เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พงษ์เทพ กระโดนชำนาญและเดือนเพ็ญ (เพลง)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พงษ์เทพ กระโดนชำนาญและเดือนเพ็ญ (เพลง)

พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ vs. เดือนเพ็ญ (เพลง)

งษ์เทพ กระโดนชำนาญ นักร้อง, นักดนตรีและกวีในแนวเพื่อชีวิต เจ้าของฉายา กวีศรีชาวไร่ เป็นสมาชิกคนหนึ่งของวงดนตรีเพื่อชีวิตคาราวาน ยุคเริ่มต้น รวมทั้งได้หนีเข้าป่าไปพร้อมกับคาราวาน และนักศึกษาในยุค 6 ตุลา พ.ศ. 2519. ลงเดือนเพ็ญ หรือ เพลงคิดถึงบ้าน เขียนเนื้อร้องและทำนองโดย อัศนี พลจันทร (หรือที่รู้จักกันในนามปากกาว่า นายผี หรือ สหายไฟ) หากนับเพลงนี้เป็นเพลงเพื่อชีวิต ก็สมควรที่จะได้รับการยกย่องว่าเป็น สุดยอดเพลงเพื่อชีวิต ด้วยเป็นเพลงที่ถูกบันทึกเสียงและขับขานในวาระต่าง ๆ มากที่สุดเพลงหนึ่งในรอบทศวรรษที่ผ่านมา และน้อยคนเหลือเกินที่ได้ฟังเพลงนี้แล้วจะรู้สึกเฉย ๆ กับความหมายที่กินใจที่เพลงสื่อออกมา เพลงคิดถึงบ้านนี้ ทำให้ชื่อ นายผี อัศนี พลจันทร เป็นที่รู้จักและจดจำในวงกว้าง อัศนี พลจันทร แต่งเพลงนี้ขึ้น เพราะความรู้สึกคิดถึงบ้านของตัวเขาเอง ด้วยเหตุการณ์ทางสังคมในสมัยนั้น ทำให้เขาต้องจากบ้านเกิดเมืองนอนไปเป็นเวลานาน พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ เป็นคนนำเพลง "คิดถึงบ้าน" นี้ออกมาจากราวป่า และบันทึกเสียงครั้งแรกในนามวงคาราวาน กับอัลบั้มชุด "บ้านนาสะเทือน" เมื่อปี 2526.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พงษ์เทพ กระโดนชำนาญและเดือนเพ็ญ (เพลง)

พงษ์เทพ กระโดนชำนาญและเดือนเพ็ญ (เพลง) มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2526ยืนยง โอภากุลสุรชัย จันทิมาธรคาราวาน (วงดนตรี)โฮป แฟมิลี่เพลงเพื่อชีวิต

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2526และพงษ์เทพ กระโดนชำนาญ · พ.ศ. 2526และเดือนเพ็ญ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

ยืนยง โอภากุล

ืนยง โอภากุล หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ แอ๊ด คาราบาว เป็นศิลปินเพลงเพื่อชีวิตชาวไทยเชื้อสายจีน เป็นหัวหน้าวงคาราบาว วงดนตรีเพื่อชีวิตและเป็นตำนานเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ได้รับยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นักร้อง-นักประพันธ์เพลงไทยสากล) ประจำปี พ.ศ. 2556.

พงษ์เทพ กระโดนชำนาญและยืนยง โอภากุล · ยืนยง โอภากุลและเดือนเพ็ญ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

สุรชัย จันทิมาธร

รชัย จันทิมาธร หรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ หงา คาราวาน เป็นนักร้องนำและหนึ่งในผู้ก่อตั้งวงคาราวาน สุรชัยเป็นนักแต่งเพลงชั้นแนวหน้าคนหนึ่งของวงการเพลงไทย ผู้คนในวงการเพลงเพื่อชีวิตมักเรียกเขาอย่างนับถือว่า น้าหงา หรือ พี่หงา และได้รับการยกย่องให้เป็น อาจารย์ใหญ่แห่งวงการเพลงเพื่อชีวิต.

พงษ์เทพ กระโดนชำนาญและสุรชัย จันทิมาธร · สุรชัย จันทิมาธรและเดือนเพ็ญ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

คาราวาน (วงดนตรี)

ราวาน เป็นวงดนตรีในแนวเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย และ เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตวงแรกในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

คาราวาน (วงดนตรี)และพงษ์เทพ กระโดนชำนาญ · คาราวาน (วงดนตรี)และเดือนเพ็ญ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

โฮป แฟมิลี่

(ผู้ก่อตั้ง) สุเทพ ถวัลย์วิวัฒนกุล: นักดนตรี, นักร้อง, นักแต่งเพลง, นักเรียบเรียงดนตรี แนวเพลง เพื่อชีวิต ร่วมด้วย บุษปรัชต์ พันธุ์กระวี: นักร้อง, ร้องนำ แนวเพลงโฟล์คคันทรี่ และ ปานเทพ พันธุ์กระวี: Acoustic Guitar, ร้องนำ, เรียบเรียงดนตรี แนวเพลงโฟล์คร็อค ข้อมูลพื้นฐาน สุเทพ ถวัลย์วิวัฒนกุล (หัวหน้าวงและผู้ก่อตั้งวง) มีชื่อเล่นว่า "ทึ้ง" (แปลว่าน้ำตาล) ชื่ออื่นๆ: หนวด (ยุคหลัง 6 ตุลา 2519): สุเทพ โฮป,น้า โฮป,ลุง โฮป (หลังปี 2525) เกิดเมื่อ 28 ตุลาคม 2492 (ปีฉลู) ที่บ้านบางลำภู.

พงษ์เทพ กระโดนชำนาญและโฮป แฟมิลี่ · เดือนเพ็ญ (เพลง)และโฮป แฟมิลี่ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

พงษ์เทพ กระโดนชำนาญและเพลงเพื่อชีวิต · เดือนเพ็ญ (เพลง)และเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พงษ์เทพ กระโดนชำนาญและเดือนเพ็ญ (เพลง)

พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ มี 54 ความสัมพันธ์ขณะที่ เดือนเพ็ญ (เพลง) มี 28 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 7.32% = 6 / (54 + 28)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พงษ์เทพ กระโดนชำนาญและเดือนเพ็ญ (เพลง) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: