โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตและหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตและหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต vs. หลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ

หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หรือนามตามสมณศักดิ์ว่า พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต (20 มกราคม พ.ศ. 2413 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นบูรพาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้ปฏิบัติตนตามแนวทางคำสอนพระศาสดาอย่างเคร่งครัด และยึดถือธุดงควัตรด้วยจริยวัตรปฏิปทางดงาม จนได้รับการยกย่องจากผู้ศรัทธาทั้งหลายว่าเป็นพระผู้เลิศทางธุดงควัตร ท่านวางแนวทางในการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนาตามหลักธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาพุทธเจ้าให้แก่สมณะประชาชนอย่างกว้างขวาง จนมีพระสงฆ์และฆราวาสเป็นลูกศิษย์จำนวนมาก แนวคำสอนของท่านเป็นที่รู้จักกันดีในนามว่า คำสอนพระป่า (สายพระอาจารย์มั่น) หลังจากท่านมรณภาพลง ในปี.. หลวงปู่กงมา ท่านเกิดเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443 ณ บ้านโคก ตำบลตองโขบ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร เป็นบุตรคนสุดท้องของนายบู่ และนางนวล วงศ์เครือสอน ซึ่งมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๖ คน มีนามเดิมว่า กงมา วงศ์เครือสอน ในช่วงชีวิตวัยหนุ่ม ท่านมีรูปร่างสัดทัด สูงใหญ่ใบหน้าคมคาย เป็นนักต่อสู้ชีวิตแบบเอางานเอาการ ในสมัยหนึ่ง ท่านได้เป็นนายฮ้อยต้อนวัวควาย หมู เที่ยวขายตามจังหวัดใกล้เคียงกับบ้านเกิด จนต่อมาได้รับหน้าที่เป็นหัวหน้านายฮ้อยพาคณะนายฮ้อยต้อนสัตว์ไปขายถึงกรุงเทพฯ โดยเดินทางด้วยเท้าเปล่า ท่านเป็นคนมีน้ำใจต่อลูกน้อง และอาญหาญช่วยป้องกันอันตรายให้กับลูกน้อง เป็นคนมีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริต และ มีความยุติธรรม ต่อมาในช่วงชีวิตแห่งความสุข บิดามารดาของท่านได้ไปสู่ขอนางเลา และได้จัดพิธีแต่งงานขึ้นในปี พ.ศ. 2468 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (2453 - 2468) จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (2468 - 2477) ขณะมีอายุได้ 25 ปี จนกระทั่งในเวลาต่อมา ภรรยาและลูกในท้องได้เสียชีวิต ทำให้ท่านรู้สึกสูญสิ้น นี่เองเป็นเหตุให้ท่านนึกถึงพระพุทธศาสนา และตัดสินใจออกบวช โดยมีพระอาจารย์โท เป็นพระอุปัชฌาย์ ภายหลังบวชได้ไปจำพรรษาที่วัดบึงทวย กับพระมีซึ่งเป็นเพื่อนรักกัน อยู่วัดนี้ได้ไม่นานด้วยความคิดว่าตนเองไม่ได้สิ่งที่ประสงค์ จึงได้เข้าไปปรึกษากับพระมี ซึ่งเป็นพระที่เคยธุดงค์ไปหลายแห่งในลาว พม่า และไทยมาแล้ว พระมีเคยเล่าให้ฟังว่า เคยได้ยินชาวบ้านพูดถึงพระศีลวัตรปฏิบัติอันงดงามของ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ว่าเป็นผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ จนหลวงปู่กงมาท่านก็เลื่อมใส หลวงปู่กงมาจึงได้ชวนสหายของท่านคือพระภิกษุมีเดินทางไปถวายตัวเป็นศิษย์ของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ และในปี พ.ศ. 2469 ได้รับตัวไว้อยู่จำพรรษากับท่านตั้งแต่นั้นมาใน ปี พ.ศ. 2470 ท่านพระอาจารย์ มั่น ภูริทัตตเถระ ได้ให้ลูกศิษย์ สองรูป คือ หลวงปู่กงมาฯ และท่านพ่อลี ได้ญัตติใหม่เป็นฝ่ายพระธรรมยุตนิกายที่วัดบูรพา อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีโดยมีท่านเจ้าคุณพระปัญญาพิศาลเถร (หนู ฐิตปญโญ) วัดสระปทุม จังหวัดพระนครเป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์เพ็ง วัดใต้ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 หลวงปู่ท่านได้ถือคำสอนของ หลวงปู่มั่น เป็นหลัก เช่น ศีล 11 ประการ และยึดถือแนวปฏิบัติและสอนธรรมเป็นหลัก และสอนให้ลูกศิษย์ ประชาชน ให้รู้ถึงว่าชีวิตนั้นอาจไม่แน่นอน จงทำวันนี้ให้ดีที่สุด และ ยึดถือหลักอริยสัจสี่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค เป็นต้น ท่านได้ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2505.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตและหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตและหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2443พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตจังหวัดสกลนครธรรมยุติกนิกาย

พ.ศ. 2443

ทธศักราช 2443 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1900 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2443และพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต · พ.ศ. 2443และหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต

หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หรือนามตามสมณศักดิ์ว่า พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต (20 มกราคม พ.ศ. 2413 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นบูรพาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้ปฏิบัติตนตามแนวทางคำสอนพระศาสดาอย่างเคร่งครัด และยึดถือธุดงควัตรด้วยจริยวัตรปฏิปทางดงาม จนได้รับการยกย่องจากผู้ศรัทธาทั้งหลายว่าเป็นพระผู้เลิศทางธุดงควัตร ท่านวางแนวทางในการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนาตามหลักธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาพุทธเจ้าให้แก่สมณะประชาชนอย่างกว้างขวาง จนมีพระสงฆ์และฆราวาสเป็นลูกศิษย์จำนวนมาก แนวคำสอนของท่านเป็นที่รู้จักกันดีในนามว่า คำสอนพระป่า (สายพระอาจารย์มั่น) หลังจากท่านมรณภาพลง ในปี..

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตและพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต · พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตและหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสกลนคร

กลนคร หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "เมืองหนองหานหลวง" เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนตั้งอยู่ในแอ่งสกลนคร และเป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 ซึ่งเป็นแหล่งชุมชนตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์สืบเนื่องจวบจนปัจจุบัน ทั้งนี้จังหวัดสกลนครยังเป็นเมืองเก่าแก่ที่มีความสำคัญและหลากหลายในด้านต่างๆโดยเฉพาะทางด้านสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ สังคม การเมือง ศาสนา และวัฒนธรรมทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น และเป็นจังหวัดศูนย์กลางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และศูนย์กลางทางการศึกษา อันเป็นสถานที่ตั้งของสถานศึกษาขนาดใหญ่ใน กลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร).

จังหวัดสกลนครและพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต · จังหวัดสกลนครและหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 มีสาระสำคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ธรรมยุติกนิกาย ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปและฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ให้มีความถูกต้องและเข้มงวดตามพุทธบัญญัติ ให้พระภิกษุสงฆ์มีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง เป็นการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นความพยายามของพระวชิรญาณเถระเพื่อช่วยปฏิรูปการคณะสงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย การก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เถรวาทอื่นซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ได้มีการประชุมและมีมติให้เรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ว่า "มหานิกาย".

ธรรมยุติกนิกายและพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต · ธรรมยุติกนิกายและหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตและหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต มี 77 ความสัมพันธ์ขณะที่ หลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 4.30% = 4 / (77 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตและหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »