โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)และพระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)และพระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)

พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน) vs. พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)

ระครูนิสิตคุณากร(กัน คงฺครตโน) (11 เมษายน พ.ศ. 2435 - 17 ตุลาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่อีกท่านหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ เป็นเจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว, อดีตเจ้าคณะตำบลพยุหะ และเป็น 1 ใน 3 พระเกจิที่มีชื่อเสียงของอำเภอพยุหะคีรี ร่วมกับ หลวงพ่อเทศกับหลวงพ่อเดิม. ระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส) (1 มีนาคม พ.ศ. 2427 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่อีกท่านหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ อดีตเจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว เป็นพระราชาคณะรูปแรกของจังหวัดนครสวรรค์ เป็นเจ้าคณะจังหวัดนครสวรรค์ ที่มีสมณศักดิ์สูงที.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)และพระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)

พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)และพระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส) มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มหานิกายวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหารวัดเขาแก้วสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)อำเภอพยุหะคีรีจังหวัดนครสวรรค์

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ. 2376 แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่เดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนั้น จึงทำให้พระองค์คิดคำเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ซึ่งคำ มหานิกาย นั้น มาจากธาตุศัพท์ภาษาบาลี มหนฺต + นิกาย แปลว่าพวกมาก กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิมในประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิก.

พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)และมหานิกาย · พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)และมหานิกาย · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ชื่อวัดสลัก สร้างในสมัยอยุธยา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี และทรงสร้างพระบรมมหาราชวังเป็นที่ประทับและสร้างพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นที่ประทับสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล นั้น วัดสลักเป็นวัดที่อยู่กึ่งกลางระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดสลักเมื่อ พ.ศ. 2326 พร้อมกับการก่อสร้างพระราชวังบวรสถานมงคล จากนั้นทรงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดสลักเป็นวัดนิพพานาราม เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ใช้วัดนิพพานารามเป็นสถานที่ทำสังคายนาในปี พ.ศ. 2331 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดพระศรีสรรเพชญ” และใน พ.ศ. 2346 พระราชทานนามใหม่ว่าวัดพระศรีรัตนมหาธาตุราชวรมหาวิหาร ตามชื่อวัดในกรุงศรีอยุธยาที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช วัดมหาธาตุเป็นสถานที่ที่ใช้เป็นที่พระราชทานเพลิงพระบุพโพเจ้านายซึ่งดำรงพระเกียรติยศสูง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ใช้พื้นที่ของวัดเป็นที่สร้างเมรุพระราชทานเพลิงพระศพพระบรมวงศ์ชั้นสูง ในปลาย พ.ศ. 2432 โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งบาลีวิทยาลัยที่วัดมหาธาตุ เรียกว่ามหาธาตุวิทยาลัย และย้ายการบอกพระปริยัติธรรมมาจากวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่อมา ใน พ.ศ. 2437 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอาคารถาวรวัตถุ เรียกว่า สังฆิกเสนาสน์ราชวิทยาลัย เพื่อใช้ในงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร หลังจากนั้น จะทรงอุทิศถวายแก่มหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เรียนพระปริยัติธรรมชั้นสูง ซึ่งจะได้พระราชทานนามว่า “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” แต่อาคารหลังนี้มาสร้างเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และงานพระศพสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจัดที่วัดบวรสถานสุทธาวาส ใน พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ในการบูรณะวัดมหาธาตุและพระราชทานนามว่า “วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์”.

พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร · พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)และวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดเขาแก้ว

ป็นวัดประจำตำบลพยุหะคีรี อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ มีพื้นที่บริเวณวัดติดกับเขาแก้ว และเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพยุหะวิทยา (วัดเขาแก้ว).

พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)และวัดเขาแก้ว · พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)และวัดเขาแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม อาจ ดวงมาลา ฉายา อาสโภ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช นอกจากนี้ท่านยังเป็นบุคคลแรกที่นำการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่ (หรือแบบยุบหนอ-พองหนอ) จากพม่ามาเผยแพร่ในประเทศไท.

พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ) · พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสโภ) · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพยุหะคีรี

หะคีรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครสวรร.

พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)และอำเภอพยุหะคีรี · พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)และอำเภอพยุหะคีรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครสวรรค์

ังหวัดนครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างตอนบนของภาคกลาง มีพื้นที่ประมาณ 9,597 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย มีพื้นที่ติดต่อกับหลายจังหวัด ได้แก่ ด้านเหนือ ติดต่อกับจังหวัดพิจิตรและกำแพงเพชร ทางตะวันออกติดกับจังหวัดเพชรบูรณ์และลพบุรี ด้านใต้ติดกับจังหวัดสิงห์บุรี ชัยนาท และอุทัยธานี ส่วนด้านตะวันตกติดกับจังหวัดตาก.

จังหวัดนครสวรรค์และพระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน) · จังหวัดนครสวรรค์และพระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)และพระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส)

พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน) มี 24 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส) มี 13 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 16.22% = 6 / (24 + 13)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พระครูนิสิตคุณากร (กัน คงฺครตโน)และพระธรรมไตรโลกาจารย์ (ยอด อกฺกวํโส) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »