาติของสาธารณรัฐออสเตรีย ถือเป็นเครื่องอิสริยภรณ์ที่มีลำดับเกียรติสูงสุดของประเท.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรีย

เครื่องอิสริยาภรณ์ดาราแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

รื่องอิสริยาภรณ์ดาราแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Bintang Republik Indonesia บินตัง เรปูบลิค อินโดเนเซีย, Order of the Star of the Republic of Indonesia, อักษรย่อ: BRI) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดของประเทศอินโดนีเซีย ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซียเป็นประธานแห่งเครื่องอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ โดยมอบให้แก่ผู้ปฏิบติหน้าที่อย่างโดดเด่นเป็นพิเศษเพื่อความไพบูลย์ ความรุ่งเรือง และความยิ่งใหญ่ของประเทศชาติ มีทั้งหมด 5 ลำดับชั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเครื่องอิสริยาภรณ์ดาราแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย

เครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสาธารณรัฐอิตาลี

รื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสาธารณรัฐอิตาลี (Ordine al merito della Repubblica Italiana, Order of Merit of the Italian Republic) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ประเทศอิตาลี สถาปนาเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2494 โดย Luigi Einaudi ประธานาธิบดีอิตาลีเป็นประธานเครื่องอิสริยาภรณ์และเป็นผู้มอบเครื่องอิสริยาภรณ์ให้กับข้าราชการทหาร ข้าราชการพลเรือน ประชาชนชาวอิตาลีและชาวต่างชาต.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสาธารณรัฐอิตาลี

เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์

รื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ (Ordre National de la Légion D'honneur,; National Order of the Legion of Honour) เป็น "เครื่องอิสริยาภรณ์สำหรับคณะอัศวิน" (Ordres de chevalerie; Chivalric order) ชั้นสูงสุดแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส สถาปนาขึ้นโดย นโปเลียน โบนาปาร์ต กงสุลเอกแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2345 มีห้าชั้น ได้แก่ ประถมาภรณ์ ทุติยาภรณ์ ตริตาภรณ์ จตุรถาภรณ์ และเบญจมาภรณ์ ตามอันดับ ปัจจุบัน มีประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเป็นประธาน และรักษาไว้ที่ "ตำหนักเลฌียงดอเนอร์" (Palais de la Légion D'honneur) ริมฝั่งซ้ายน้ำแซน ณ กรุงปารีส ทั้งนี้ คำว่า "เลฌียงดอเนอร์" มีความหมายว่า "กองพลเกียรติยศ" และคติพจน์แห่งเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ คือ "เกียรติยศและปิตุภูมิ" (Honneur et Patrie; Honour and Fatherland).

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์

เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ มีอักษรย่อว่า ม..ก. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑, ตอน ๑๔, ๓๐ มิถุนายน..

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

เซิน หง็อก ถั่ญ

ซิน หง็อก ถั่ญ (Sơn Ngọc Thành; សឺង ង៉ុកថាញ់) เป็นนักการเมืองชาตินิยมและนิยมสาธารณรัฐในกัมพูชา มีประวัติการต่อสู้ที่ยาวนานในฐานะกบฏผู้ต่อต้านรัฐบาลและได้เป็นนายกรัฐมนตรีในเวลาสั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเซิน หง็อก ถั่ญ

เปียโน

ปียโน (ย่อมาจาก เปียโนฟอร์เต) เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงโดยการกดลิ่มนิ้ว (คีย์บอร์ด) มักใช้นิยมบรรเลงเพลงแนว คลาสสิก และ แจ๊ส แม้ว่าเปียโนจะมีขนาดใหญ่และหนักทำให้ไม่สามารถพกพาได้ และมีราคาค่อนข้างแพง แต่เปียโนก็เป็นเครื่องดนตรีที่ได้เปรียบเครื่องดนตรีมากมาย เสียงของเปียโนสามารถเข้ากับเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด ดังนั้นเปียโนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแบบบรรเลงเดี่ยว, แชมเบอร์, คลอเสียง หรือแม้กระทั่งร่วมกับวง ออร์เคสตรา ฝาครอบและแผ่นครอบของเปียโนอะคูสติกจะทำมาจากไม้ ในขณะที่กระดานเสียง (soundboard) จะถูกทำจากเหล็กกล้า และขึงด้วยสายโลหะ ลิ่มนิ้วของเปียโนมาตรฐานมีอยู่ทั้งหมด 88 คีย์ (คีย์ขาว 52, คีย์ดำ 36) ช่วงคีย์ปกติจะมีสายโลหะอยู่ 3 เส้นในหนึ่งคีย์ และคีย์เบสจะมีสายโลหะเส้นใหญ่อยู่ 1–2 เส้นในหนึ่งคีย์ เมื่อกดคีย์ จะเกิดเป็นเสียงโน้ตดนตรีที่มีความถี่การสั่นพ้องแตกต่างกันออกไป และเมื่อปล่อยคีย์ เสียงก็จะถูกตัด หากต้องการให้เสียงกังวานและลากยาวก็สามารถทำให้ โดยการเหยียบเพดัลขวา (คันเหยียบ) ที่อยู่บริเวณด้านล่างของเปียโนค้างไว้ กลไกการเกิดเสียงในเปียโนอะคูสติกนั้น เริ่มจากแรงจากการกดคีย์จะถูกส่งผ่านโดยกลไกที่ซับซ้อนไปยังหัวค้อน และหัวค้อนจะตีกระทบกับสายโลหะที่ขึงอยู่บนกระดานเสียงเกิดเป็นเสียงดนตรี ในระหว่างที่คีย์ถูกกดอยู่นั้น กลไกที่เรียกว่า แดมเปอร์ (damper) ของแต่ละคีย์ ซึ่งเดิมจะคอยดันสายโลหะไว้จะถูกยกออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องได้ เมื่อใดก็ตามที่ปล่อยคีย์ แดมเปอร์จะกลับมาดันสายโลหะ ทำให้เสียงถูกตัดไป ดังนั้นการเหยียบเพดัลขวา จะเป็นการยกเพดัลของทุกคีย์ออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องและกังวานมากขึ้นซึ่งทำให้เพลงมีความไพเราะ อย่างไรก็ตาม การเหยียบเพดัลขวาแช่ไว้ จะทำให้เสียงโน้ตดนตรีกังวานจนตีกับโน้ตดนตรีที่ตามมาทีหลัง ดังนั้นผู้บรรเลงจึงต้องทำการยกเท้าจากเพดัลเป็นจังหวะ ๆ เพื่อเป็นการตัดโน้ตดนตรีไม่ให้ข้ามห้องหรือตีกัน คำว่า เปียโน นั้น เป็นคำย่อจากคำว่า เปียโนฟอร์เต, ซึ่งเป็นภาษาอิตาลี ซึ่งเป็นการประสมคำระหว่างคำว่า เปียโน ที่แปลว่า "นุ่มนวล" กับ ฟอร์เต ที่แปลว่า "แข็งแกร่ง" ซึ่งมีที่มาจากการที่เป็ยโนนั้นมีคุณภาพเสียงที่หลากหลาย คีย์เบสที่ให้เสียงกังวานและทรงพลัง คีย์ปกติที่ให้เสียงนุ่มนวล และคีย์สูงที่ให้เสียงเล็กแหลม.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและเปียโน

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ1 กุมภาพันธ์

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ10 สิงหาคม

15 ตุลาคม

วันที่ 15 ตุลาคม เป็นวันที่ 288 ของปี (วันที่ 289 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 77 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ15 ตุลาคม

17 กุมภาพันธ์

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ17 กุมภาพันธ์

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ18 มิถุนายน

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ18 มีนาคม

19 เมษายน

วันที่ 19 เมษายน เป็นวันที่ 109 ของปี (วันที่ 110 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 256 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ19 เมษายน

2 กันยายน

วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ2 กันยายน

20 พฤษภาคม

วันที่ 20 พฤษภาคม เป็นวันที่ 140 ของปี (วันที่ 141 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 225 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ20 พฤษภาคม

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ23 ตุลาคม

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ24 กันยายน

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ26 มกราคม

28 พฤศจิกายน

วันที่ 28 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 332 ของปี (วันที่ 333 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 33 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ28 พฤศจิกายน

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ29 กันยายน

31 ตุลาคม

วันที่ 31 ตุลาคม เป็นวันที่ 304 ของปี (วันที่ 305 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 61 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ31 ตุลาคม

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ4 กุมภาพันธ์

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ4 มีนาคม

5 กุมภาพันธ์

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 36 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 329 วันในปีนั้น (330 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ5 กุมภาพันธ์

5 มิถุนายน

วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ5 มิถุนายน

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ5 ธันวาคม

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ6 ตุลาคม

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ6 เมษายน

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ7 ตุลาคม

9

9 (เก้า) เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 8 และอยู่ก่อนหน้า 10.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ9

9 มีนาคม

วันที่ 9 มีนาคม เป็นวันที่ 68 ของปี (วันที่ 69 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 297 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุและ9 มีนาคม

ดูเพิ่มเติม

นักดนตรีชาวกัมพูชา

นายกรัฐมนตรีกัมพูชา

ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา

ผู้ก่อตั้งพรรคการเมือง

พุทธศาสนิกชนชาวกัมพูชา

ราชสกุลนโรดม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Norodom Sihanoukสมเด็จนโรดม สีหนุสมเด็จเจ้านโรดมสีหนุสีหนุพระกรุณา พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหนุ พระมหาวีรกษัตริย์พระบาทสมเด็จพระ นโรดม สีหนุพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหนุพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหนุพระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดมสีหนุนโรดม สีหนุเจ้าสีหนุเจ้านโรดม สีหนุเจ้านโรดมสีหนุ

พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤตพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนาพระมหาวีรกษัตรีย์นโรดม มุนีนาถ สีหนุ พระวรราชมารดาพระองค์เจ้านโรดม พงางามพระองค์เจ้านโรดม มารี รณฤทธิ์พระองค์เจ้านโรดม วิชราพระองค์เจ้านโรดม ปทุมบุปผาพระตะบองพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพนมเปญกันยายนภาษาฝรั่งเศสภาษาละตินภาษาอังกฤษภาษาไทยภาษาเขมรยิ่งลักษณ์ ชินวัตรราชสกุลนโรดมรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชารายนามประมุขแห่งรัฐกัมพูชารายนามนายกรัฐมนตรีกัมพูชาลอน นอลศาลยุติธรรมระหว่างประเทศสมเด็จพระบรมเรียมนโรดม ยุวนาถสมเด็จพระมเหศวรนโรดม จักรพงศ์สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดีสมเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระนโรดม นรินทรพงษ์สมเด็จพระเรียมนโรดม บุปผาเทวีสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศสมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์สมเด็จกรมพระนโรดม สุทธารสสมเด็จอัครมหาธรรมโพธิศาล เจีย ซีมสมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซนสวลี ผกาพันธุ์สังคมราษฎรนิยมสาธารณรัฐเขมรสีสุวัตถิ์ สิริมตะหม่อมมะนีวัน พานีวงหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณหีบเพลงชักอักษรเขมรอินโดจีนของฝรั่งเศสจังหวัดพระวิหารจังหวัดศรีสะเกษจังหวัดเกาะกงความดันโลหิตสูงปก พอลกุณประเทศกัมพูชาประเทศจีนประเทศเวียดนามใต้ปราสาทพระวิหารปักกิ่งนิติภูมิธณัฐ มิ่งรุจิราลัยนิโคไล เชาเชสกูนครโฮจิมินห์นโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวีนโรดม นรินทเดชแยม ซัมโบร์แซกโซโฟนแปน นุตโพธิ์ เพรืองเบาหวานเจง เฮงเขมรอิสระเขียว สัมพันเครื่องราชอิสริยาภรณ์ล้านช้างร่มขาวเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศเครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรียเครื่องอิสริยาภรณ์ดาราแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซียเครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสาธารณรัฐอิตาลีเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์เซิน หง็อก ถั่ญเปียโน1 กุมภาพันธ์10 สิงหาคม15 ตุลาคม17 กุมภาพันธ์18 มิถุนายน18 มีนาคม19 เมษายน2 กันยายน20 พฤษภาคม23 ตุลาคม24 กันยายน26 มกราคม28 พฤศจิกายน29 กันยายน31 ตุลาคม4 กุมภาพันธ์4 มีนาคม5 กุมภาพันธ์5 มิถุนายน5 ธันวาคม6 ตุลาคม6 เมษายน7 ตุลาคม99 มีนาคม