โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พและไตรยางศ์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พและไตรยางศ์

พ vs. ไตรยางศ์

พ (พาน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 30 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฝ (ฝา) และก่อนหน้า ฟ (ฟัน) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “พ พาน” อักษร พ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /pʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /p̚/ หมวดหมู่:อักษรไทย. ตรยางศ์ หรือ อักษรสามหมู่ คือระบบการจัดหมวดหมู่อักษรไทย (เฉพาะรูปพยัญชนะ) ตามลักษณะการผันวรรณยุกต์ ของพยัญชนะแต่ละหมวด เนื่องจากพยัญชนะไทย เมื่อกำกับด้วยวรรณยุกต์หนึ่งๆ แล้วจะมีเสียงวรรณยุกต์ที่แตกต่างกัน การจัดหมวดพยัญชนะ ทำให้การเรียนภาษาไทยง่ายขึ้น ด้วยเหตุนี้ จึงเชื่อว่า ในชั้นแรกนั้น การแบ่งหมวดหมู่พยัญชนะน่าจะทำขึ้นเพื่อประโยชน์ในการแต่งตำราสอนภาษาไทยแก่นักเรียน คำว่า ไตรยางศ์ มาจากคำในภาษาสันสกฤตว่า ตฺรย (ไตร) ซึ่งแปลว่า สาม รวมกับ อํศ (องศ์) ซึ่งแปลว่า ส่วน ดังนั้น ไตรยางศ์ จึงแปลรวมกันได้ว่าว่า สามส่วน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พและไตรยางศ์

พและไตรยางศ์ มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พยัญชนะอักษรไทย

ฟ (ฟัน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 31 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก พ (พาน) และก่อนหน้า ภ (สำเภา) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฟ ฟัน” อักษร ฟ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /f/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /p̚/ กรณีทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ ใช้แทนเสียง /f/ ทั้งพยัญชนะต้นและพยัญชนะสะกด หรือ /v/ ในตำแหน่งพยัญชนะสะกด หมวดหมู่:อักษรไทย.

พและฟ · ฟและไตรยางศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พยัญชนะ

พยัญชนะ (วฺยญฺชน, consonant) ในทางภาษาศาสตร์ หมายถึง เสียงแบบหนึ่งในภาษา ออกเสียงให้แตกต่างได้จากลักษณะของอวัยวะออกเสียงในช่องปาก และลักษณะอื่น ๆ เช่น การพ่นลม หรือเสียงก้อง ไม่ก้อง นอกจากนี้ยังหมายถึงตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะด้วย ขณะที่ผู้ใช้ภาษาทั่วไปมักจะเข้าใจว่า 'พยัญชนะ' คือตัวอักษรแทนเสียงพยัญชนะเพียงอย่างเดียว.

พและพยัญชนะ · พยัญชนะและไตรยางศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฝ (ฝา) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 29 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ผ (ผึ้ง) แ ฝก่อนหน้า พ (พาน) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฝ ฝา” อักษร ฝ เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /f/ และพยัญชนะสะกด ให้เสีบง /p̚/ (ในทางทฤษฎี) พจนานุกรมบางเล่มใช้ ฝ ถอดเสียง v ในคำศัพท์ที่มาจากภาษาอังกฤษ เพื่อให้เกิดความแตกต่างระหว่าง f, w และ v หมวดหมู่:อักษรไทย.

ฝและพ · ฝและไตรยางศ์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรไทย

อักษรไทย เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาไทย และภาษากลุ่มน้อยอื่น ๆ ในประเทศไทย มีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป และเครื่องหมายอื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง พยัญชนะไทยจะเรียงตัวไปตามแนวนอน จากซ้ายไปขวา ส่วนสระจะอยู่หน้า บน ล่าง และหลังพยัญชนะประกอบคำแล้วแต่ชนิดของสระ อักษรไทยไม่มีการแยกอักษรตัวใหญ่หรืออักษรตัวเล็กอย่างอักษรโรมัน และไม่มีการเว้นวรรคระหว่างคำ เมื่อจบหนึ่งประโยคจะลงท้ายด้วยการเว้นวรรค กับมีเครื่องหมายวรรคตอนจำนวนหนึ่ง ภาษาไทยมีตัวเลขเป็นของตัวเอง แต่นิยมใช้เลขอารบิกเป็นส่วนใหญ่ในชีวิตประจำวัน.

พและอักษรไทย · อักษรไทยและไตรยางศ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พและไตรยางศ์

พ มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไตรยางศ์ มี 54 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 6.67% = 4 / (6 + 54)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พและไตรยางศ์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »