โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระนางซินซ็องและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระนางซินซ็องและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ

พระนางซินซ็อง vs. พระเจ้าแทโจแห่งโครยอ

สมเด็จพระจักรพรรดินีซินซอง ตระกูลคิมแห่งคย็องจู (Queen Shinseong Gyeongju of Kim Clan) พระมเหสีองค์ที่ 5 ใน พระเจ้าแทโจ ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์โครยอ เป็นพระมารดาของ องค์ชายวังอุก พระราชโอรสองค์ที่ 13 และเป็นพระอัยยิกาของ พระเจ้าฮย็อนจง พระราชาลำดับที่ 8 พระราชินีซินซองประสูติที่ คย็องจู ในตระกูลคิมแห่งคย็องจูอันเป็นตระกูลของอดีตพระราชาแห่ง ชิลลา ทำให้พระองค์มีพระอิสริยยศเป็นองค์หญิงแห่งชิลลาเมื่อชิลลาล่มสลายพระองค์ได้อภิเษกกับพระเจ้าแทโจและมีพระโอรสพระองค์เดียวคือ องค์ชายวังอุก หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โครยอ หมวดหมู่:ราชินีแห่งเกาหลี. ระราชสุสานหลวงของพระเจ้าแทโจใกล้เมืองแกซอง ประเทศเกาหลีเหนือ (현릉, 顯陵) พระเจ้าแทโจแห่งโครยอ (ค.ศ. 877 - ค.ศ. 943) ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โครยอ ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลี มีเดิมพระนามว่า วังกอน ประสูติในตระกูลพ่อค้าในเมืองซองโดที่ร่ำรวยจากการค้ากับจีนและเข้ารับราชการเป็นผู้นำทหารในอาณาจักรฮูโกกูรยอ (โกกูรยอใหม่) ขององค์ชายคุงฮเย จนได้รับความไว้วางใจจากคุงเยจนได้รับแต่งตั้งเป็นอัครเสนาบดี ใน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระนางซินซ็องและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ

พระนางซินซ็องและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชิลลาพระเจ้าอันจงแห่งโครยอพระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอพระเจ้าแทโจแห่งโครยอราชวงศ์โครยอแคซ็อง

ชิลลา

อาณาจักรชิลลา (신라; ฮันจา: 新羅, 57 ปีก่อนคริสต์ศักราช — ค.ศ. 935) เป็นหนึ่งในอาณาจักรยุคสามก๊กแห่งเกาหลีสถาปนาโดยพระเจ้าฮย็อกกอเซเมื่อ 57 ปีก่อนคริสตกาล (พ.ศ. 486) ซึ่งอาณาจักรชิลลาเกิดจากการรวมตัวกันของอาณาจักรจินฮันกับชนเผ่าต่าง ๆ ทำให้อาณาจักรเติบโตขึ้นแล้วเปลี่ยนชื่อเป็นอาณาจักรชิลลา อาณาจักรชิลลาต้องทำสงครามกับอีก 3 อาณาจักรใหญ่คืออาณาจักรโคกูรยอ อาณาจักรแพ็กเจ และอาณาจักรคายา อยู่นานกว่า 500—600 ปีก่อนที่พระเจ้ามุนมูกษัตริย์องค์ที่ 30 แห่งอาณาจักรชิลลาซึ่งครองราชย์ระหว่าง..

ชิลลาและพระนางซินซ็อง · ชิลลาและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอันจงแห่งโครยอ

ระเจ้าอันจงแห่งโครยอ (Anjong of Goryeo, ? — 7 กรกฎาคม ค.ศ. 996) มีพระนามเดิมว่า องค์ชายวังอุก เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 13 ในพระเจ้าแทโจ ที่ประสูติแต่พระราชินีซินซอง จากตระกูลคิมแห่งคยองจูซึ่งพระนางซินซองเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ชิลลาทำให้องค์ชายวังอุกมีเชื้อสายของราชวงศ์ชิลลา พระนามขององค์ชายวังอุกนั้นพ้องเสียงกับพระเชษฐาต่างพระมารดาพระองค์หนึ่งคือ องค์ชายวังอุก พระโอรสองค์ที่ 8 ในพระเจ้าแทโจที่ประสูติแต่ พระนางชินมย็องซุนซ็อง เพียงแต่เขียนไม่เหมือนกันทำให้องค์ชายวังอุกหรือองค์ชาย 13 มีอีกพระนามหนึ่งว่า แพ็คอา พระองค์ได้อภิเษกกับ สมเด็จพระราชินีฮอนจอง อดีตพระมเหสีใน พระเจ้าคย็องจง พระราชาลำดับที่ 5 และมีพระโอรสเพียงองค์เดียวคือ องค์ชายวังซุน องค์ชายวังอุกสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม..

พระนางซินซ็องและพระเจ้าอันจงแห่งโครยอ · พระเจ้าอันจงแห่งโครยอและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอ

ระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 992 - ค.ศ. 1031) จักรพรรดิองค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1009 - ค.ศ. 1031) พระนามเดิมว่า เจ้าชายวัง ซุน (왕순, 王詢) เป็นพระราชโอรสของพระนางฮอนจอง ตระกูลฮวางโบ แห่งเมืองฮวางจู (헌정왕후 황보씨, 獻貞王后) อดีตองค์ราชินีของพระเจ้าคยองจง กับพระราชสวามีใหม่ของพระนางคือเจ้าชายวัง อุก แห่งเมืองคยองจู (왕욱, 王郁) ภายหลังเจ้าชายวังซุนได้รับอิสริยยศเป็น องค์ชายแทยาง (대량원군, 大良院君) เล่าว่าครั้งทรงพระครรภ์พระนางฮอนจองมีนิมิตว่าพระองค์ได้ขึ้นไปบนยอดเขาสูง แล้วเห็นคลื่นสาดซัดไล่ลงมาจากเขา และคลื่นน้ำนั้นได้กลายเป็นทะเลสีเงินแทน จากบันทึกในยุคสามอาณาจักรเล่าว่า พระราชินีมุนมยอง พระมเหสีของพระเจ้ามูยอลแห่งซิลลาก็ทรงนิมิตเช่นเดียวกัน พระนางได้ให้กำเนิดพระเจ้ามุนมูผู้รวบรวมสามอาณาจักร และพระเจ้าฮย็อนจงก็ทรงเป็นกษัตริย์ที่สามารถรวบรวมดินแดนทางเหนือของโครยอกลับคืนมาได้สำเร็จ พระเจ้าฮย็อนจงเมื่อครองราชย์แล้วก็แต่งตั้งพระราชบิดาเจ้าชายวัง อุก เป็น พระเจ้าอานจง (안종, 安宗) พระเจ้าฮย็อนจงนั้นทรงตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขุนนางกลุ่มซิลลาใน..

พระนางซินซ็องและพระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอ · พระเจ้าฮย็อนจงแห่งโครยอและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าแทโจแห่งโครยอ

ระราชสุสานหลวงของพระเจ้าแทโจใกล้เมืองแกซอง ประเทศเกาหลีเหนือ (현릉, 顯陵) พระเจ้าแทโจแห่งโครยอ (ค.ศ. 877 - ค.ศ. 943) ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์โครยอ ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลี มีเดิมพระนามว่า วังกอน ประสูติในตระกูลพ่อค้าในเมืองซองโดที่ร่ำรวยจากการค้ากับจีนและเข้ารับราชการเป็นผู้นำทหารในอาณาจักรฮูโกกูรยอ (โกกูรยอใหม่) ขององค์ชายคุงฮเย จนได้รับความไว้วางใจจากคุงเยจนได้รับแต่งตั้งเป็นอัครเสนาบดี ใน..

พระนางซินซ็องและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ · พระเจ้าแทโจแห่งโครยอและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โครยอ

ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 918 - ค.ศ. 1392) ก่อตั้งใน ค.ศ. 918 และรวบรวมสามแคว้นหลังได้ใน ค.ศ. 936 จนคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยชิลลา จนถูกโค่นล้มโดยลีซองเกใน ค.ศ. 1392 สมัยโครยอเป็นสมัยที่ลัทธิขงจื้อเข้ามาในเกาหลีอย่างเต็มตัว เป็นสมัยที่ทหารปกครองบ้านเมือง และการยึดครองของมองโกลก็ทำให้วัฒนธรรมมองโกลหลั่งไหลเข้าสู่เกาหลี สมัยโครยอเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในเกาหลี มีการพิมพ์พระไตรปิฏกภาษาเกาหลีเป็นฉบับแรก คือ ไตรปิฏก โคเรียนะ เก็บไว้ที่วัดแฮอินซา Map of Goryeo คำว่า "โครยอ" มาจาก "โคกูรยอ" หนึ่งในสามอาณาจักรโบราณของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า "โคเรีย" ในภาษาอังกฤษ (โดยเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "โกเร" ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งนี้ในความหมายของชาวอาหรับ) และ "เกาหลี" ในภาษาจีนกลางและภาษาไท.

พระนางซินซ็องและราชวงศ์โครยอ · พระเจ้าแทโจแห่งโครยอและราชวงศ์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

แคซ็อง

แคซ็อง เดิมมีชื่อว่า ช็องโด เป็นเมืองหลวงเก่าของเกาหลีสมัยราชวงศ์โครยอ ตังแต่รัชกาลพระเจ้าแทโจ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าแทโจแห่งราชวงศ์โชซ็อน ทรงย้ายราชธานีจากแคซ็องไปอยู่ที่ฮันยังหรือฮันซ็อง (กรุงโซลในปัจจุบัน) พอถึงรัชกาลพระเจ้าแทจง โปรดให้ย้ายราชธานีกลับมาที่นี่ แต่พอขึ้นรัชกาลพระเจ้าเซจงมหาราชก็โปรดให้ย้ายราชธานีกลับไปที่ฮันยังจนถึงปัจจุบัน คแคซ็อง คแคซ็อง คแคซ็อง.

พระนางซินซ็องและแคซ็อง · พระเจ้าแทโจแห่งโครยอและแคซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระนางซินซ็องและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ

พระนางซินซ็อง มี 7 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระเจ้าแทโจแห่งโครยอ มี 26 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 18.18% = 6 / (7 + 26)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระนางซินซ็องและพระเจ้าแทโจแห่งโครยอ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »