โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง vs. สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร. กฤษฏิ์ วิเศษแก้ว นักร้องและนักแสดงชาวไทย สังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ มีชื่อเสียงจากผลงานเพลง I Need Somebody (อยากขอสักคน) ปัจจุบันมีผลงานในวงการบันเทิง งานเพลง, ละครโทรทัศน์, ละครเวที, ซิตคอม และ ภาพยนตร์ ได้รับการจัดอันดับเป็นหนึ่งในสิบผู้ทรงอิทธิพลร่วมกับบุคคลสำคัญในแวดวงการเมืองและสังคมของไทยประจำปี 2551 โดยนิตยสาร Positoning และหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลวงการบันเทิงไทย จัดอันดับโดยหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ความสำเร็จในวงการบันเทิง รางวัลที่ได้รับหลายปีติดต่อกัน อาทิ รางวัลขวัญใจมหาชน 5 ปีซ้อน จาก ไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์, นักร้องยอดเยี่ยม จาก ท็อปอวอร์ด, นักร้องยอดนิยม จาก ซี๊ด อวอร์ดส ด้านสื่อบันเทิงและโฆษณา อาทิ พรีเซ็นเตอร์แห่งปี จาก นิตยสาร Marketeer ปี 2008, พรีเซ็นเตอร์ชายยอดนิยม ปี 2009 จาก โอ้โหอวอร์ด, เจ้าพ่อปกแมกกาซีน ปี 2009 โดยบางกอกทูเดย์ เป็นต้น ชื่อเสียงในต่างประเทศ โล่เกียรติคุณ อาทิ ทูตละครไทย จาก สถานีโทรทัศน์อันฮุยทีวีของจีน, The Best Asian Artist จาก เอเชียนซองเฟสติวัล ปี 2010 รางวัลที่ได้รับ อาทิ นักแสดงนำชายจากละครทีวีต่างชาติดีเด่น จาก China TV Drama Awards 2011 (2011国剧盛典) ฉายาที่ได้รับในจีน Tai Yang Wang Zi (泰阳王子) หรือ Sun Prince of Thailand จาก นิตยสาร Star New Generation (明星新生代) เป็นต้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2528พ.ศ. 2549พ.ศ. 2553พระจันทร์สีรุ้งรางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 3สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2009 ครั้งที่ 8จินตหรา สุขพัฒน์ท็อปอวอร์ด 2009ประเทศไทยป็อปเมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์

พ.ศ. 2528

ทธศักราช 2528 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1985 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2528และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · พ.ศ. 2528และสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2549และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · พ.ศ. 2549และสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

พ.ศ. 2553และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · พ.ศ. 2553และสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

พระจันทร์สีรุ้ง

ระจันทร์สีรุ้ง เป็นละครโทรทัศน์ แนวโรแมนติกดราม่า ของบริษัท ละครไท จำกัด ผลงานของ ดา-หทัยรัตน์ อมตวณิชย์ นำแสดงโดย สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว และ ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ ออกอากาศทุกวันพุธ-พฤหัสบดี ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2552 อำนวยการผลิตโดย หทัยรัตน์ อมตวณิชย์ และ กำกับการแสดงโดย ยุทธนา ลอพันธุ์ไพบูลย์ ออกอากาศตอนแรกวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552 พระจันทร์สีรุ้ง เป็นบทประพันธ์ของ วัตตรา และ บทโทรทัศน์โดย ปัทมาพร เคนผาพงษ์ ละครเรื่องนี้เริ่มต้นเมื่อชายไม่จริงหญิงไม่แท้สวมบทบาทเป็น “พ่อ” รับบทโดย พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง ภาระอันยิ่งใหญ่จึงเริ่มขึ้น เขาเลี้ยงดูเด็กคนหนึ่งที่เก็บมาเลี้ยงตั้งแต่แรกเกิด รับบทโดย บี้-สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว ซึ่งในครั้งนี้เป็นการร่วมงานละครเป็นครั้งแรกของ บี้ กับบริษัท ละครไท จำกัด คู่กับ แอฟ-ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและพระจันทร์สีรุ้ง · พระจันทร์สีรุ้งและสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 3

นน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ 2009 รางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2552 จัดโดย กองบรรณาธิการข่าวศิลปวัฒนธรรมและบันเทิง สำนักข่าวไทย จัดขึ้นในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2553 ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและรางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 3 · รางวัลไนน์เอ็นเตอร์เทน อวอร์ดส์ ครั้งที่ 3และสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3

นีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ..ม.ท. เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งที่ 4 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการโดยบริษัท บางกอก เอ็นเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ภายใต้สัญญาสัมปทานกับบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 เวลา 10:00 น. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออกอากาศด้วยระบบวีเอชเอฟ ความถี่ต่ำ ทางช่องสัญญาณที่ 3 จนถึงปี พ.ศ. 2550 หลังจากนั้น จึงเปลี่ยนมาออกอากาศในระบบยูเอชเอฟ ทางช่องสัญญาณที่ 32 โดยที่เริ่มแพร่ภาพคู่ขนาน (simulcast) กับโทรทัศน์ระบบดิจิทัล ช่องหมายเลข 33 ภาพคมชัดสูง ของบริษัท บีอีซี-มัลติมีเดีย จำกัด ตามคำสั่งของศาลปกครอง ตั้งแต่เวลา 21:19 น. ของวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 มีคำขวัญประจำสถานีฯ ว่า คุ้มค่าทุกนาที ดูทีวีสีช่อง 3 โดยมีประสาร มาลีนนท์ รักษาการในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 แทนประวิทย์ มาลีนนท์ ที่ขอลาออกเนื่องจากมีปัญหาเรื่อง.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 · สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3และสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2009 ครั้งที่ 8

ตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2009 ครั้งที่ 8 (Star Entertainment Awards 2009) คืองานจัดประกาศผลรางวัลผลงานบันเทิงยอดเยี่ยม ประจำปีพุทธศักราช 2552 จัดขึ้นที่โรงภาพยนตร์เอ็มแม็กซ์ เธียเตอร์ เอสพลานาด งามวงศ์วาน-แคราย ถนนรัตนาธิเบศร์ จังหวัดนนทบุรี โดย สมาคมนักข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย ในวันอาทิตย์ที่ 9 พฤษภาคม..

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2009 ครั้งที่ 8 · สตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2009 ครั้งที่ 8และสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

จินตหรา สุขพัฒน์

นตหรา สุขพัฒน์ หรือ แหม่ม มีชื่อเดิมว่า จิตติมาฆ์ สุขพัฒน์ และชื่อจริงว่า จิตติ์ธนิษา สุขขะพัฒน์ เป็นนางเอกและนักแสดงชาวไทยที่ได้รับความนิยมสูงสุดระหว่าง..

จินตหรา สุขพัฒน์และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · จินตหรา สุขพัฒน์และสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ท็อปอวอร์ด 2009

ท็อปอวอร์ด 2009 (top awards 2009)เป็นงานประกาศผลรางวัลต่างๆให้แก่คนบันเทิง โดยนิตยสารทีวีพูลร่วมกับสวนดุสิตโพลล์ งานท็อปอวอร์ด 2009เป็นงานที่มอบรางวัลให้คนบันเทิงโดยดูจากผลงานต่างๆช่วงปี.ศ 2552 งานครั้งนี้ได้จัดที่หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2553 โดยมีรางวัลทั้งหมด 20 รางวัลดังนี้ (ผู้ชนะพิมพ์ด้วยตัวหนา).

ท็อปอวอร์ด 2009และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ท็อปอวอร์ด 2009และสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ประเทศไทยและสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ป็อป

นตรีป็อป หรือ เพลงป็อป (pop music พอปมิวสิก) เป็นประเภทของเพลงสมัยนิยมที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรในช่วงกลางทศวรรษที่ 1950S.

ป็อปและพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ป็อปและสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์

มืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ (Muangthai Rachadalai Theatre) เป็นโรงละครสำหรับแสดงละครเวที ตั้งอยู่ชั้น 4 ศูนย์การค้าเอสพละนาด รัชดาภิเษก ถนนรัชดาภิเษก กรุงเทพมหานคร ใช้สำหรับละครเวที คอนเสิร์ต การแสดง การประชุม และกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ ด้วยความจุ 1,512 ที่นั่ง โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไปทรงเปิดโรงละครอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2550.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและเมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ · สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้วและเมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง มี 146 ความสัมพันธ์ขณะที่ สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว มี 104 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 4.80% = 12 / (146 + 104)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและสุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »