เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พ.ศ. 2554

ดัชนี พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

สารบัญ

  1. 337 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบรัสเซลส์ชวน หลีกภัยบารัก โอบามาบูร์ฮานุดดีน รับบานีพ.ศ. 2454พ.ศ. 2455พ.ศ. 2456พ.ศ. 2457พ.ศ. 2458พ.ศ. 2460พ.ศ. 2461พ.ศ. 2462พ.ศ. 2463พ.ศ. 2464พ.ศ. 2465พ.ศ. 2466พ.ศ. 2468พ.ศ. 2469พ.ศ. 2471พ.ศ. 2473พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2479พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พ.ศ. 2488พ.ศ. 2489พ.ศ. 2490พ.ศ. 2492พ.ศ. 2494พ.ศ. 2495พ.ศ. 2496พ.ศ. 2497พ.ศ. 2498พ.ศ. 2499พ.ศ. 2500พ.ศ. 2509พ.ศ. 2510พ.ศ. 2512พ.ศ. 2526พ.ศ. 2530พ.ศ. 2544พ.ศ. 2551พ.ศ. 2557พ.ศ. 2559พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช... ขยายดัชนี (287 มากกว่า) »

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ดู พ.ศ. 2554และบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

บรัสเซลส์

รัสเซลส์ (Brussels), บรูว์แซล (Bruxelles) หรือ บรึสเซิล (Brussel; Brüssel) เรียกอย่างเป็นทางการว่า เขตนครหลวงบรัสเซลส์ หรือ เขตบรัสเซลส์ (All text and all but one graphic show the English name as Brussels-Capital Region.) (Région de Bruxelles-Capitale, Brussels Hoofdstedelijk Gewest) เป็นเมืองหลวงของประเทศเบลเยียม และเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงอย่างไม่เป็นทางการของสหภาพยุโรป (อียู) เขตบรัสเซลส์แบ่งการปกครองย่อยเป็นเทศบาลจำนวน 19 แห่ง รวมถึง เทศบาลนครบรัสเซลส์ (City of Brussels) ซึ่งอยู่ใจกลางเขตมีอาณาเขตเพียง 32.61 ตร.กม.

ดู พ.ศ. 2554และบรัสเซลส์

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ดู พ.ศ. 2554และชวน หลีกภัย

บารัก โอบามา

รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..

ดู พ.ศ. 2554และบารัก โอบามา

บูร์ฮานุดดีน รับบานี

ูร์ฮานุดดีน รับบานี (Burhanuddin Rabbani; برهان‌الدین ربانی, 20 กันยายน ค.ศ. 1940 – 20 กันยายน ค.ศ. 2011) เป็นนักการเมืองชาวอัฟกานิสถาน เป็นประธานาธิบดีอัฟกานิสถานระหว่างปี..

ดู พ.ศ. 2554และบูร์ฮานุดดีน รับบานี

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2454

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2455

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2456

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2457

พ.ศ. 2458

ทธศักราช 2458 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1915 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2458

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2460

พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2461

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2462

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2463

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2464

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2465

พ.ศ. 2466

ทธศักราช 2466 ตรงกั.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2466

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2468

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2469

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2471

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2473

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2475

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2476

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2479

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2482

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2483

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2484

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2485

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2488

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2489

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2490

พ.ศ. 2492

ทธศักราช 2492 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1949.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2492

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2494

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2495

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2496

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2497

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2498

พ.ศ. 2499

ทธศักราช 2499 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1956 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2499

พ.ศ. 2500

ทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2500

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2509

พ.ศ. 2510

ทธศักราช 2510 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1967 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2510

พ.ศ. 2512

ทธศักราช 2512 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1969 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2512

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2526

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2530

พ.ศ. 2544

ทธศักราช 2544 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2001 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2544

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2551

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2557

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ดู พ.ศ. 2554และพ.ศ. 2559

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู พ.ศ. 2554และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ดู พ.ศ. 2554และพระมหากษัตริย์

พระราชวรนายก (สำรวม ปิยธัมโม)

ระราชวรนายก (สำรวม ปิยธัมโม) (นามเดิม:สำรวม สำเร็จสุข)..

ดู พ.ศ. 2554และพระราชวรนายก (สำรวม ปิยธัมโม)

พระราชวังบักกิงแฮม

ระราชวังบักกิงแฮม (Buckingham Palace) เดิมชื่อ คฤหาสน์บักกิงแฮม เป็นพระราชวังที่เป็นที่ประทับเป็นทางการของราชวงศ์อังกฤษตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอนในสหราชอาณาจักรเป็นสถานที่ที่ใช้สำหรับการเลี้ยงรับรองของรัฐและยังเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวสำคัญที่หนึ่งของกรุงลอนดอน และยังเป็นที่รวมพลังใจทั้งในการฉลองและในยามคับขันของชาวอังกฤษ พระราชวังบักกิงแฮมแต่เดิมชื่อ “คฤหาสน์บักกิงแฮม” (Buckingham House) สิ่งก่อสร้างเดิมเป็นคฤหาสน์ที่สร้างสำหรับจอห์น เชฟฟิลด์ ดยุคแห่งบักกิงแฮมในปี..

ดู พ.ศ. 2554และพระราชวังบักกิงแฮม

พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)

ระธรรมวิสุทธิมงคล นามเดิม บัว โลหิตดี ฉายา ญาณสมฺปนฺโน หรือที่นิยมเรียกกันว่า หลวงตามหาบัว หรือ หลวงตาบัว (12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)

พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..

ดู พ.ศ. 2554และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

พระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร)

ระเทพวิสุทธิมงคล หรือ หลวงปู่ศรี มหาวีโร เป็นพระเถระฝ่ายวิปัสสนาธุระ ศิษย์พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต อดีตเจ้าอาวาสวัดประชาคมวนาราม.

ดู พ.ศ. 2554และพระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร)

พายุโซนร้อนวาชิ

ซนร้อนวาชิ เป็นพายุหมุนเขตร้อนมีพลังอยู่ใกล้กับประเทศฟิลิปปินส์ วาชิ ซึ่งหมายถึงกลุ่มดาวนกอินทรีในภาษาญี่ปุ่น ขึ้นฝั่งที่เกาะมินดาเนาของฟิลิปปินส์เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม หลังพัดผ่านมินดาเนา พายุโซนร้อนวาชิได้อ่อนกำลังลงเป็นหย่อมความกดอากาศต่ำบริเวณอ่าวไทยตอนล่างและขึ้นฝั่งที่ประเทศมาเลเซีย จึงทำให้ภาคใต้ของประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมาก ขณะนี้ยังไม่มีการพิจารณาขอบเขตความเสียหายทั้งหมดอันเกิดขึ้นจากวาชิ พายุวาชิเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต 1,257 คน นับเป็นพายุหมุนที่คร่าชีวิตผู้คนไปมากที่สุดในรอบปี..

ดู พ.ศ. 2554และพายุโซนร้อนวาชิ

พีต พอเซิลธ์เวต

ีต พอเซิลธ์เวต (Pete Postlethwaite) มีชื่อจริงว่า พีเทอร์ วิลเลียม พีต พอเซิลธ์เวต (Peter William Postlethwaite; 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945 — 2 มกราคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และพีต พอเซิลธ์เวต

กระสวยอวกาศ

ลัมเบีย STS-1 พ.ศ. 2524 กระสวยอวกาศ (space shuttle) คือ เครื่องบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยองค์การนาซ่า (NASA) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation System (STS) ผลิตโดยบริษัท North American Aviation ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Rockwell International สเปซชัทเทิลทะยานขึ้นเหมือนจรวดและไปโคจรรอบโลก มีปีกและตอนกลับสู่โลกจะร่อนลงตามรันเวย์ กระสวยอวกาศสามารถนำมาใช้ได้หลาย ๆ ครั้ง กระสวยอวกาศถูกออกแบบมาให้ใช้งานซ้ำได้ 100 ครั้ง หรือปฏิบัติการได้ 10 ปี โครงการถูกเริ่มขึ้นในท้ายยุค 60 หลังจากนั้นก็มีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการที่ต้องใช้คนเข้าร่วมของนาซามาโดยตลอด ส่วนสำคัญของกระสวยอวกาศ เรียกว่า ออร์บิเตอร์ (orbiter หมายถึง ยานโคจร) จะพาลูกเรือและสัมภาระไปยังอวกาศในขณะที่จะส่งกระสวยอวกาศขึ้นไป กระสวยจะอยู่ที่ฐานส่งโดยจะตั้งชี้ขึ้นไปคล้ายจรวด ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์จะมีแทงค์น้ำมันขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แทงค์ด้านนอก (External Tank) ซึ่งมันจะเก็บออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะที่มันขึ้นเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกสูบเข้าไปยังเครื่องยนต์หลัก 3 เครื่อง ของออร์บิเตอร์ นอกจากนี้ยังมีแทงค์ขนาดเล็กที่อยู่ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์บนฐานส่งเพื่อให้แรงผลักดันพิเศษในขณะส่งกระสวยขึ้น ซึ่งเรียกว่า Solid Fuel Rocket Booster หรือ SRB ทำงานคล้ายกับจรวดดอกไม้ไฟขนาดใหญ่ เมื่อกระสวยอวกาศทะยานขึ้น หลังจากนั้นประมาณ 2 นาที เชื้อเพลิงในแทงค์เชื้อเพลิง SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกับร่มชูชีพ อัตราความเร็วของกระสวยค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากนั้นเครื่องยนต์หลักจึงหยุดทำงาน และถังเชื้อเพลิงภายนอกซึ่งว่างเปล่าจะถูกปล่อยตกลงสู่ทะเล เครื่องยนต์ของจรวดสองลำจะรับภาระต่อไป ซึ่งเรียกว่า ระบบการยักย้ายการโคจร ในระหว่างการโคจร เมื่อถึงเวลากลับสู่โลก เครื่องยนต์ระบบการยักย้ายการโคจรจะถูกยิงคล้ายกับตอนล่างของจรวด และยานจะหลุดออกจากการโคจร แล้วกลับลงมาสู่บรรยากาศโลกในอัตราความเร็ว 15,900 ไมล์ต่อชั่วโมง (หรือประมาณ 25,700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) แผ่นกำบังความร้อนข้างใต้กระสวยอวกาศจะเปล่งแสงสีแดงจัดพร้อมกับความร้อนในการกลับเข้ามาสู่โลก แผ่นกระเบื้องพิเศษบนกระสวยอวกาศจะป้องกันลูกเรือและยานอวกาศออร์บิเตอร์จะช้าลงเมื่อเข้ามาถึงบริเวณส่วนล่างของบรรยากาศ จะร่อนลงบนพื้นดินบนรันเวย์ด้วยความเร็วประมาณ 210 ไมล์แล้วภารกิจก็จะจบลง.

ดู พ.ศ. 2554และกระสวยอวกาศ

กระสวยอวกาศแอตแลนติส

STS-129 กระสวยอวกาศ แอตแลนติส (Orbiter Vehicle Designation OV-104) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 4 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-104 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ดิสคัฟเวอรี และ เอนเดฟเวอร์) กระสวยอวกาศแอตแลนติส ถูกตั้งชื่อตามเรือสำรวจหลักของสถาบันสมุทรศาสตร์ เริ่มทำการบินครั้งแรกในเที่ยวบิน STS-51-J วันที่ 19 มกราคม..

ดู พ.ศ. 2554และกระสวยอวกาศแอตแลนติส

กริมสวอทน์

กริมสวอทน์ (Grímsvötn) เป็นทะเลสาบใต้ธารน้ำแข็งและภูเขาไฟในชื่อเดียวกัน ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของไอซ์แลนด์ กริมสวอทน์ตั้งอยู่ ณ ที่ราบสูงของไอซ์แลนด์ทางฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของชั้นน้ำแข็งปกคลุมวัทนาโจกุล ทะเลสาบมีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ที่ 64°25′N 17°20′W ที่ระดับความสูง 1,725 เมตร ใต้ทะเลสาบเป็นกระเปาะหินหนืดของภูเขาไฟกริมสวอทน์ กริมสวอทน์เป็นภูเขาไฟชั้นบะซอลต์ ซึ่งมีประวัติการปะทุบ่อยครั้งที่สุดในไอซ์แลนด์ และมีระบบรอยแยกที่วางตัวในทิศตะวันตกเฉียงใต้-ตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากภูเขาไฟส่วนใหญ่อยู่ใต้วัทนาโจกุล การปะทุส่วนใหญ่จึงเกิดขึ้นใต้ธารน้ำแข็งเช่นกัน และปฏิกิริยาระหว่างแมกมากับน้ำที่ละลายจากธารน้ำแข็งทำให้เกิดกิจกรรมการปะทุแบบพรีอะตอมแมกมาติก เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..

ดู พ.ศ. 2554และกริมสวอทน์

การลงประชามติแยกเซาท์ซูดานเป็นเอกราช พ.ศ. 2554

การลงประชามติแยกเซาท์ซูดานเป็นเอกร..

ดู พ.ศ. 2554และการลงประชามติแยกเซาท์ซูดานเป็นเอกราช พ.ศ. 2554

การปฏิวัติตูนิเซีย

ผู้ประท้วงต่อต้านรัฐบาลตูนิเซียโบกธงชาติ เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2554 ซีน อัลอาบิดีน บิน อะลี การปฏิวัติตูนิเซีย หรือ การปฏิวัติซีดีบูซีด หรือ การปฏิวัติดอกมะลิ เป็นการรณรงค์การต่อต้านของพลเมือง (civil resistance) อย่างเข้มข้น รวมถึงชุดการเดินขบวนตามท้องถนนซึ่งเกิดขึ้นในประเทศตูนิเซีย เหตุการณ์ดังกล่าวเริ่มต้นในเดือนธันวาคม..

ดู พ.ศ. 2554และการปฏิวัติตูนิเซีย

การปะทุของกริมสวอทน์ พ.ศ. 2554

กริมสวอทน์เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม ขณะกำลังพ่นเถ้าภูเขาไฟ การปะทุของกริมสวอทน..

ดู พ.ศ. 2554และการปะทุของกริมสวอทน์ พ.ศ. 2554

การปะทุของภูเขาไฟปูเยอวย พ.ศ. 2554

ทางอากาศของกลุ่มเมฆเถ้าที่ปรากฏในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2554 การปะทุของภูเขาไฟปูเยอว..

ดู พ.ศ. 2554และการปะทุของภูเขาไฟปูเยอวย พ.ศ. 2554

การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553

UTC ของวันที่ 19 เมษายน การพยากรณ์ล่าสุดมีการอัปเดตที่ http://www.metoffice.gov.uk/aviation/vaac/vaacuk_vag.html London Volcanic Ash Advisory Centre site (Met Office, สหราชอาณาจักร) ประเทศซึ่งได้รับผลกระทบ (18 เมษายน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และการปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553

การแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต

นายกรัฐมนตรีอิสราเอลต้อนรับชาลิตกลับสู่มาตุภูมิ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2554 การแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต หลังความตกลงระหว่างอิสราเอลกับกลุ่มฮามาส ในการปล่อยตัวทหารอิสราเอล กิลัด ชาลิต แลกกับการปล่อยตัวนักโทษ 1,027 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวปาเลสไตน์และอาหรับ-อิสราเอล แม้ในบรรดานักโทษที่ปล่อยตัวมานั้นจะมีนักโทษชาวยูเครน ชาวจอร์แดน และชาวซีเรีย อย่างละคนด้วยก็ตาม นักโทษจำนวนนี้ 280 คนถูกตัดสินจำคุกตลอดชีวิตในข้อหาวางแผนและเตรียมการก่อการร้ายต่อเป้าหมายอิสราเอล.

ดู พ.ศ. 2554และการแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต

การแทรกแซงทางทหารในลิเบีย พ.ศ. 2554

รือรบสหรัฐยิงขีปนาวุธโทมาฮอว์กทำลายเป้าหมายของกองกำลังฝ่ายนิยมกัดดาฟีในลิเบีย การแทรกแซงทางทหารในลิเบี..

ดู พ.ศ. 2554และการแทรกแซงทางทหารในลิเบีย พ.ศ. 2554

การไหลตามฤดูกาลของน้ำบนดาวอังคาร

การไหลในฤดูร้อนบนเนินดาวอังคารในปล่องภูเขาไฟนิวตัน การสังเกตจากมาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ขององค์การนาซาได้เปิดเผยว่า อาจมีการไหลของน้ำในช่วงเดือนที่อบอุ่นที่สุดบนดาวอังคาร การวิจัยเสนอว่า ในอดีตอาจเคยมีน้ำในสถานะของเหลวไหลอยู่บนพื้นผิวของดาว ปกคลุมเป็นบริเวณกว้างคล้ายกับมหาสมุทรบนโลก อย่างไรก็ตาม คำถามยังคงมีอยู่ว่าน้ำหายไปไหนหมด ในแถลงการณ์ที่ออกโดยนาซาเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2554และการไหลตามฤดูกาลของน้ำบนดาวอังคาร

กาเหว่า เสียงทอง

กาเหว่า เสียงทอง เป็นนักร้องลูกทุ่งชายชื่อดังในอดีตที่มีเพลงฮิตติดหูหลายเพลง เขาร้องเพลงในร่องเสียงเดียวกับไวพจน์ เพชรสุพรรณ กาเหว่า เสียงทอง โด่งดังมาจากเพลง " หนุ่มเรือนแพ " จากผลงานการประพันธ์ของครูไพบูลย์ บุตรขัน กาเหว่า เสียงทอง เสียชีวิตในวันที่ 29 กันยายน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และกาเหว่า เสียงทอง

กำจร สถิรกุล

กำจร สถิรกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย คนที่ 11 และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ดู พ.ศ. 2554และกำจร สถิรกุล

กิลัด ชาลิต

กิลัด ชาลิตเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2554 กิลัด ชาลิต (Gilad Shalit, גלעד שליט; เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2529) เป็นพลเมืองอิสราเอล-ฝรั่งเศส และทหารกองกำลังป้องกันอิสราเอล (IDF) เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน..

ดู พ.ศ. 2554และกิลัด ชาลิต

กุ้งนาง ปัทมสูต

กุ้งนาง ปัทมสูต (ชื่อเล่น:กุ้ง, กุ้งนาง) (23 กันยายน พ.ศ. 2512-5 กันยายน พ.ศ. 2554) เป็นนักแสดง นักร้องชาวไทย และเป็นลูกสาวคนกลางของ สุประวัติ ปัทมสูต ศิลปินแห่งชาติ นักแสดงอาวุโส และผู้กำกับการแสดงชื่อดัง ซึ่งเกิดกับนางศรีสุดา สุกิจจวนิช กุ้งนาง สำเร็จการศึกษาจากสถาบันนิวยอร์ก อินสทิทิวต์ ออฟ เทคโนโลยี สหรัฐอเมริกา เข้าวงการบันเทิงด้วยการเป็นนักร้องเจ้าของอัลบั้ม "คนมันแรง" ในสังกัดสกายแทร็คส์ เมื่อปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และกุ้งนาง ปัทมสูต

ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

ัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ (Fukushima Daiichi nuclear disaster) เป็นอุบัติเหตุด้านพลังงานที่เกิดขึ้นที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ หมายเลข I ที่เป็นผลเบื้องต้นมาจากคลื่นสึนามิจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

มหาสมุทรแปซิฟิก

มหาสมุทรแปซิฟิก (Pacific Ocean) ตั้งชื่อโดย เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ว่า Mare Pacificum เป็นภาษาละติน แปลว่า peaceful sea ภาษาฝรั่งเศส pacifique (ปาซีฟีก) หมายถึง "สงบสุข" เป็นผืนน้ำที่กว้างใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นน้ำประมาณ 165,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ผิวทั้งหมดของโลก ความยาวในแนวลองจิจูดมีระยะทางประมาณ 15,500 กิโลเมตร จากทะเลเบริงในเขตอาร์กติกที่อยู่ทางเหนือจรดริมฝั่งทะเลรอสส์ในแอนตาร์กติกาที่อยู่ทางใต้ มหาสมุทรแปซิฟิกมีด้านที่กว้างที่สุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตก อยู่ ณ บริเวณละติจูด 5 องศาเหนือ ด้วยความยาวประมาณ 19,800 กิโลเมตร จากอินโดนีเซียถึงชายฝั่งโคลอมเบีย สุดเขตด้านตะวันตก คือ ช่องแคบมะละกา จุดที่ลึกที่สุดในโลก คือ ร่องลึกมาเรียนา (Mariana Trench) อยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก จุดที่ลึกที่สุดวัดได้ 10,911 เมตร มหาสมุทรแปซิฟิก ความเค็มประมาณ 33-37 ส่วนต่อพันส่วน กระแสน้ำที่สำคัญของมหาสมุทรแปซิฟิก คือ กระแสน้ำเย็นฮัมโบลต์ (เปรู) กระแสน้ำอุ่นศูนย์สูตร กระแสน้ำเย็นแคลิฟอร์เนีย กระแสน้ำอุ่นอะแลสกา และกระแสน้ำอุ่นคุโระชิโอะ (กุโรชิโว) มหาสมุทรแปซิฟิกมีเกาะอยู่ประมาณ 25,000 เกาะ (มากกว่าเกาะในมหาสมุทรอื่น ๆ ที่เหลือรวมกัน) ส่วนใหญ่อยู่ใต้เส้นศูนย์สูตร ริมมหาสมุทรประกอบด้วยทะเลจำนวนมาก ที่สำคัญ คือ ทะเลเซเลบีส ทะเลคอรัล ทะเลจีนตะวันออก ทะเลญี่ปุ่น ทะเลจีนใต้ ทะเลซูลู ทะเลแทสมัน และทะเลเหลือง ทางด้านตะวันตก ช่องแคบมะละกาเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย ส่วนทางด้านตะวันออก ช่องแคบมาเจลลันเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับ มหาสมุทรแอตแลนติก.

ดู พ.ศ. 2554และมหาสมุทรแปซิฟิก

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ดู พ.ศ. 2554และมอสโก

มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์

วาดยานในวงโคจรรอบดาวอังคาร มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ (Mars Reconnaissance Orbiter) หรือเอ็มอาร์โอ (MRO) เป็นยานอวกาศขององค์การนาซาที่ส่งขึ้นจากพื้นโลกเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และมาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์

มาร์โก ซีมอนเชลลี

มาร์โก ซิมอนเชลลี (อิตาลี: Marco Simoncelli) นักแข่งรถจักรยานยนต์อาชีพชาวอิตาลีเจ้าของผมฟูอันเป็นเอกลักษณ์ประจำตัวของเขา เกิดเมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และมาร์โก ซีมอนเชลลี

มานพ สัมมาบัติ

มานพ สัมมาบัติ หรือ มาวิน แดงน้อย (พ.ศ. 2488 - 19 มกราคม พ.ศ. 2554) ผู้กำกับละครโทรทัศน์ชาวไทย สังกัดดาราวิดีโอ มีผลงานกำกับการแสดงละครหลายเรื่อง อาทิ พลับพลึงสีชมพู, น้ำผึ้งขม, ทองเนื้อเก้า, อีสา, สวรรค์เบี่ยง, จำเลยรัก, เชลยศักดิ์, กนกลายโบตั๋น, ริษยา, เกิดแต่ตม, สุดสายป่าน, ลูกไม้หลากสี, เปลวไฟในฝัน, สู่แสงตะวัน, รอยรักรอยบาป, เรือนซ่อนรัก รวมถึงละครจักรๆ วงศ์ๆ เช่น สี่ยอดกุมาร, แก้วหน้าม้า(ถ่ายทำด้วยฟิล์ม) ฯลฯ มานพ สัมมาบัติ เป็นผู้กำกับฝีมือดีที่คร่ำหวอดในวงการละครมายาวนานกว่า 30 ปี โดยร่วมงานกับดาราวิดีโอตั้งแต่ร่วมแสดงและกำกับมาตั้งแต่ยุคแรกเริ่ม และเป็นที่เคารพนับถือของดารานักแสดงหลายคน ซึ่งผลงานกำกับละครที่ผ่านมาได้รับความนิยมอย่างมาก จนได้รับรางวัลการกำกับละครจากหลายสถาบัน ด้านชีวิตครอบครัว มีบุตรสองคน คือ วัชระ สัมมาบัติ และ กัญญา ชื่นชม มานพ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และมานพ สัมมาบัติ

มือปืน/โลก/พระ/จัน

มือปืน โลก/พระ/จัน เป็นภาพยนตร์แอคชั่น ดรามา ตลก ที่ออกฉายในปี..

ดู พ.ศ. 2554และมือปืน/โลก/พระ/จัน

มูอัมมาร์ กัดดาฟี

มุอัมมัร อัลก็อษษาฟี (معمر القذافي) เป็นผู้นำประเทศลิเบียโดยพฤตินัย หลังรัฐประหารในปี..

ดู พ.ศ. 2554และมูอัมมาร์ กัดดาฟี

มนัส โอภากุล

นายมนัส โอภากุล (4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2457 - 4 มกราคม พ.ศ. 2554) หรือชื่อที่ชาวจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกติดปากว่า "อาจารย์มนัส" เป็นนักประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของจังหวัดสุพรรณบุรี.

ดู พ.ศ. 2554และมนัส โอภากุล

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

งลักษณ์ ชินวัตร เกิดวันที่ 21 มิถุนายน..

ดู พ.ศ. 2554และยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

รอยเตอร์ส

อาคารสำนักงานใหญ่ที่กรุงลอนดอน สำนักข่าวรอยเตอร์ส (Reuters) คือผู้ให้บริการข้อมูลทางการเงินและรายงานข่าวต่างๆ ให้แก่สำนักข่าวต่างๆ ของโลก สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ โดยรอยเตอร์สได้รับรายได้ส่วนมาก (กว่าร้อยละ 90) จากการให้บริการข้อมูลทางการเงินต่างๆ เช่น ราคาหุ้นในตลาดต่างๆ อัตราแลกเปลี่ยน ราคาน้ำมัน รายงานการวิเคราะห์หลักทรัพย์ เป็นต้น และการให้บริการซื้อขายผ่านอินเทอร์เน็ตต่างๆ โดยปัจจุบันนี้รอยเตอร์สมีส่วนแบ่งการตลาดในด้านการบริการข้อมูลทางการเงินมากเป็นอันดับสอง ประมาณร้อยละ 23 รองจาก บลูมเบิร์ก (Bloomberg) ที่ควบคุมส่วนแบ่งการตลาดมากถึงร้อยละ 33 เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และรอยเตอร์ส

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายนามรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไท.

ดู พ.ศ. 2554และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รัฐรีโอเดจาเนโร

รัฐรีโอเดจาเนโร หรือ รัฐรีอูดีจาเนรู (Rio de Janeiro) เป็น 1 ใน 26 รัฐของประเทศบราซิล ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ ติดกับรัฐมีนัสเชไรส์ทางทิศเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ, ติดกับรัฐเอสปีรีตูซันตูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และติดกับรัฐเซาเปาลูทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ และติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันออกและใต้ รัฐรีโอเดจาเนโรมีพื้นที่ 43,653 ตร.กม.

ดู พ.ศ. 2554และรัฐรีโอเดจาเนโร

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2554

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011).

ดู พ.ศ. 2554และรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2554

ราษฎรอาวุโส

ราษฎรอาวุโส (Senior people) เป็นคำเรียกบุคคลชาวไทย หมายถึง บุคคลที่ดำรงตนเป็นผู้มีคุณประโยชน์ต่อสังคม และประเทศชาติ โดยเฉพาะด้านการพัฒนาชนบท การพัฒนาชุมชน และการเสนอความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม จุดเริ่มต้นที่มาของคำว่า "ราษฎรอาวุโส" เกิดขึ้นเมื่อประเทศไทยเกิดวิกฤติการณ์ทางการเมืองในปี..

ดู พ.ศ. 2554และราษฎรอาวุโส

รางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลรามอน แมกไซไซ หรือ รางวัลแมกไซไซ (Ramon Magsaysay Award) เป็นรางวัลที่ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนเมษายน..

ดู พ.ศ. 2554และรางวัลรามอน แมกไซไซ

รางวัลโนเบล

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบล (Nobelpriset; Nobel Prize) เป็นรางวัลประจำปีระดับนานาชาติ ซึ่งจัดโดยคณะกรรมการสแกนดิเนเวีย พิจารณาผลงานวิจัยหรือความอัจฉริยะและความเชี่ยวชาญที่โดดเด่น หรือสร้างคุณประโยชน์ให้กับมนุษยชาติ ทั้งในด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม ตามเจตจำนงของอัลเฟรด โนเบล นักเคมีชาวสวีเดน ผู้ประดิษฐ์ไดนาไมท์ โดยก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..

ดู พ.ศ. 2554และรางวัลโนเบล

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ดู พ.ศ. 2554และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ดู พ.ศ. 2554และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ดู พ.ศ. 2554และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ดู พ.ศ. 2554และรางวัลโนเบลสาขาเคมี

รางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์

รางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ มักรู้จักทั่วไปว่า รางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ เป็นรางวัลประจำปี มอบให้กับผู้ที่มีผลงานโดดเด่นในสาขาเศรษฐศาสตร์ รางวัลนี้ก่อตั้งโดยธนาคารชาติสวีเดน ในวาระเฉลิมฉลอง 300 ปีของธนาคารในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และรางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์

รียาด

รียาด (Riyadh; الرياض‎, ar-Riyāḍ) เป็นเมืองหลวงของประเทศซาอุดีอาระเบีย อยู่ในจังหวัดอาร์รียาด ตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอาระเบีย มีประชากร 4,260,000 คน (นับเป็น 20% ของประชากรทั้งหมดในประเทศ) เมืองรียาดตั้งอยู่พิกัด 24°42'42" เหนือ 46°43'27" ตะวันออก ตัวเมืองแบ่งการปกครองเป็น 17 เขต โดยขึ้นกับเทศบาลเมืองรียาด ถึงแม้รียาดจะตั้งอยู่ในบริเวณที่มีความแห้งแล้งมาก แต่ก็ยังมีฝนตกบ้างเป็นบางครั้ง การชลประทานมีเขื่อน 5 แห่งสำรองน้ำจืดไว้ใช้ยามขาดแคลน และมีการต่อท่อความยาว 467 กิโลเมตรเพื่อขนย้ายน้ำจืดจากโรงงานแปลงน้ำทะเลเป็นน้ำจืดริมอ่าวเปอร์เซี.

ดู พ.ศ. 2554และรียาด

ลอนดอน

ลอนดอน (London, ลันเดิน) เป็นเมืองหลวงของประเทศอังกฤษ และสหราชอาณาจักร และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสหภาพยุโรป เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก ลอนดอนเป็นหนึ่งในศูนย์กลางสำคัญทางธุรกิจ การเมือง วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของโลก เป็นผู้นำด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นเมืองที่มีอิทธิพลไปทั่วโลก ถือกันว่าเป็นเมืองสากลหลักของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักร ลอนดอนมีประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (ข้อมูลเมื่อปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และลอนดอน

วันมาฆบูชา

ปุรณมี วันมาฆบูชา (มาฆปูชา; Magha Puja) เป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๐, ๓๐ มีนาคม..

ดู พ.ศ. 2554และวันมาฆบูชา

วันลอยกระทง

วันลอยกระทง เป็นวันสำคัญทางศาสนาฮินดูวันหนึ่งของไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย ตามปฏิทินจันทรคติล้านนา มักจะตกอยู่ในราวเดือนพฤศจิกายน ตามปฏิทินสุริยคติ บางปีเทศกาลลอยกระทงก็จะมาตรงกับเดือนตุลาคมด้วย เช่นปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และวันลอยกระทง

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ดู พ.ศ. 2554และวันวิสาขบูชา

วันออกพรรษา

ออกจาริกเพื่อปฏิบัติธรรม และโปรดพุทธศาสนิกชนตามสถานที่ต่าง ๆ ก่อนจะกลับเข้าจำพรรษาอีกครั้งในปีถัดไปเพื่อความเข้าใจ: วันสุดท้ายของการอยู่จำพรรษา 3 เดือน ของพระภิกษุ ตามคัมภีร์เรียกว่า วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา นั้น ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 เราเรียกกันว่า "วันออกพรรษา" ตามที่เข้าใจกันทั่วไป แต่ตามพระวินัยบัญญัติ พระภิกษุทั้งหลายยังต้องอยู่ในจำพรรษาในคืนวันนั้น (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) อีกคืนหนึ่ง จะไปค้างแรมที่อื่นเลยไม่ได้ ต้องให้ผ่านอรุณเข้าวันใหม่ (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11) เสียก่อนสรุปว่า "วันออกพรรษา" ตามที่เรียกและเข้าใจกันทั่วไป (และจะกล่าวถึงต่อไปในบทความนี้) คือวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ส่วน "วันออกพรรษาจริง" ตามพระวินัย คือ วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 "วันออกพรรษา" (ตามที่เข้าใจกัน) เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาวันหนึ่งในประเทศไทย เนื่องจากเป็นวันสิ้นสุดระยะเวลาจำพรรษา 3 เดือนของพระสงฆ์เถรวาท โดยเป็นวันที่พระสงฆ์จะทำสังฆกรรม คือ การปวารณาในวันนี้ วันออกพรรษา (ออกปุริมพรรษา) จะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 (ประมาณเดือนตุลาคม) หลังวันเข้าพรรษา 3 เดือน ตามปฏิทินจันทรคติไทย การปวารณา ถือเป็นข้อปฏิบัติตามพระวินัยสำหรับพระภิกษุโดยเฉพาะ เรียกว่า เป็นญัตติกรรมวาจา (สังฆกรรม) ประเภทหนึ่ง ให้โอกาสแก่พระสงฆ์ที่จำพรรษาอยู่ร่วมกันตลอดไตรมาส (3 เดือน) สามารถว่ากล่าวตักเตือนและชี้ข้อบกพร่องแก่กันและกันได้โดยเสมอภาค ด้วยจิตที่ปรารถนาดีซึ่งกันและกัน เพื่อให้พระสงฆ์ที่ถูกตักเตือนมีโอกาสรับรู้ข้อบกพร่องของตนและนำข้อบกพร่องไปแก้ไขปรับปรุงตัวให้ดียิ่งขึ้น เมื่อถึงวันออกพรรษา พุทธศาสนิกชนถือเป็นโอกาสอันดีที่จะเข้าวัดเพื่อบำเพ็ญกุศลแก่ตนเองที่ตั้งใจปฏิบัติตนเป็นอุบาสก-อุบาสิกา ส่วนพระสงฆ์จำพรรษาและตั้งใจปฏิบัติธรรมมาตลอดจนครบไตรมาส (3 เดือน) หรือในวันถัดไปคือ วันออกพรรษา(จริง) (คือ วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11) พุทธศาสนิกชนในประเทศไทยนิยมไปทำบุญตักบาตร เรียกว่า บุญเทศกาลบาตรเทโว หรือ บาตรเทโวโรหณะ เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในพุทธประวัติที่กล่าวว่า พระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากเทวโลก ลงมายังโลกมนุษย์หลังจากการโปรดเทพบุตร อดีตพระพุทธมารดา พระนางสิริมหามายา บนสวรรค์ดาวดึงส์ (ชั้นที่ 2) ในพรรษาที่ 7 เสด็จลงมายังเมืองสังกัสสะ พร้อมกับทรงแสดงไตรโลกวิวรณปาฏิหาริย์ (ทรงปาฏิหาริย์เปิดโลกทั้ง 3.

ดู พ.ศ. 2554และวันออกพรรษา

วันอาสาฬหบูชา

วันอาสาฬหบูชา (อาสาฬหปูชา; Āsāḷha Pūjā) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธนิกายเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๗๕, ตอน ๕๒, ๑๒ มิถุนายน..

ดู พ.ศ. 2554และวันอาสาฬหบูชา

วันเข้าพรรษา

ประกอบความดีในช่วงนี้อีกด้วย วันเข้าพรรษา (บาลี: วสฺส, สันสกฤต: วรฺษ, Vassa, เขมร: វស្សា, พม่า: ဝါဆို) เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่งที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดระยะเวลา 3 เดือนตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือภาษาปากว่า จำพรรษา ("พรรษา" แปลว่า ฤดูฝน, "จำ" แปลว่า พักอยู่) การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรง พระสงฆ์จะไม่จำพรรษาไม่ได้ เนื่องจากรูปใดไม่จำพรรษาถือว่าต้องอาบัติทุกกฏตามพระวินัย การเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี (หรือเดือน 8 หลัง ถ้ามีเดือน 8 สองหน) และสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางศาสนพุทธที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ต่อเนื่องมาจากวันอาสาฬหบูชา (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8) ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวไทยทั้งพระมหากษัตริย์และคนทั่วไปได้สืบทอดประเพณีปฏิบัติการทำบุญในวันเข้าพรรษามาช้านานแล้วตั้งแต่สมัยสุโขทัย สาเหตุที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตการจำพรรษาอยู่ ณ สถานที่ใดสถานที่หนึ่งตลอด 3 เดือนแก่พระสงฆ์นั้น มีเหตุผลเพื่อให้พระสงฆ์ได้หยุดพักการจาริกเพื่อเผยแพร่ศาสนาไปตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งจะเป็นไปด้วยความยากลำบากในช่วงฤดูฝน เพื่อป้องกันความเสียหายจากการอาจเดินเหยียบย่ำธัญพืชของชาวบ้านที่ปลูกลงแปลงในฤดูฝน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ช่วงเวลาจำพรรษาตลอด 3 เดือนนั้น เป็นช่วงเวลาและโอกาสสำคัญในรอบปีที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่จำพรรษารวมกันภายในอาวาสหรือสถานที่ใดสถานที่หนึ่ง เพื่อศึกษาพระธรรมวินัยจากพระสงฆ์ที่ทรงความรู้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ด้วย ในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอดทั้ง 3 เดือน พุทธศาสนิกชนชาวไทยถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทำบุญใส่บาตร ฟังพระธรรมเทศนา ซึ่งสิ่งที่พิเศษจากวันสำคัญอื่น ๆ คือ มีการถวายหลอดไฟหรือเทียนเข้าพรรษา และผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) แก่พระสงฆ์ด้วย เพื่อสำหรับให้พระสงฆ์ได้ใช้สำหรับการอยู่จำพรรษา โดยในอดีต ชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนเมื่ออายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดฤดูพรรษากาลทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า "บวชเอาพรรษา" นอกจากนี้ ในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และวันเข้าพรรษา

วิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป

last.

ดู พ.ศ. 2554และวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป

วิสุทธ์ บุษยกุล

ตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล ศาสตราจารย์วิสุทธิ์ บุษยกุล (เกิด: 8 พฤศจิกายน 2462, จังหวัดอุดรธานี; อนิจกรรม: 21 มกราคม 2554, กรุงเทพมหานคร) บิดาเป็นชาวจังหวัดอุดรธานี มารดาเป็นชาวสมุทรสงคราม เนื่องจากบิดารับราชการในแผนกคลังจังหวัด เด็กชายวิสุทธิ์จึงต้องติดตามบิดาไปอยู่จังหวัดนครพนมตั้แต่อายุประมาณ 2-3ขวบ และได้เริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จึงได้ย้ายไปศึกษาต่อที่ โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล.

ดู พ.ศ. 2554และวิสุทธ์ บุษยกุล

ศศิมาภรณ์ ไชยโกมล

มาภรณ์ ไชยโกมล (ชื่อเล่น:หนิง) มีชื่อจริงว่า ภูชิษา รัตนะเดชนิธิศ (11 กันยายน พ.ศ. 2509-30 มกราคม พ.ศ. 2554) เป็นนักแสดงชาวไทย เคยเข้าประกวดนางสาวไทย ประจำปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และศศิมาภรณ์ ไชยโกมล

ศูนย์อวกาศเคนเนดี

ูนย์อวกาศ จอห์น เอฟ.

ดู พ.ศ. 2554และศูนย์อวกาศเคนเนดี

สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ

ในลิเบีย สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ (National Transitional Council; المجلس الوطني الانتقالي) เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยกลุ่มผู้ก่อการกำเริบใน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ

สมชาย สุนทรวัฒน์

นายกองเอก สมชาย สุนทรวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลชวน 2 อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสระบุรี และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรคไทยรักไท.

ดู พ.ศ. 2554และสมชาย สุนทรวัฒน์

สมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสโร)

มเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสโร) (นามเดิม: นิยม จันทนินทร) (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2466 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2554) เป็นอดีตกรรมการมหาเถรสมาคม และเจ้าอาวาสวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนกลาง และเป็นคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.

ดู พ.ศ. 2554และสมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสโร)

สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก

มเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก (ภาษาซองคา: འཇིགས་མེད་གེ་སར་རྣམ་རྒྱལ་དབང་ཕྱུག་) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรภูฏาน รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์วังชุก ทรงได้รับการยกย่องจากชาวภูฏานรวมถึงชาวไทยส่วนใหญ่ว่ามีพระจริยวัตรที่งดงาม และเป็นที่รักยิ่งของประชาชนชาวภูฏาน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังซุก ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของพสกนิกรทุกหมู่เหล่า จากการที่ทรงวางพระองค์อย่างเป็นกันเองในหมู่ประชาชน จึงสร้างความประทับใจแก่พสกนิกรอย่างสูง ถึงแม้ว่าพระองค์ไม่ต้องทรงรับพระราชภารกิจการบริหารประเทศ เนื่องจากสมเด็จพระราชบิดาได้ทรงวางระบอบปกครองแบบประชาธิปไตยขึ้นมาอยู่ก่อนแล้ว แต่พระองค์เองก็ยังทรงเป็นสัญลักษณ์สำคัญ ในการสร้างเอกภาพและเสถียรภาพ ในประเทศที่มีประชากรเพียง 753,947 คน โดยมุ่งเน้นด้านความสุขมวลรวมของประชากรภายในประเทศเป็นสำคัญ.

ดู พ.ศ. 2554และสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก

สมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก

มเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก (རྗེ་བཙུན་པདྨ་; Wylie: rje btsun padma; Ashi Jetsun Pema Wangchuck) พระราชสมภพเมื่อวันที่ ที่กรุงทิมพู ประเทศภูฏาน เป็นสมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก ที่สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมีได้ทรงประกาศอย่างเป็นทางการ ซึ่งพระองค์เป็นนักศึกษาวัยยี่สิบเอ็ดพรรษา ทั้งสองพระองค์มีกำหนดอภิเษกสมรสในเดือนตุลาคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และสมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ดู พ.ศ. 2554และสหรัฐ

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ดู พ.ศ. 2554และสหประชาชาติ

สัตยะ สาอี บาบา

ัตยะ สาอี บาบา สัตยะ สาอี บาบา (సత్య సాయిబాబా; ಸತ್ಯ ಸಾಯಿ ಬಾಬ; சத்ய சாயி பாபா; സത്യസായിബാബ; सत्य साईबाबा) หรือที่รู้จักกันดีและนิยมเรียกว่าไส บาบา เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ดู พ.ศ. 2554และสัตยะ สาอี บาบา

สันติ ทักราล

นายสันติ ทักราล (8 มีนาคม พ.ศ. 2485 - 29 เมษายน พ.ศ. 2554) อดีตองคมนตรี (ถึงแก่อสัญกรรมในตำแหน่ง) และอดีตประธานศาลฎีก.

ดู พ.ศ. 2554และสันติ ทักราล

สุวโรช พะลัง

นายสุวโรช พะลัง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดชุมพร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเคยเป็นกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัต.

ดู พ.ศ. 2554และสุวโรช พะลัง

สงกรานต์

ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ดู พ.ศ. 2554และสงกรานต์

สงครามกลางเมืองลิเบีย

งครามกลางเมืองลิเบี..

ดู พ.ศ. 2554และสงครามกลางเมืองลิเบีย

สงครามอิรัก

งครามอิรัก เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในประเทศอิรักตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม..

ดู พ.ศ. 2554และสงครามอิรัก

สตีฟ จอบส์

ตีฟ จอบส์ เกิดที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย มีชื่อจริงว่า สตีเวน พอล จอบส์ เป็นบุตรบุญธรรมของพอล แรนโฮลด์ จอบส์ กับคลารา จอบส์ (สกุลเดิม ฮาโกเพียน) ครอบครัวชาวอเมริกันเชื้อสายอาร์เมเนีย*.

ดู พ.ศ. 2554และสตีฟ จอบส์

หวอ จี๊ กง

หวอ จี๊ กง (7 สิงหาคม พ.ศ. 2455 - 8 กันยายน พ.ศ. 2554) เป็นนักการเมืองคอมมิวนิสต์ชาวเวียดนามและประธานสภาแห่งรัฐเวียดนาม (เทียบเท่า: ประธานาธิบดีเวียดนาม) ระหว่างปี..

ดู พ.ศ. 2554และหวอ จี๊ กง

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2554และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

ออสโล

แผนที่กรุงออสโล ออสโล (Oslo; ในภาษานอร์เวย์ออกเสียง อุสลู หรือ อุชลู) เป็นเมืองหลวงของประเทศนอร์เวย์ ออสโลมีประชากรประมาณ 811,688 (เมื่อ 1 มกราคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และออสโล

ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก

ออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย ฮังการี โครเอเชีย และโบฮีเมีย (Otto von Habsburg; พระนามเต็ม: ฟรันซ์ โยเซฟ ออทโท โรเบิร์ต มาเรีย แอนตัน คาร์ล แมกซ์ เฮ็นริค ซิกส์ตัส เซเวอร์ เฟลิกซ์ เรเนตัส ลุดวิก แกตัน พิอุส อิกเนเชียส ฟอน ฮับส์บูร์ก-ลอแรน; Franz Joseph Otto Robert Maria Anton Karl Max Heinrich Sixtus Xaver Felix Renatus Ludwig Gaetan Pius Ignatius von Habsburg-Lorraine) (20 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และออทโท ฟอน ฮับส์บูร์ก

อัลกออิดะฮ์

อัลกออิดะฮ์ (القاعدة‎, al-Qā`ida "ฐาน") หรือ แอล-ไคดา (al-Qaeda) เป็นกลุ่มก่อการร้ายอิสลามสากล ก่อตั้งโดย อุซามะฮ์ บิน ลาดิน, อับดุลลาห์ อัซซัม (Abdullah Azzam) และนักรบอื่นอีกหลายคน บางช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2531.

ดู พ.ศ. 2554และอัลกออิดะฮ์

อัลเบร์โต กรานาโด

อัลเบร์โต กรานาโด (8 สิงหาคม ค.ศ. 1922 - 5 มีนาคม ค.ศ. 2011) เป็นแพทย์ นักเขียน และนักวิทยาศาสตร์ชีวเคมีชาวอาร์เจนตินาซึ่งได้รับสัญชาติคิวบา กรานาโดเป็นที่รู้จักกันในฐานะผู้แต่งหนังสือ Travelling with Che Guevara: The Making of a Revolutionary และเป็นผู้ร่วมทางกับเช เกบารา ในการเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ขนาด 500 ซีซี ชื่อ La Poderosa เป็นระยะทางกว่า 8,000 กิโลเมตร ตามลำพังสองคนไปทั่วทวีปอเมริกาใต้ ช่วงเดือนมกราคม ถึงกรกฎาคม 1952 ในการเดินทางครั้งนี้ เกบาราได้บันทึกสิ่งที่พบเห็นไว้ในสมุดบันทึกส่วนตัว เขาได้เห็นความยากจนข้นแค้นของประชาชน และเป็นแรงบันดาลใจให้เขาคิดก่อการปฏิวัติยึดอำนาจจากผู้ปกครองประเทศต่างๆ ในอเมริกาใต้ เพื่อสร้างความเท่าเทียมกันในสังคม ในปี..

ดู พ.ศ. 2554และอัลเบร์โต กรานาโด

อาหรับสปริง

อาหรับสปริง (Arab Spring, الثورات العربية‎ al-Thawrāt al-ʻArabiyyah) เป็นคลื่นปฏิวัติการเดินขบวน การประท้วงและสงครามซึ่งเกิดขึ้นในโลกอาหรับตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม 2553 ตราบจนปัจจุบัน ผู้ปกครองถูกโค่นจากอำนาจในตูนิเซีย อียิปต์ ลิเบีย และเยเมน การก่อการกำเริบพลเมืองอุบัติขึ้นในบาห์เรน และซีเรีย การประท้วงใหญ่เกิดขึ้นในอัลจีเรีย อิรัก จอร์แดน คูเวต โมร็อกโก และซูดาน และการประท้วงเล็กเกิดในเลบานอน มอริเตเนีย โอมาน ซาอุดิอาระเบีย จิบูตี และเวสเทิร์นสะฮารา การประท้วงมีเทคนิคการดื้อแพ่งร่วมกันในการรณรงค์ต่อเนื่องซึ่งเกี่ยวข้องกับการนัดหยุดงาน การเดินขบวน การเดินแถว และการชุมนม เช่นเดียวกับการใช้โซเชียลมีเดียในการจัดระเบียบ สื่อสารและสร้างความตระหนักเมื่อเผชิญกับความพยายามของรัฐในการปราบปรามและตรวจพิจารณาอินเทอร์เน็ต การเดินขบวนอาหรับสปริงหลายประเทศเผชิญกับการตอบสนองรุนแรงจากทางการ เช่นเดียวกับทหารอาสาสมัครนิยมรัฐบาลและการเดินขบวนโต้ตอบ การโจมตีเหล่านี้ได้รับการสนองจากผู้ประท้วงด้วยความรุนแรงในบางกรณี.

ดู พ.ศ. 2554และอาหรับสปริง

อาซาเดห์ ชาฟิก

อาซาเดห์ ชาฟิก (พ.ศ. 2494 – 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554) เป็นพระธิดาในเจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี กับอะห์มัด ชาฟิก ชาวอียิปต์ โดยเจ้าหญิงอัชราฟ พระชนนีในอาซาเดห์เป็นพระขนิษฐาฝาแฝดในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์องค์สุดท้ายแห่งอิหร่าน ภายหลังการล้มล้างระบอบราชาธิปไตยในอิหร่าน อาซาเดห์ได้ทำการต่อต้านการปกครองอิหร่านของอยาตุลเลาะห์ โคมัยนีในต่างประเทศ โดยอาศัยในคฤหาสน์ดูปง (Villa Dupont) กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส อาซาเดห์ทำงานทางด้านสิทธิมนุษยชน และช่วยเหลือผู้ลี้ภัยชาวอิหร่านในประเทศตุรกี ด้านชีวิตส่วนตัวได้สมรสทั้งหมดสองครั้ง โดยครั้งสุดท้ายได้สมรสกับอดีตพนักงานชาวอิหร่าน โดยบุตรเพียงคนเดียวจากการสมรสครั้งแรกคือ คัมราน ชาฟิก (Kamran Shafiq) หรือ คาเมรอน ปาห์ลาวี ชาฟิก (Cameron Pahlavi) และต่อมาเจ้าหญิงได้ทำการขายคฤหาสน์ดูปงในภายหลัง อาซาเดห์ ชาฟิก ได้เสียชีวิตเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ดู พ.ศ. 2554และอาซาเดห์ ชาฟิก

อุทกภัยและโคลนถล่มในรัฐรีโอเดจาเนโร มกราคม พ.ศ. 2554

อุทกภัยและโคลนถล่มในรัฐรีโอเดจาเนโร มกราคม..

ดู พ.ศ. 2554และอุทกภัยและโคลนถล่มในรัฐรีโอเดจาเนโร มกราคม พ.ศ. 2554

อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554

อุทกภัยในประเทศไท..

ดู พ.ศ. 2554และอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554

อุดม อริยอุดมโรจน์

อุดม อริยอุดมโรจน์(อรย) หรือนามแฝงว่า อุดม อุดมโรจน์ (27 มิถุนายน พ.ศ. 2496-11 มกราคม พ.ศ. 2554) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย มีผลงานเด่นจากเรื่อง "ปุกปุย".

ดู พ.ศ. 2554และอุดม อริยอุดมโรจน์

อุดม ไกรวัตนุสสรณ์

นายอุดม ไกรวัตนุสสรณ์ (เกิด 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2510) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสมุทรสาคร 4 สมัย อดีตเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (วิเชษฐ์ เกษมทองศรี) เป็นบุตรชายของนายมณฑล ไกรวัตนุสสรณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ดู พ.ศ. 2554และอุดม ไกรวัตนุสสรณ์

อุซามะฮ์ บิน ลาดิน

อุซามะฮ์ บิน โมฮัมเหม็ด บิน อวัด บิน ลาดิน หรือ อุซามะฮ์ บิน ลาดิน (อังกฤษ: Osama bin Mohammed bin Awad bin Laden; Osama bin Laden) (10 มีนาคม พ.ศ. 2500 - 2 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และอุซามะฮ์ บิน ลาดิน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

งของยูเนสโก องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ ยูเนสโก (UNESCO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ก่อตั้งโดยได้มีการลงนามในธรรมนูญขององค์การ เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน..

ดู พ.ศ. 2554และองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ

ฮะมาส

มาส (حماس) ย่อมาจาก ฮะเราะกะฮ์ อัลมุกอวะมะฮ์ อัลอิสลามียะฮ์ (حركة المقاومة الاسلامية) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งของปาเลสไตน์ที่นับถือศาสนาอิสลามและมีกองกำลังติดอาวุธ มักถูกเรียกว่า กลุ่มหัวรุนแรงฮะมาส หรือ กลุ่มติดอาวุธฮะมาส ซึ่งมักก่อเหตุโจมตีกลุ่มฟะตะห์โดยใช้ระเบิดพลีชีพ อามาสเป็นขบวนการที่เป็นผลพวงของการต่อต้านอิสราเอลใน..

ดู พ.ศ. 2554และฮะมาส

ฮุสนี มุบาร็อก

นี มุบาร็อก หรือชื่อเต็มว่า มุฮัมมัด ฮุสนี ซัยยิด มุบาร็อก (محمد حسني سيد مبارك‎,; Muhammad Hosni Sayyid Mubarak) ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 4 แห่งสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ เคยดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดี ในปี ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และฮุสนี มุบาร็อก

จอห์น แบร์รี

อห์น แบร์รี ผู้อำนวยเพลง นักแต่งเพลงประกอบภาพยนตร์ชาวอังกฤษ มีชื่อเสียงในฐานะผู้อำนวยเพลง และแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์เจมส์ บอนด์ สูงสุดถึง 12 ภาค จาก 15 ภาคแรก และเป็นผู้แนะนำสตูดิโอผู้สร้าง ให้มอบหมายให้เดวิด อาร์โนลด์ เป็นผู้แต่งดนตรีประกอบต่อมาอีก 5 ภาค จนถึงภาคล่าสุด ผลงานแต่งดนตรีประกอบภาพยนตร์อื่นๆ ของแบร์รี ที่มีชื่อเสียง ได้แก่เรื่อง Midnight Cowboy (1969), King Kong (1976), Somewhere in Time (1980), Out of Africa (1985), Dances with Wolves (1990) และ Chaplin (1992) จอห์น แบร์รี เคยได้รับรางวัลออสการ์ จากผลงานดนตรีประกอบภาพยนตร์ Out of Africa และ Dances with Wolves.

ดู พ.ศ. 2554และจอห์น แบร์รี

จังหวัดบึงกาฬ

ึงกาฬ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนสุดของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร 765 กิโลเมตร จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และจังหวัดบึงกาฬ

จุลศักราช

ลศักราช (จ.ศ.; Culāsakaraj; ကောဇာသက္ကရာဇ်; ចុល្លសករាជ) เป็นศักราชที่เริ่มเมื่อ พ.ศ. 1181 (ค.ศ. 638) นับรอบปีตั้งแต่ 16 เมษายน ถึง 15 เมษายน เดิมเข้าใจกันว่าเป็นศักราชของพม่า ปรากฏอยู่ตามตำราโหราศาสตร์ แต่ทว่าปีที่ตั้งจุลศักราชนั้นเป็นเวลาก่อนปีที่พระเจ้าอโนรธามังช่อจะประสูติ สันนิษฐานว่าน่าจะตั้งขึ้นในปีที่กษัตริย์ปยูขึ้นครองราชย์ และใช้สืบต่อมาจนถึงอาณาจักรพุกามAung-Thwin 2005: 35 เมื่อสมัยอาณาจักรอโยธยารับศักราชนี้ไปใช้ เลยเกิดความเชื่อกันว่าเป็นศักราชของชาวพม่า จุลศักราชถูกนำมาใช้แพร่หลายทั้งในอาณาจักรล้านนา อาณาจักรสุโขทัยสมัยหลัง และอาณาจักรอยุธยา ในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ทรงตัดปีจุลศักราช และใช้ปีศักราชจุฬามณีแทน เป็นผลทำให้ปีนักษัตรคลาดเคลื่อนไปสามปี ต่อมาจึงได้เปลี่ยนกลับไปใช้ปีจุลศักราชตามเดิม และตกทอดมาถึงปัจจุบัน การคำนวณปี..

ดู พ.ศ. 2554และจุลศักราช

ถ้วน หลีกภัย

้วน หลีกภัย (นามเดิม: กิมถ้วน จูห้อง; เกิด: พ.ศ. 2458 — ตาย: 2 มีนาคม พ.ศ. 2554) หรือที่นิยมเรียกและรู้จักกันดีในชื่อ แม่ถ้วน เป็นมารดาของชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีคนที่ 20 ของประเทศไทย และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัต.

ดู พ.ศ. 2554และถ้วน หลีกภัย

ทองใบ ทองเปาด์

ทองใบ ทองเปาด์ (12 เมษายน พ.ศ. 2469 - 24 มกราคม พ.ศ. 2554) ทนายความ นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ผู้ได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และทองใบ ทองเปาด์

ทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริกา พ.ศ. 2554

ทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริก..

ดู พ.ศ. 2554และทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริกา พ.ศ. 2554

ทูมัส ทรานสเตรอเมอร์

ทูมัส ทรานสเตรอเมอร์ ทูมัส เยิสตา ทรานสเตรอเมอร์ (Tomas Gösta Tranströmer, 15 เมษายน ค.ศ. 1931 — 26 มีนาคม ค.ศ. 2015) เป็นนักเขียน กวี และนักแปลชาวสวีเดน ซึ่งผลงานกวีของเขาถูกแปลมากกว่า 60 ภาษาทั่วโลก ทรานสเตรอเมอร์ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในนักเขียนคนสำคัญที่สุดในสแกนดิเนเวียตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง บทวิจารณ์ได้ยกย่องบทกวีของทรานสเตรอเมอร์จากความเข้าใจง่าย แม้แต่ในการแปล บทกวีของเขาสามารถถ่ายทอดฤดูหนาวอันยาวนานของประเทศสวีเดน ทำนองแห่งฤดูกาลและบรรยากาศความงามของธรรมชาติได้อย่างชัดเจน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี..

ดู พ.ศ. 2554และทูมัส ทรานสเตรอเมอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว

ท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว (Международный Аэропорт Москва-Домодедово) ตั้งอยู่ที่ เมืองดามาเดียดดาวา เป็นท่าอากาศยานของ กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย ห่างจากตัวเมืองไปทางใต้ประมาณ 35 กิโลเมตร (22 ไมล์) เปิดให้บริการตั้งแต่ มีนาคม..

ดู พ.ศ. 2554และท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว

ขบวนการเอนจิน โกออนเจอร์

วนการเอนจิน โกออนเจอร์ หรือ เอนจิน เซนไท โกออนเจอร์ เป็นภาพยนตร์แนว ขบวนการนักสู้ ลำดับที่ 32 ของประเทศญี่ปุ่น เริ่มออกอากาศที่ประเทศญี่ปุ่น ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และขบวนการเอนจิน โกออนเจอร์

ข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1973

้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1973 เกี่ยวกับสถานการณ์ในลิเบีย ได้มีการตกลงรับเมื่อวันที่ 17 มีนาคม..

ดู พ.ศ. 2554และข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1973

ดาวอังคาร

วอังคาร (Mars) เป็นดาวเคราะห์ลำดับที่สี่จากดวงอาทิตย์ เป็นดาวเคราะห์เล็กที่สุดอันดับที่สองในระบบสุริยะรองจากดาวพุธ ในภาษาอังกฤษได้ชื่อตามเทพเจ้าแห่งสงครามของโรมัน มักได้รับขนานนาม "ดาวแดง" เพราะมีออกไซด์ของเหล็กดาษดื่นบนพื้นผิวทำให้มีสีออกแดงเรื่อ ดาวอังคารเป็นดาวเคราะห์หินที่มีบรรยากาศเบาบาง มีลักษณะพื้นผิวคล้ายคลึงกับทั้งหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์ และภูเขาไฟ หุบเขา ทะเลทราย ตลอดจนพิดน้ำแข็งขั้วดาวที่ปรากฏบนโลก คาบการหมุนรอบตัวเองและวัฏจักรฤดูกาลของดาวอังคารก็มีความคล้ายคลึงกับโลกซึ่งความเอียงก่อให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ดาวอังคารเป็นที่ตั้งของโอลิมปัสมอนส์ ภูเขาไฟใหญ่ที่สุดบนดาวอังคารและสูงสุดอันดับสองในระบบสุริยะเท่าที่มีการค้นพบ และเป็นที่ตั้งของเวลส์มาริเนริส แคนยอนขนาดใหญ่อันดับต้น ๆ ในระบบสุริยะ แอ่งบอเรียลิสที่ราบเรียบในซีกเหนือของดาวปกคลุมกว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งหมดและอาจเป็นลักษณะการถูกอุกกาบาตชนครั้งใหญ่ ดาวอังคารมีดาวบริวารสองดวง คือ โฟบอสและดีมอสซึ่งต่างก็มีขนาดเล็กและมีรูปร่างบิดเบี้ยว ทั้งคู่อาจเป็นดาวเคราะห์น้อยที่ถูกจับไว้ คล้ายกับทรอยของดาวอังคาร เช่น 5261 ยูเรกา ก่อนหน้าการบินผ่านดาวอังคารที่สำเร็จครั้งแรกของ มาริเนอร์ 4 เมื่อปี 1965 หลายคนคาดว่ามีน้ำในรูปของเหลวบนพื้นผิวดาวอังคาร แนวคิดนี้อาศัยผลต่างเป็นคาบที่สังเกตได้ของรอยมืดและรอยสว่าง โดยเฉพาะในละติจูดขั้วดาวซึ่งดูเป็นทะเลและทวีป บางคนแปลความรอยมืดริ้วลายขนานเป็นร่องทดน้ำสำหรับน้ำในรูปของเหลว ภายหลัง มีการอธิบายว่าภูมิประเทศเส้นตรงเหล่านั้นเป็นภาพลวงตา แม้ว่าหลักฐานทางธรณีวิทยาที่ภารกิจไร้คนบังคับรวบรวมชี้ว่า ครั้งหนึ่งดาวอังคารเคยมีน้ำปริมาณมากปกคลุมบนพื้นผิว ณ ช่วงใดช่วงหนึ่งในระยะต้น ๆ ของอายุ ในปี 2005 เรดาร์เผยว่ามีน้ำแข็งน้ำ (water ice) ปริมาณมากขั้วทั้งสองของดาว และที่ละติจูดกลาง ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารสปิริต พบตัวอย่างสารประกอบเคมีที่มีโมเลกุลน้ำเมื่อเดือนมีนาคม 2007 ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ พบตัวอย่างน้ำแข็งน้ำโดยตรงในดินส่วนตื้นของดาวอังคารเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2008 มียานอวกาศที่กำลังปฏิบัติงานอยู่เจ็ดลำ ห้าลำอยู่ในวงโคจร ได้แก่ 2001 มาร์สโอดิสซี มาร์สเอ็กซ์เพรส มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เมเว็น และมาร์สออร์บิเตอร์มิชชัน และสองลำบนพื้นผิว ได้แก่ ยานสำรวจภาคพื้นดาวอังคารออปพอร์ทูนิตี และยานมาร์สไซแอนซ์แลบอราทอรีคิวริออซิตี การสังเกตโดย มาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์ เปิดเผยว่ามีความเป็นไปได้ที่จะมีน้ำไหลในช่วงเดือนที่ร้อนที่สุดบนดาวอังคาร ในปี 2013 ยานคิวริออซิตี ของนาซาค้นพบว่าดินของดาวอังคารมีน้ำเป็นองค์ประกอบระหว่างร้อยละ 1.5 ถึง 3 โดยมวล แม้ว่าน้ำนั้นจะติดอยู่กับสารประกอบอื่น ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงได้โดยอิสระ กำลังมีการสืบค้นเพื่อประเมินศักยภาพความสามารถอยู่อาศัยได้ในอดีตของดาวอังคาร ตลอดจนความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตหลงเหลืออยู่ มีการสืบค้นบริเวณนั้นโดยส่วนลงจอด ''ไวกิง'' โรเวอร์ สปิริต และออปพอร์ทูนิตี ส่วนลงจอดฟีนิกซ์ และโรเวอร์ คิวริออซิตี มีการวางแผนภารกิจทางชีวดาราศาสตร์ไว้แล้ว ซึ่งรวม มาร์ส 2020 และเอ็กโซมาร์สโรเวอร์ ดาวอังคารสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจากโลกโดยง่ายซึ่งจะปรากฏให้เห็นเป็นสีออกแดง มีความส่องสว่างปรากฏได้ถึง −2.91 ซึ่งเป็นรองเพียงดาวพฤหัสบดี ดาวศุกร์ ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ กล้องโทรทรรศน์ภาคพื้นดินโดยทั่วไปมีขีดจำกัดการมองเห็นรายละเอียดของภูมิประเทศขนาดประมาณ 300 กิโลเมตรเมื่อโลกและดาวอังคารเข้าใกล้กันมากที่สุดอันเป็นผลจากบรรยากาศของโลก.

ดู พ.ศ. 2554และดาวอังคาร

คริสต์มาส

ริสต์มาส (Christmas; Crīstesmæsse, หมายถึง "พิธีมิสซาของพระคริสต์") หรือ วันสมโภชพระสมภพ (Feast of the Nativity) จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีเพื่อเฉลิมฉลองการประสูติของพระเยซู, The Catholic Encyclopedia, 1913.

ดู พ.ศ. 2554และคริสต์มาส

คลิฟฟ์ รอเบิร์ตสัน

ลิฟฟอร์ด พาร์กเกอร์ "คลิฟฟ์" รอเบิร์ตสัน ที่ 3 (Clifford Parker "Cliff" Robertson III; 9 กันยายน ค.ศ. 1923 – 10 กันยายน ค.ศ. 2011) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ผู้ชนะเลิศรางวัลออสการ์ในสาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง Charly นอกจากนี้ เขายังรับบทเป็นจอห์น เอฟ.

ดู พ.ศ. 2554และคลิฟฟ์ รอเบิร์ตสัน

คิม จ็อง-อิล

ม จ็อง-อิล มีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า ยูริ อีร์เซโนวิช คิม/Юрий Ирсенович Ким (ตามบันทึกโซเวียต) (16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1941/2 – 17 ธันวาคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และคิม จ็อง-อิล

คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

ณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (United Nations Security Council; UNSC) เป็นหนึ่งใน 6 เสาหลักของสหประชาชาติ และเป็นองค์กรในสหประชาชาติที่มีอิทธิพลรองลงมาจากสมัชชาใหญ่ เป็นองค์กรที่มีอำนาจในการเรียกระดมพลจากรัฐสมาชิกในสหประชาชาติเพื่อจัดตั้งเป็นกองกำลังรักษาสันติภาพเข้าไปปฏิบัติหน้าที่รักษาสันติภาพในประเทศและสงครามต่างๆ และยังมีอำนาจในการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อประเทศต่าง.

ดู พ.ศ. 2554และคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

ตริโปลี

ตริโปลีในแผนที่ พีรี่ รีส ตริโปลี (طرابلس, ภาษาอาหรับลิเบีย:, ภาษาเบอร์เบอร์: Ṭrables, มาจาก Τρίπολις "สามเมือง") เป็นเมืองใหญ่ที่สุดและ เมืองหลวงของลิเบีย บางครั้งจะเรียกว่าตริโปลีตะวันตก (طرابلس الغرب) เพื่อให้ต่างจากตริโปลีในเลบานอน ตริโปลีมีประชากร 1,065,405 (พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และตริโปลี

ตรุษจีน

pinoy301770 ตรุษจีน เป็นวันหยุดตามประเพณีของจีนที่สำคัญที่สุด ในประเทศจีน ยังมีอีกชื่อหนึ่งว่า "เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ" เพราะฤดูใบไม้ผลิตามปฏิทินจีนเริ่มต้นด้วยวันลีชุน ซึ่งเป็นวันแรกในทางสุริยคติของปีปฏิทินจีน วันดังกล่าวยังเป็นวันสิ้นสุดฤดูหนาว ซึ่งคล้ายกันกับงานเทศกาลของตะวันตก เทศกาลนี้เริ่มต้นในวันที่ 1 เดือน 1 (正月) ในปฏิทินจีนโบราณและสิ้นสุดลงในวันที่ 15 ด้วยเทศกาลโคมไฟ คืนก่อนตรุษจีนเป็นวันซึ่งครอบครัวจีนมารวมญาติเพื่อรับประทานอาหารเย็นเป็นประจำทุกปี ซึ่งเรียกว่า ฉูซี่ (除夕) หรือ "การผลัดเปลี่ยนยามค่ำคืน" เนื่องจากปฏิทินจีนเป็นแบบสุริยจันทรคติ ตรุษจีนจึงมักเรียกว่า "วันขึ้นปีใหม่จันทรคติ" ตรุษจีนเป็นงานเฉลิมฉลองที่ยาวที่สุดและสำคัญที่สุดในปฏิทินจีน จุดกำเนิดของตรุษจีนนั้นมีประวัติหลายศตวรรษและมีความสำคัญเพราะตำนานและประเพณีหลายอย่าง ตรุษจีนมีการเฉลิมฉลองกันในหลายประเทศและดินแดนซึ่งมีประชากรจีนอาศัยอยู่มาก อย่างเช่น จีนแผ่นดินใหญ่ ฮ่องกง อินโดนีเซีย มาเก๊า มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไต้หวัน ไทย รวมทั้งในชุมชนชาวจีนที่อื่น ตรุษจีนถูกมองว่าเป็นวันหยุดสำคัญสำหรับชาวจีนและได้มีอิทธิพลต่อการเฉลิมฉลองการขึ้นปีใหม่จันทรคติของประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งรวมทั้งเกาหลี (โซลนาล) ภูฏาน และเวียดนาม ในประเทศจีน ธรรมเนียมและประเพณีท้องถิ่นเกี่ยวกับการเฉลิมฉลองตรุษจีนนั้นหลากหลายมาก ประชาชนจะเทเงินของตนเพื่อซื้อของขวัญ ของประดับตกแต่ง วัสดุ อาหารและเครื่องนุ่งห่ม นอกจากนี้ยังมีประเพณีว่า ทุกครอบครัวจะทำความสะอาดบ้านอย่างละเอียดลออ เพื่อปัดกวาดโชคร้ายด้วยหวังว่าจะเปิดทางให้โชคดีเข้ามา มีการประดับหน้าต่างและประตูด้วยกระดาษตัดสีแดงและคู่กับธีม "โชคดี", "ความสุข", "ความมั่งคั่ง" และ "ชีวิตยืนยาว" ที่ได้รับความนิยม ในคืนก่อนตรุษจีน อาหารค่ำเป็นการกินเลี้ยงกับครอบครัว อาหารนั้นจะมีเช่น หมู เป็ด ไก่และอาหารอย่างดี (delicacies) รสหวาน ครอบครัวจะปิดท้ายค่ำคืนด้วยประทัด เช้าวันรุ่งขึ้น เด็กจะทักทายบิดามารดาของตนโดยอวยพรพวกท่านให้มีสุขภาพดีและสวัสดีปีใหม่ และได้รับเงินอั่งเปา ประเพณีตรุษจีนนั้นเพื่อการสมานฉันท์ ลืมความบาดหมางและปรารถนาสันติและความสุขแก่ทุกคนอย่างจริงใจ แม้ปฏิทินจีนแต่โบราณไม่ใช้ปีตัวเลขต่อเนื่องกัน นอกประเทศจีน ปีจีนจึงมักนับเลขนับแต่รัชสมัยจักรพรรดิเหลือง แต่เนื่องจากมีการกำหนดให้อย่างน้อยสามปีเป็นเลข 1 ที่นักวิชาการใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน จึงทำให้ปี..

ดู พ.ศ. 2554และตรุษจีน

ตะวักกุล กัรมาน

ตะวักกุล อับดุสซะลาม กัรมาน (توكل عبد السلام كرمان, เกิด ค.ศ. 1979) เป็นนักการเมืองเยเมนผู้เป็นสมาชิกอาวุโสของพรรคฝ่ายค้าน อัลอีศลาห์ (Al-Īṣlāḥ) และนักเคลื่อนไหวสิทธิมนุษยชนผู้นำกลุ่มสื่อมวลชนสตรีปราศจากโซ่ตรวนแห่งเยเมน (Women Journalists without Chains) ซึ่งเธอก่อตั้งขึ้นใน..

ดู พ.ศ. 2554และตะวักกุล กัรมาน

ซะวะดะ ไทจิ

ทจิ ซะวะดะ (沢田 泰司 Sawada Taiji, 12 กรกฎาคม 1966 – 17 กรกฎาคม 2011) หรือ ไทจิ เป็นนักดนตรีชาวญี่ปุ่น มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักในฐานะอดีตสมาชิกในตำแหน่งมือเบสของวง เอ็กซ์ หรือ เอ็กซ์เจแปน โดยไทจิถือเป็นสมาชิกในยุคคลาสสิกของวงเอ็กซ์ และมีผลงานที่สร้างชื่อร่วมกับทางวง 3 อัลบั้ม ได้แก่ แวนิชชิง วิชัน, บลูบลัด และ เจลัสซี นอกจากเป็นที่จดจำในฐานะมือเบสแถวหน้าในวงการเพลงของญี่ปุ่นแล้ว ไทจิยังมีความสามารถทางด้านการแต่งเพลง รวมถึงการเล่นกีตาร์อคูสติก โดยหลังจากที่ลาออกจากวงเอ็กซ์ ในเดือน มกราคม ปี..1992 ไทจิ ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของวงดนตรีเฮฟวีเมทัล ชื่อดังอย่างวง ลาวด์เนส รวมถึงเป็นผู้ก่อตั้งวงดนตรี เดอร์ตี แทรช โรด หรือ ดีทีอาร์ ซึ่งมีผลงานออกมาในยุค 90 นอกจากนี้ยังได้ร่วมเล่นเบสให้กับวงดนตรีอีกหลายวงของประเทศญี่ปุ่น.

ดู พ.ศ. 2554และซะวะดะ ไทจิ

ซีน อัลอาบิดีน บิน อะลี

ซีน อัลอาบิดีน บิน อะลี ซีน อัลอาบิดีน บิน อะลี (زين العابدين بن علي; Zine El Abidine Ben Ali; เกิด 3 กันยายน ค.ศ. 1936) เป็นอดีตนักการเมืองและประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐตูนิเซียคนที่สอง ซึ่งครองตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 7 พฤศจิกายน..

ดู พ.ศ. 2554และซีน อัลอาบิดีน บิน อะลี

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และปฏิทินเกรโกเรียน

ประชากรโลก

ประมาณประชากรโลกตั้งแต่ปี 1800 ถึง 2100 ตามhttp://esa.un.org/wpp/unpp/panel_population.htm ผลการคาดคะเนของสหประชาชาติเมื่อปี 2010 ('''แดง''' '''ส้ม''' '''เขียว''') และhttp://www.census.gov/ipc/www/worldhis.html การประมาณในอดีตของสำนักสำมะโนสหรัฐ ('''ดำ''') ตัวเลขประชากรที่บันทึกจริงเป็นสี'''น้ำเงิน''' ตามการประมาณสูงสุด ประชากรโลกอาจสูงถึง 16,000 ล้านคนในปี 2100 ตามการประมาณต่ำสุด ประชากรโลกอาจลดลงเหลือ 6 พันล้านคน ประชากรโลก เป็นจำนวนมนุษย์ทั้งหมดที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลก ซึ่งปัจจุบันองค์การสหประชาชาติ (UN) ประมาณการว่าประชากรโลกมีจำนวนราวๆ 7,300 ล้านคน ณ เดือนกรกฎาคม..

ดู พ.ศ. 2554และประชากรโลก

ประเทศบังกลาเทศ

ังกลาเทศ (বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศบังกลาเทศ

ประเทศชิลี

ลี (Chile ชีเล) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐชิลี (Republic of Chile; República de Chile) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาใต้ มีเนื้อที่ติดชายฝั่งทะเลยาวระหว่างเทือกเขาแอนดีสกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีอาณาเขตจรดประเทศอาร์เจนตินาทางทิศตะวันออก จรดโบลิเวียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และจรดเปรูทางทิศเหนือ ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกของประเทศมีความยาว 6,435 กิโลเมตร ซีไอเอ ชิลีมีดินแดนในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยครอบครองหมู่เกาะควนเฟร์นันเดซ เกาะซาลาอีโกเมซ หมู่เกาะเดสเบนตูราดัส และเกาะอีสเตอร์ในโพลินีเซีย ชิลียังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนในแอนตาร์กติกาด้ว.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศชิลี

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ดู พ.ศ. 2554และประเทศฟิลิปปินส์

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ดู พ.ศ. 2554และประเทศญี่ปุ่น

ประเทศภูฏาน

ประเทศภูฏาน (Bhutan; บูตาน) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรภูฏาน เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีขนาดเล็ก และมีภูเขาเป็นจำนวนมาก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยระหว่างประเทศอินเดียกับประเทศจีน ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศคือ Druk Yul แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder Dragon)" นอกจากนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Druk Tsendhen และชื่อเพลงชาติ เนื่องจากที่ภูฏาน เสียงสายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน (Bhutan) มาจากคำสมาสในภาษาบาลี ภู-อุฏฺฏาน อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง" (ในภาษาฮินดี สะกด भूटान ถอดเป็นตัวอักษรคือ ภูฏาน).

ดู พ.ศ. 2554และประเทศภูฏาน

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ดู พ.ศ. 2554และประเทศรัสเซีย

ประเทศลิเบีย

ลิเบีย (ليبيا) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ มีชายฝั่งบนทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอียิปต์ไปทางตะวันออก ประเทศซูดานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศชาดและประเทศไนเจอร์ไปทางใต้ และประเทศแอลจีเรียและตูนิเซียไปทางตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อตริโปลี ประเทศลิเบียมีพื้นที่เกือบ 1,800,000 ตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา และประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับที่ 17 เมืองหลวง กรุงตริโปลี มีชาวลิเบียอาศัยอยู่ 1.7 ล้านคน จากทั้งประเทศ 6.4 ล้านคน ตามข้อมูลเมื่อปี..

ดู พ.ศ. 2554และประเทศลิเบีย

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศออสเตรีย

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศอิสราเอล

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศอินเดีย

ประเทศฮังการี

ังการี (Hungary, Magyarország มอยอโรรฺซาก) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars) ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลต.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศฮังการี

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ดู พ.ศ. 2554และประเทศตุรกี

ประเทศตูนิเซีย

ตูนิเซีย (Tunisia; تونس‎) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตูนิเซีย (Tunisian Republic; الجمهورية التونسية) เป็นประเทศอาหรับมุสลิมที่ตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศทางตะวันออกสุดและเล็กที่สุดของ 3 ประเทศบนเทือกเขาแอตลาส (Atlas mountains) มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดประเทศแอลจีเรีย และทางใต้และตะวันตกจรดประเทศลิเบีย พื้นที่ร้อยละ 40 ของประเทศประกอบด้วยทะเลทรายสะฮารา ในขณะที่ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่ประกอบด้วยพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ และชายฝั่งที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ทั้งคู่มีบทบาทอย่างมากในสมัยโบราณ เริ่มต้นด้วยการก่อตั้งเมืองคาร์เทจ (Carthage) ที่มีชื่อของชาวฟีนีเชีย (Phoenicia) และในเวลาต่อมาได้กลายเป็นพื้นที่มณฑลแอฟริกา (Africa Province) เป็นพื้นที่อู่ข้าวอู่น้ำของอาณาจักรโรมัน สันนิษฐานว่า ชื่อ ตูนิส (Tunis) มาจากภาษาเบอร์เบอร์ (Berber) แปลว่าแหลมซึ่งสอดคล้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ที่เป็นแหลมยื้นเข้าไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน หรือ อีกความหมายหนึ่งนั้น แปลว่า "พักแรม".

ดู พ.ศ. 2554และประเทศตูนิเซีย

ประเทศซามัว

รัฐเอกราชซามัว (ซามัว: Malo Sa‘oloto Tuto'atasi o Sāmoa; Independent State of Samoa) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ซามัว (ซามัว: Sāmoa; Samoa) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยหมู่เกาะอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ชื่อในอดีตคือ เยอรมันซามัว ระหว่างปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศซามัว

ประเทศซาอุดีอาระเบีย

ซาอุดีอาระเบีย (Saudi Arabia; السعودية) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (المملكة العربية السعودية) เป็นรัฐอาหรับในเอเชียตะวันออกกลาง กินอาณาบริเวณกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่ประมาณ 2,149,690 ตารางกิโลเมตร ประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในโลกอาหรับรองจากประเทศแอลจีเรีย ประเทศซาอุดีอาระเบียมีพรมแดนติดประเทศจอร์แดนและอิรักทางเหนือ ประเทศคูเวตทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศกาตาร์ บาห์เรนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทางตะวันออก ประเทศโอมานทางตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศเยเมนทางใต้ เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งติดทั้งทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย และภูมิประเทศส่วนใหญ่ประกอบด้วยทะเลทรายแห้งแล้ง อยู่อาศัยไม่ได้ หรือธรณีสัณฐานไม่อุดม พื้นที่ประเทศซาอุดีอาระเบียสมัยใหม่ประกอบด้วยสี่ภูมิภาคสำคัญ ได้แก่ ฮิญาซ นัจญด์ และบางส่วนของอาระเบียตะวันออกและอาระเบียใต้ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียก่อตั้งในปี 2475 โดย พระเจ้าอิบนุ ซะอูด (King Ibnu Saud) พระองค์ทรงรวบรวมสี่ภูมิภาคเข้าเป็นรัฐเดี่ยวผ่านชุดการพิชิตเริ่มตั้งแต่ปี 2445 ด้วยการยึดรียาด บ้านบรรพบุรุษแห่งราชวงศ์ซะอูดของพระองค์ นับแต่นั้น ประเทศเป็นสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นเผด็จการสืบสายโลหิตที่ปกครองตามแบบอิสลาม ขบวนการศาสนาวะฮาบีย์ภายในนิกายซุนนีย์ถูกเรียกว่า "ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมซาอุดีอาระเบีย" บ้างเรียกประเทศซาอุดีอาระเบียว่า "ดินแดนสองมัสยิดศักดิ์สิทธิ์" โดยหมายถึง อัลมัสยิดอัลฮาราม (Al-Masjid al-Haram) ในมักกะฮ์ และอัลมัสยิดอันนาบาวี (Al-Masjid al-Nabawi) ในมะดีนะฮ์ ซึ่งเป็นสองมัสยิดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนาอิสลาม แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย มีประชากร 28.7 ล้านคน สัญชาติซาอุดีอาระเบีย 20 ล้านคน และ 8.7 ล้านคนเป็นชาวต่างประเทศ มีการค้นพบปิโตรเลียมในปี 2481 และประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้ผลิตและส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของโลกแต่ต่อไปน้ำมันคงไร้ความหมาย โดยควบคุมน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก ราชอาณาจักรจัดอยู่ในเศรษฐกิจรายได้สูงของธนาคารโลกโดยมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูง และเป็นประเทศอาหรับประเทศเดียวที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 ทว่า เศรษฐกิจซาอุดีอาระเบียมีความหลากหลายน้อยที่สุดในสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรเป็นอัตตาธิปไตยราชาธิปไตยและฟรีดอมเฮาส์จัดว่า "ไม่เสรี" ประเทศซาอุดีอาระเบียมีรายจ่ายทางทหารสูงสุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และในปี 2553–2557 SIPRI พบว่าประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของโลก ประเทศซาอุดีอาระเบียถือว่าเป็นอำนาจภูมิภาคและปานกลาง นอกเหนือจากสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรยังเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมืออิสลามและโอเปคและนอกจากนี้ยังเริ่มมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางทะเลอีกด้ว.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศซาอุดีอาระเบีย

ประเทศซูดาน

ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศซูดาน

ประเทศปากีสถาน

ปากีสถาน (Pakistan; پاکستان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน (Islamic Republic of Pakistan; اسلامی جمہوریہ پاکستان) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเอเชียใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศอินเดีย อิหร่าน อัฟกานิสถาน และ จีน และมีชายฝั่งติดกับทะเลอาหรับ มีประชากรกว่า 150 ล้านคน มากเป็นอันดับ 6 ของโลก และเป็นประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ใหญ่เป็นอันดับ 2 และเป็นสมาชิกที่สำคัญของ โอไอซี และเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ไว้ในครอบครอง คำว่า "ปากีสถาน" ซึ่งมีความหมายว่า "ดินแดนของชนบริสุทธิ์" ในภาษาอูรดูและภาษาเปอร์เซียนั้น มาจากการรวมชื่อดินแดนในประเทศนี้ ประกอบด้วยปัญจาบ (Punjab) อัฟกาเนีย (Afghania) แคชเมียร์หรือกัศมีร์ (Kashmir) สินธ์ (Sindh) และบาลูจิสถาน (BaluchisTAN).

ดู พ.ศ. 2554และประเทศปากีสถาน

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศนอร์เวย์

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศนิวซีแลนด์

ประเทศโกตดิวัวร์

กตดิวัวร์ (Côte d'Ivoire) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ไอวอรีโคสต์ (Ivory Coast) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ (République de Côte d'Ivoire) เป็นประเทศในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่บริเวณแอฟริกาตะวันตก ทิศตะวันตกติดกับประเทศกินีและประเทศไลบีเรีย ทิศเหนือติดกับประเทศมาลีและประเทศบูร์กินาฟาโซ ทิศตะวันออกติดกับประเทศกานา ส่วนทิศใต้เป็นอ่าวกินี ในอดีตเป็นประเทศที่เจริญรุ่งเรืองแห่งหนึ่งของแอฟริกา แต่ช่วงหลังต้องเผชิญปัญหาสงครามกลางเมืองและการคอร์รัปชัน.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศโกตดิวัวร์

ประเทศโครเอเชีย

รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศโครเอเชีย

ประเทศโซมาเลีย

ซมาเลีย (Somalia; Soomaaliya; الصومال) หรือชื่อประเทศอย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (Federal Republic of Somalia; Jamhuuriyadda Federaalka Soomaaliya; جمهورية الصومال الفدرالية) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี และ สาธารณรัฐโซมาลี มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับจีบูติ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเคนยา มีพื้นที่ทางทิศเหนือติดกับประเทศเยเมนโดยมีอ่าวเอเดนเป็นพรมแดนทางทะเล ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปี.

ดู พ.ศ. 2554และประเทศโซมาเลีย

ประเทศไอซ์แลนด์

อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..

ดู พ.ศ. 2554และประเทศไอซ์แลนด์

ประเทศเซาท์ซูดาน

ซาท์ซูดาน (South Sudan) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเซาท์ซูดาน (Republic of South Sudan) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออก เมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดมีชื่อว่า จูบา ซึ่งตั้งอยู่ในรัฐอิเควทอเรียลกลางที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศ เซาท์ซูดานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ทางตะวันออกมีอาณาเขตติดต่อกับเอธิโอเปีย ทางใต้ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ทางตะวันตกติดต่อกับสาธารณรัฐแอฟริกากลาง และทางเหนือติดต่อกับซูดาน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นบึงตมซึ่งเกิดขึ้นจากแม่น้ำไนล์ขาว หลังจากซูดานได้รับเอกราชเมื่อปี..

ดู พ.ศ. 2554และประเทศเซาท์ซูดาน

ปอง ปรีดา

ปอง ปรีดา (พ.ศ. 2475 - 6 มกราคม พ.ศ. 2554) เป็นนักร้องลูกทุ่งเสียงดี มีความพิเศษตรงที่ร้องเพลงเสียงสูงได้ดี เนื่องจากมีปอดที่ใหญ่ เขาเคยประกาศประโยคเด็ดว่า “ กูเกิดมาเพื่อร้องเพลง”นอกจากนั้นก็ยังนักแต่งเพลงฝีมือดีจากดินแดนที่ราบสูง เขาสร้างสรรค์ผลงานเพลงเอาไว้มากมาย และได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่รักดินแดนบ้านเกิดอย่างยิ่ง เมื่อเป็นผู้ที่ร้องเพลงที่บอกเรื่องราวถึงแม่น้ำโขงเอาไว้มากที่สุดในประเทศไทย ปอง ปรีดา มีชื่อเสียงโด่งดังจากเพลง “ สาวฝั่งโขง “ สี่ทหารเสือของวงดนตรีจุฬารัตน์ จากซ้าย ปอง ปรีดา, นคร ถนอมทรัพย์, ทูล ทองใจ, พร ภิรม.

ดู พ.ศ. 2554และปอง ปรีดา

ปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)

ปาเลสไตน์ (فلسطين‎ ฟาลัสติน) (Palestine) เป็นชื่อสามัญของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ในเอเชียตะวันตกระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับแม่น้ำจอร์แดน และ ดินแดนใกล้เคียงต่าง ๆ Carl S.

ดู พ.ศ. 2554และปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)

ปีสากลแห่งป่าไม้

..

ดู พ.ศ. 2554และปีสากลแห่งป่าไม้

ปีสากลแห่งเคมี

ปีสากลแห่งเคมี 2011 เป็นการระลึกถึงความก้าวหน้าในวิชาเคมี และการมีส่วนต่อมนุษยชาติ July 9, 2009.

ดู พ.ศ. 2554และปีสากลแห่งเคมี

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (เช่น พ.ศ. 2554 2548 2537 2526 2520 2509) อา | style.

ดู พ.ศ. 2554และปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์

นริศ อารีย์

นริศ อารีย์ (31 ธันวาคม พ.ศ. 2473 - 30 กันยายน พ.ศ. 2554) เป็นนักร้องเพลงลูกกรุงรุ่นใหญ่ ที่ได้รับการยกย่องเป็นหนึ่งในสามขุนพลเพลงลูกกรุง ร่วมกับ สุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร นริศ อารีย์ เป็นน้องชายแท้ๆของ วรนุช อารีย์ นักร้องนำวงสุนทราภรณ์ ชอบร้องเพลงประกวดตามงานวัด หลังจากชนะเลิศการประกวดร้องเพลงที่วิทยาลัยบพิตรพิมุขจึงได้เข้าสู่วงการ แสดงละครวิทยุและร้องเพลงกับคณะละครพันตรีศิลปะ และร้องเพลงสลับฉากที่ศาลาเฉลิมไทย และศาลาเฉลิมกรุง รุ่นเดียวกับสุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร เพลงของนริศ อารีย์ ที่มีชื่อเสียง คือเพลง "ชัวนิจนิรันดร" (พยงค์ มุกดา) "คอย" และ "สักวันหนึ่ง" (ป.

ดู พ.ศ. 2554และนริศ อารีย์

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ดู พ.ศ. 2554และนายกรัฐมนตรี

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และนาซา

แกรี มัวร์

รเบิร์ต วิลเลียม แกรี มัวร์ (4 เมษายน ค.ศ. 1952 - 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011) เป็นนักกีตาร์ นักร้อง นักแต่งเพลงแนวบลูส์ร็อกจากเบลฟาสต์ ไอร์แลนด์เหนือ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในชื่อ "แกรี มัวร์" มัวร์เริ่มอาชีพการแสดงดนตรีตั้งแต่ช่วงปลายทศวรรษ 1960 เมื่ออายุเพียง 17 ปี เคยแสดงดนตรีร่วมกับนักดนตรีในระดับตำนานเช่น บี.

ดู พ.ศ. 2554และแกรี มัวร์

แกรี สปีด

แกรี แอนดรูว์ สปีด, เอ็มบีอี (Gary Andrew Speed, MBE) (8 กันยายน ค.ศ. 1969 - 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 2011) เป็นนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอล ชาวเวลส์ เขาเป็นกัปตันฟุตบอลทีมชาติเวลส์ เขาเกษียณตัวจากทีมชาติในปี..

ดู พ.ศ. 2554และแกรี สปีด

แรกนาขวัญ

วาดในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 แสดงพิธีแรกนาขวัญในพม่า แรกนาขวัญ (Ploughing Ceremony; បុណ្យច្រត់ព្រះនង្គ័ល; မင်္ဂလာလယ်တော် Mingala Ledaw หรือ လယ်ထွန်မင်္ဂလာ Lehtun Mingala) เป็นพิธีกรรมที่พบเห็นได้ในหลายประเทศทางแถบเอเชีย จัดขึ้นเพื่อเริ่มต้นฤดูการปลูกข้าวแบบดั้งเดิม ในประเทศไทย การแรกนาขวัญซึ่งกระทำโดยราชสำนักนั้นประกอบด้วยพิธีสองอย่างตามลำดับ คือ พระราชพิธีพืชมงคล เป็นพิธีพุทธซึ่งตั้งขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ กับพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เป็นพิธีพราหมณ์ซึ่งกระทำสืบเนื่องมาแต่สมัยสุโขทัย ปัจจุบัน เรียกวันแรกนาขวัญว่า วันพืชมงคล ซึ่งจัดไม่ตรงกันทุกปีสุดแต่สำนักพระราชวังจะกำหนด วันพืชมงคลยังเป็นวันเกษตรกรไทย เพื่อระลึกถึงความสำคัญของเกษตรกรรมในเศรษฐกิจไทย และเป็นวันหยุดราชการด้วย แต่ไม่เป็นวันหยุดธนาคาร.

ดู พ.ศ. 2554และแรกนาขวัญ

แรนดี ซาเวจ

แรนดี มาริโอ พอฟโฟ (Randy Mario Poffo) (15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1952 - 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2011) อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกันของWWFในชื่อ แรนดี ซาเวจ (Randy Savage) ปัจจุบันได้เสียชีวิตลงด้วยวัย 58 ปี และได้เข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอีประจำปี 2015.

ดู พ.ศ. 2554และแรนดี ซาเวจ

แผ่นดินไหวที่วาน พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวที่วาน เป็นแผ่นดินไหวขนาด 7.1 โมเมนต์แมกนิจูด ซึ่งถล่มทางตะวันออกของตุรกีใกล้กับนครวาน เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม..

ดู พ.ศ. 2554และแผ่นดินไหวที่วาน พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพัน..

ดู พ.ศ. 2554และแผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮะก..

ดู พ.ศ. 2554และแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554

แดน เชชท์มัน

แดน เชชท์มัน แดน เชชท์มัน (דן שכטמן, Dan Shechtman; เกิด 24 มกราคม พ.ศ. 2485 ในเทลอาวีฟ) เป็นศาสตราจารย์แห่งภาควิชาวัสดุศาสตร์ที่สถาบันเทคโนโลยีเทคเนียน-อิสราเอล, รองศาสตราจารย์แห่งห้องปฏิบัติการอาเมส กระทรวงพลังงานสหรัฐอเมริกา และศาสตราจารย์แห่งภาควิชาวัสดุศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต เมื่อวันที่ 8 เมษายน..

ดู พ.ศ. 2554และแดน เชชท์มัน

แคว้นประเทศบาสก์

ประเทศบาสก์ (Basque Country), ประเทศบัสโก (País Vasco) หรือ เอวส์กาดี (Euskadi) เป็นแคว้นปกครองตนเองแคว้นหนึ่งในภาคเหนือของราชอาณาจักรสเปน ประกอบด้วยจังหวัดกีปุซโกอา จังหวัดบิซกายา และจังหวัดอาลาบา ประเทศบาสก์หรือแคว้นประเทศบาสก์มีสถานะเป็น "ชาติ" (nationality) ภายในประเทศสเปนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสเปน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และแคว้นประเทศบาสก์

แคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์

แคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ (Catherine, Duchess of Cambridge) หรือพระนามเมื่อเกิดว่า แคเธอริน อิลิซะเบธ "เคต" มิดเดิลตัน (Catherine Elizabeth Middleton) เป็นพระชายาในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ ประสูติเมื่อวันที่ 9 มกราคม..

ดู พ.ศ. 2554และแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์

แซนซิบาร์

แผนที่เกาะหลักของแซนซิบาร์ แซนซิบาร์ (Zanzibar) คือชื่อรวมของเกาะ 2 เกาะของประเทศแทนซาเนีย คือ เกาะอุงกูจา (นิยมเรียกว่าเกาะแซนซิบาร์) และเกาะเพมบา เมืองหลวงของแซนซิบาร์ คือเมืองแซนซิบาร์ตั้งอยู่บนเกาะอุงกูจา ซึ่งมีเขตเมืองเก่าเป็นมรดกโลก แซนซิบาร์มีการปกครองตนเอง อย่างไรก็ดี แซนซิบาร์ยังเป็นส่วนหนึ่งของแทนซาเนีย ประชากรของแซนซิบาร์สำรวจเมื่อ..

ดู พ.ศ. 2554และแซนซิบาร์

โบฮีเมีย

ีเมีย (Čechy; Bohemia; Czechy) เป็นดินแดนในประวัติศาสตร์ของยุโรปกลาง กินเนื้อที่สองในสามทางตะวันตกของดินแดนเช็ก ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเช็กเกีย ในความหมายที่กว้างกว่านั้น ในบางครั้งยังใช้เรียกเขตแดนเช็กทั้งหมด รวมถึงมอเรเวียและเช็กไซลิเซีย โดยเฉพาะในบริบททางประวัติศาสตร์ เช่น ราชอาณาจักรโบฮีเมี.

ดู พ.ศ. 2554และโบฮีเมีย

โกร่ง กางเกงแดง

กร่ง กางเกงแดง มีชื่อจริงว่า ณรงค์ รตาภรณ์ เป็นนักแสดงอาวุโสชาวไทย มีผลงานแสดงภาพยนตร์มากกว่า 200 เรื่อง โดยรับบทบาทเป็นตัวประกอบ บทตลก มีบุคลิกที่เป็นเอกลักษณ์คือ จะสวมกางเกงสีแดง ก่อนจะมาเป็นนักแสดง ณรงค์ รตาภรณ์เคยประกอบอาชีพเป็นข้าราชการตำรวจ โดยรับราชการที่สถานีตำรวจนครบาลสำราญราษฎร์ นอกจากจะรับงานเป็นนักแสดงประกอบเป็นครั้งคราวแล้ว ยังมีอาชีพเดินเร่ขายของที่ระลึกตามงานต่าง.

ดู พ.ศ. 2554และโกร่ง กางเกงแดง

โลร็อง บากโบ

ลร็อง บากโบ โลร็อง กูดู บากโบ (Laurent Koudou Gbagbo, เกิด 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2488) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 4 แห่งโกตดิวัวร์ ตั้งแต..

ดู พ.ศ. 2554และโลร็อง บากโบ

โจ ไซมอน

ซมอนที่งาน 2006 นิวยอร์กคอมิกคอนกับชายในชุดกัปตันอเมริกา โจเซฟ เฮนรี่ "โจ" ไซมอน (Joseph Henry "Joe" Simon; 11 ตุลาคม ค.ศ. 1913 — 14 ธันวาคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และโจ ไซมอน

โทเคอเลา

ทเคอเลา (Tokelau) เป็นเขตการปกครองตนเองกึ่งอาณานิคมของนิวซีแลนด์ โดยประกอบไปด้วยอะทอลล์ทั้งหมด 3 แห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ โทเคอเลาเคยมีชื่อเดิมว่า หมู่เกาะยูเนียน (Union Islands) จนกระทั่งปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และโทเคอเลา

ไพโรจน์ สุวรรณฉวี

ว่าที่ร้อยตรีไพโรจน์ สุวรรณฉวี (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 - 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และแกนนำกลุ่มโคราช พรรคเพื่อแผ่นดิน.

ดู พ.ศ. 2554และไพโรจน์ สุวรรณฉวี

เบ็ตตี ฟอร์ด

อลิซาเบธ แอน บลูมเมอร์ วอร์เรน ฟอร์ด (8 เมษายน พ.ศ. 2461 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) หรือทีรู้จักกันคือ เบ็ตตี ฟอร์ด เป็นภริยาของอดีตประธานาธิบดีเจอรัลด์ ฟอร์ด และสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และเบ็ตตี ฟอร์ด

เลย์มาห์ โบวี

ลย์มาห์ โบวี เลย์มาห์ โบวี (เกิด พ.ศ. 2515) เป็นนักเคลื่อนไหวสันติภาพแอฟริกา ผู้มีส่วนจัดตั้งขบวนการสันติภาพซึ่งนำไปสู่การยุติสงครามกลางเมืองไลบีเรียครั้งที่สองใน..

ดู พ.ศ. 2554และเลย์มาห์ โบวี

เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์ (Westminster Abbey) เดิมเป็นแอบบีย์ แต่ปัจจุบันเป็นโบสถ์ในนิกายแองกลิคันที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในนครเวสต์มินสเตอร์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิกเป็นส่วนใหญ่นอกจากหอคอยที่เป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก เป็นสถานที่ประกอบพิธีราชาภิเษกและที่ฝังพระบรมศพพระมหากษัตริย์อังกฤษและพระศพพระบรมวงศานุวงศ์ ระหว่างปี..

ดู พ.ศ. 2554และเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์

เสม พริ้งพวงแก้ว

ตราจารย์ นายแพทย์ เสม พริ้งพวงแก้ว (31 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ..

ดู พ.ศ. 2554และเสม พริ้งพวงแก้ว

เส้นแบ่งเขตวันสากล

รูปแสดงเส้นแบ่งเขตวันสากล (สีดำกลางภาพ) เส้นแบ่งเขตวันสากล (International Date Line: IDL) เป็นเส้นสมมติที่ลากในแนวเหนือ-ใต้บนพื้นผิวของโลก ผ่านใจกลางมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งกำหนดสถานที่ซึ่งวันตามปฏิทินเริ่มต้น เส้นดังกล่าวอยู่ที่ประมาณลองติจูด 180 องศา ตรงข้ามกับเส้นเมริเดียนแรก แต่ลากอ้อมบางดินแดนและกลุ่มเกาะบางกลุ่ม เวลาทางตะวันออกของเส้นแบ่งเขตวันสากลช้ากว่าทางตะวันตกอยู่ 1 วัน เมื่อข้ามเส้นดังกล่าวไปทางตะวันออกจึงต้องหักวันออกหนึ่งวัน และเมื่อข้ามเส้นดังกล่าวไปทางตะวันตกต้องเพิ่มวันเข้าหนึ่งวัน.

ดู พ.ศ. 2554และเส้นแบ่งเขตวันสากล

เหตุระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว พ.ศ. 2554

หตุระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว..

ดู พ.ศ. 2554และเหตุระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว พ.ศ. 2554

เหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554

หตุโจมตีในนอร์เว..

ดู พ.ศ. 2554และเหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554

เหตุเรือข้ามฟากล่มในแซนซิบาร์

หตุเรือข้ามฟากล่มในแซนซิบาร์ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 10 กันยายน..

ดู พ.ศ. 2554และเหตุเรือข้ามฟากล่มในแซนซิบาร์

เอมี ไวน์เฮาส์

อมี เจด ไวน์เฮาส์ (เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1983 - เสียชีวิต 23 กรกฎาคม ค.ศ. 2011) นักร้องแนวโซลชาวอังกฤษ และนักแต่งเพลงแจ๊ส อัลบั้มชุดแรกของเธอออกในปี 2003 ชื่อชุด Frank ได้ถูกเสนอชื่อรางวัลเมอร์คิวรีไพรซ์ และเธอได้รับรางวัลไอวอร์ โนเวลโล ในปี 2004 สำหรับซิงเกิลเปิดตัวของเธอ "Stronger than Me" และอีกครั้งหนึ่งในเดือน พฤษภาคม 2007 กับซิงเกิลแรกจากอัลบั้มในปี 2006 Back to Black ในเพลง "Rehab" และต่อมาในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ยังได้รับรางวัลบริทอวอร์ด สาขาศิลปินหญิงที่ดีที่สุดของเกาะอังกฤษ นอกจากนั้นยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิก อวอร์ดส ปี 2007 อีกด้วย ในปี 2007 เธอชนะได้รับรางวัลแกรมมี สาขาเพลงแห่งปี ในเพลง rehab สาขาบันทึกเสียงแห่งปี ทางด้านชีวิตส่วนตัว เธอได้เข้าพิธีแต่งงานกับแฟนหนุ่ม เบลค ฟิดเลอร์ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2007 เกี่ยวกับสุขภาพเธอเป็นโรคซึมเศร้า มีปัญหาติดยาและติดเหล้า เธอเคยถูกจับกุมข้อหาครอบครองยาเสพติด พร้อมกับเบลก ฟิล์ดเดอร์-ซิวิล สามีของเธอ และในช่วงปลายปี 2007 โดนจับอีกครั้งเนื่องจากข้อหาทำร้ายร่างกายสามี แต่ทั้งสองคดีจบไปตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ทั้งคู่ได้แยกทางกันในเวลาต่อมา ก่อนไวน์เฮาส์จะเสียชีวิต ที่รายงานว่าเธอคบหาอยู่กับเรก แทรวิสส์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ แต่เพิ่งเลิกรากันก่อนหน้านั้นประมาณหนึ่งสัปดาห์ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้เธอเศร้าเสียใจ ดื่มสุราและเสพยาอย่างหนักจนเสียชีวิต.

ดู พ.ศ. 2554และเอมี ไวน์เฮาส์

เอลิซาเบธ เทย์เลอร์

ณหญิง เอลิซาเบธ โรสมอนด์ เทย์เลอร์ (Dame Elizabeth Rosemond Taylor, DBE) (27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 - 23 มีนาคม ค.ศ. 2011) หรือเป็นที่รู้จักอีกชื่อว่า ลิซ เทย์เลอร์ เป็นนักแสดงอังกฤษ-อเมริกัน ที่เกิดในอังกฤษ เป็นที่รู้จักในด้านบทบาทการแสดงอันจัดจ้านและความงาม เช่นเดียวกับการใช้ชีวิตแบบฮอลลีวูด เธอแต่งงานมาแล้วหลายครั้ง เทย์เลอร์ถือเป็นหนึ่งในนักแสดงหญิงที่โด่งดังที่สุดในยุคทองของฮอลลีวูด และถือเป็นคนดังที่โดดเด่นมากคนหนึ่ง เทย์เลอร์ได้รับรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม 2 ครั้ง รางวัลออสการ์เกียรติคุณ 1 ครั้ง รางวัลลูกโลกทองคำ 2 ครั้ง และยังเป็นเจ้าของรางวัลอื่นๆ อีกมาก สถาบันภาพยนตร์อเมริกัน ได้ให้เทย์เลอร์เป็นนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมที่สุดตลอดกาลเป็นลำดับที่ 7.

ดู พ.ศ. 2554และเอลิซาเบธ เทย์เลอร์

เอลเลน จอห์นสัน เซอร์ลีฟ

อลเลน จอห์นสัน เซอร์ลีฟ เอลเลน จอห์นสัน เซอร์ลีฟ (เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2481) เป็นประธานาธิบดีไลบีเรียคนที่ 24 และคนปัจจุบัน เธอเคยดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีคลังในสมัยประธานาธิบดีวิลเลียม โทลเบิร์ต ตั้งแต..

ดู พ.ศ. 2554และเอลเลน จอห์นสัน เซอร์ลีฟ

เอตา

อตา (ETA) หรือ ดินแดนบาสก์และอิสรภาพ (Euskadi Ta Askatasuna) หรือที่สื่อไทยบางแห่งเรียก กบฏแบ่งแยกดินแดนแคว้นบาสก์ เป็นองค์กรชาตินิยมและแบ่งแยกดินแดนติดอาวุธชาวบาสก์ กลุ่มนี้ก่อตั้งขึ้นใน..

ดู พ.ศ. 2554และเอตา

เจริญใจ สุนทรวาทิน

ริญใจ สุนทรวาทิน (16 กันยายน พ.ศ. 2458 - 10 เมษายน พ.ศ. 2554) เป็นศิลปิน และนักวิชาการชาวไทยด้านศิลปวัฒนธรรมแบบราชสำนัก มีความสามารถในด้านการละคร ชำนาญในการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยประเภทวงเครื่องสายและวงมโหรี โดยเฉพาะซอสามสาย มีความเชี่ยวชาญในการขับร้องเพลงประกอบการแสดงนาฏกรรม รวมถึงเพลงไทยเพื่อการฟังตามแบบฉบับและแนวทางร่วมสมัย กล่าวได้ว่า เป็นผู้ที่มีน้ำเสียงไพเราะ ขับร้องด้วยอารมณ์อันสมจริง ประณีตละเมียดละไม ได้อรรถรสของวรรณคดี ได้รับการขนานนามจากนักดนตรีไทยว่าเป็น “เพชรประดับมงกุฎแห่งคีตศิลป์ไทย” เจริญใจ สุนทรวาทิน เป็นที่รู้จักในวงการเพลงไทยตั้งแต่วัยเยาว์ เคยเป็นข้าราชบริพารในยุคก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เคยได้รับรางวัลชนะเลิศระดับชาติจากการประกวดขับร้องเพลงไทย เป็นครูผู้ควบคุมวงดนตรีและสอนการขับร้องเพลงไทย เป็นอาจารย์ผู้ถวายงานสอนดนตรีและขับร้องแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) ประจำปีพุทธศักราช 2530 จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต.

ดู พ.ศ. 2554และเจริญใจ สุนทรวาทิน

เจน รัสเซลล์

ออร์เนสติ เจน เจอราลดีน รัสเซลล์ (Ernestine Jane Geraldine Russell; 21 มิถุนายน 1921 – 28 กุมภาพันธ์ 2011) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน และเป็นหนึ่งในดาราของฮอลลีวูดที่เป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1940 และ 1950 ในปี 1943 รัสเซลล์ย้ายจากมิดเวสต์ไปแคลิฟอร์เนีย ซึ่งทำให้เธอได้มีบทบาทในภาพยนตร์คาวบอยเรื่องแรก The Outlaw ในปี 1953 เธอมีผลงานที่สร้างชื่อเสียงที่สุดคือการร่วมงานกับ มาริลีน มอนโร ในภาพยนตร์เรื่อง Gentlemen Prefer Blondes นอกจากการแสดงแล้ว รัสเซลล์ยังเคยผันตัวไปเข้าวงการเพลง โดยตั้งวงดนตรีแนวกอสเปล และออกซิงเกิลฮิตออกมาในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1950 จากนั้นเธอหันมาให้ความสนใจเกี่ยวกับศาสนา โดยก่อตั้งกลุ่ม "ฮอลลีวูดคริสเตียนกรุป" สอนไบเบิลให้คนในวงการที่บ้านของเธอเอง โดยเธอยังประสบความสำเร็จในการเล่นซีรีส์เรื่อง Praise the Lord อีกด้วย รัสเซลล์แสดงภาพยนตร์ 20 เรื่อง ตลอดอาชีพการแสดงของเธอและได้ทำงานในวงการเพลงเป็นพักๆ ก่อนที่จะเข้าสู่วงการละครเวทีในคริสต์ทศวรรษ 1970 รัสเซลล์ได้รับรางวัลจากหลายสถาบันสำหรับความสำเร็จของเธอในภาพยนตร์รวมทั้งเธอยังได้ประทับฝ่ามือและรอยเท้าที่โรงละครจีนเกราแมน และมีดาวจารึกชื่อในฮอลลีวูดวอล์กออฟเฟม.

ดู พ.ศ. 2554และเจน รัสเซลล์

เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์

้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ หรือ วิลเลียม อาร์เธอร์ ฟิลิป หลุยส์ (His Royal Highness Prince William Duke of Cambridge; William Arthur Philip Louis; ประสูติ: 21 มิถุนายน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์

เจ้าชายวินเซนต์แห่งเดนมาร์ก

้าชายวินเซนต์ เฟรเดอริก มีนิก อเล็กซานเดอร์แห่งเดนมาร์ก เคานต์แห่งมงเปอซา (8 มกราคม พ.ศ. 2554) พระโอรสพระองค์ที่สามในมกุฎราชกุมารเฟรเดริกแห่งเดนมาร์ก ประสูติแต่มกุฎราชกุมารีแมรีแห่งเดนมาร์ก และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กและสมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ พระองค์ทรงอยู่ในลำดับที่สี่ในการสืบราชบัลลังก์เดนมาร์ก.

ดู พ.ศ. 2554และเจ้าชายวินเซนต์แห่งเดนมาร์ก

เจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2

้าชายอาลี เรซาที่ 2 ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย:رضا پهلوی, ประสูติ 28 เมษายน ค.ศ. 1966 - 4 มกราคม ค.ศ. 2011) พระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวีและอิหร่าน.

ดู พ.ศ. 2554และเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2

เจ้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏาน

้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏาน (พระราชสมภพ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559) เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก และสมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก นอกจากนี้พระองค์ยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น มกุฎราชกุมารแห่งภูฎาน โดยได้ทรงรับพระราชทานพระนามเมื่อวันที่ 16 เมษายน..

ดู พ.ศ. 2554และเจ้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏาน

เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก

้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก (Frederik André Henrik Christian, Kronprins til Danmark; ประสูติ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2511, กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก) เป็นรัชทายาทแห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก กับเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี พระองค์มีพระอนุชาคือ เจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก.

ดู พ.ศ. 2554และเจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก

เจ้าหญิงอองตัวแนตแห่งโมนาโก

้าหญิงอองตัวแนตแห่งโมนาโก, บารอนเนสแห่งเมสซี และเคานท์เตสแห่งโปลีญัก (ประสูติ 28 ธันวาคม ค.ศ. 1920 - สิ้นพระชนม์ 18 มีนาคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และเจ้าหญิงอองตัวแนตแห่งโมนาโก

เจ้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์ก, เคาน์เตสแห่งมงเปอซา (Mary Elizabeth, Kronprinsesse af Danmark, grevinde af Monpezat., ประสูติ: 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515) มีพระนามเดิมว่า แมรี เอลิซาเบธ โดนัลด์สัน (Mary Elizabeth Donaldson) ที่ปรึกษาการตลาดชาวออสเตรเลีย ที่ต่อมาเป็นพระชายาในเจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก พระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก กับเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี.

ดู พ.ศ. 2554และเจ้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์ก

เจ้าหญิงโจเซฟินแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงโจเซฟิน โซเฟีย อีวาโล มาทิลดาแห่งเดนมาร์ก เคาน์เตสแห่งมงเปอซา (8 มกราคม พ.ศ. 2554) พระบุตรพระองค์ที่สี่ในมกุฎราชกุมารเฟรเดริกแห่งเดนมาร์ก ประสูติแต่มกุฎราชกุมารีแมรีแห่งเดนมาร์ก พระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กและสมเด็จพระราชินีอันเนอ-มารีแห่งกรีซ พระองค์ทรงอยู่ในลำดับที่ห้าในการสืบราชบัลลังก์เดนมาร์ก.

ดู พ.ศ. 2554และเจ้าหญิงโจเซฟินแห่งเดนมาร์ก

เถาะ

right เถาะ เป็นชื่อปีที่ 4 ของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นกระต่าย พุทธศักราชที่ตรงกับปีเถาะ เช่น พ.ศ. 2506, พ.ศ. 2518, พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2554และเถาะ

เทศกาลไหว้พระจันทร์

ทศกาลไหว้พระจันทร์ หรือ เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วง (Moon Festival, Mid-Autumn Festival; จีนตัวเต็ม: 中秋節; จีนตัวย่อ: 中秋节; พินอิน: zhōngqiū jié; เวียดนาม: Tết Trung Thu) เป็นเทศกาลตามวัฒนธรรมจีนที่มีขึ้นในกลางฤดูใบไม้ร่วง เพื่อเฉลิมฉลองการเก็บเกี่ยว จะมีขึ้นในคืนวันเพ็ญเดือน 8 ตามปฏิทินจันทรคติ (กันยายนตามปฏิทินสากล) ในเทศกาลนี้ ชาวจีนจะเฉลิมฉลองด้วยการไหว้ดวงจันทร์ในเวลากลางคืน ในบางประเทศ เช่น สิงคโปร์ หรือเวียดนาม จะจัดเป็นประเพณีใหญ่ มีการเฉลิมฉลองด้วยโคมไฟสีแดง เป็นสีสันยามค่ำคืน หรือบางแห่งอาจมีการเชิดมังกร ทั้งนี้จะมีชื่อเรียกต่างกันออกไปตามแต่ท้องถิ่น นอกจากนี้แล้ว ยังมีขนมชนิดหนึ่ง เรียกว่า "ขนมไหว้พระจันทร์" (月饼) ที่มีสันฐานกลมคล้ายขนมเค้ก ทำจากแป้ง มีไส้ต่าง ๆ เป็นธัญพืช ใช้เซ่นไหว้และรับประทานกันจนเป็นเอกลักษณ์สำหรับเทศกาลนี้ ที่มาของเทศกาลนี้ เกี่ยวกับเทพปกรณัมจีนที่เล่าถึง เทพธิดาแห่งดวงจันทร์ ที่ชื่อ "ฉางเอ๋อ" (嫦娥) ซึ่งเป็นหญิงคนรักของโฮวอี้ นักยิงธนูแห่งสวรรค์ ที่ใช้ธนูยิงดวงอาทิตย์ตกลงไปถึง 9 ดวงจากทั้งหมด 10 ดวง ซึ่งเป็นการกระทำที่ฝ่าฝืนบัญชาสวรรค์ จึงโดนลงทัณฑ์ให้ไปใช้ชีวิตธรรมดาเช่นมนุษย์ทั่วไปบนโลกมนุษย์กับฉางเอ๋อ แต่แล้วโฮวอี้ก็ถูกคนสนิททรยศฆ่าตาย ส่วนฉางเอ๋อนางได้ดื่มน้ำอมฤตเพื่อที่จะมีชีวิตอมตะ แล้วเหาะกลับไปยังดวงจันทร์อีกครั้งตามลำพังด้วยความเศร้าสร้อย ในยุคของฮั่นเหวินตี้ (漢文帝) แห่งราชวงศ์ฮั่น ได้ทรงพระสุบินว่า พระองค์ลอยขึ้นไปเที่ยวชมพระราชวังบนดวงจันทร์ และได้พบกับฉางเอ๋อกำลังร่ายรำอยู่อย่างงดงาม ในสุบินนั้น พระองค์ทรงเพลิดเพลินและเกษมสำราญเป็นอย่างยิ่ง กระทั่งเมื่อตื่นพระบรรทมและโปรดให้สุบินนั้นเป็นความจริง จึงมีรับสั่งให้นางสนมแต่งตัวและร่ายรำเลียนแบบเทพธิดาฉางเอ๋อที่พระองค์ได้พบเจอมา จนแพร่หลายไปสู่ราษฎรและเป็นประเพณีมา ซึ่งในอดีต ชาวจีนโดยเฉพาะหญิงสาวจะสวดขอพรจากฉางเอ๋อเพื่อที่ขอให้มีความเยาว์วัยและงดงามตลอดไปดุจดั่งนาง นอกจากนี้แล้ว ยังมีอีกตำนานหนึ่งที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ขณะที่ชาวฮั่นถูกปกครองอย่างกดขี่จากชาวมองโกล (ราชวงศ์หยวน) ได้มีการก่อกบฏขึ้นของชาวฮั่น ด้วยการแอบส่งสาสน์บอกต่อ ๆ กันในไส้ขนม ความว่า คืนนี้เมื่อเวลายาม 3 ให้ทุกบ้านจัดการสังหารทหารมองโกลให้หมด อันเป็นที่มาของขนมไหว้พระจันทร.

ดู พ.ศ. 2554และเทศกาลไหว้พระจันทร์

เดอะนิวยอร์กไทมส์

อะนิวยอร์กไทมส์ (The New York Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่ตีพิมพ์ในนครนิวยอร์กและจัดจำหน่ายไปทั่วโลก จัดการโดยบริษัทเดอะนิวยอร์กไทมส์ซึ่งตีพิมพ์หนังสือพิมพ์อื่นๆอีก 15 ฉบับ รวมถึง International Herald Tribune และ The Boston Globe ด้วย เดอะนิวยอร์กไทมส์เป็นหนังสือพิมพ์มหานครที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีฉายาว่า "Gray Lady" (สุภาพสตรีสีเทา) ก็เพราะหน้าตาและสำนวนที่ขรึมขลัง ถูกเรียกว่าเป็นหนังสือพิมพ์ที่บันทึกแห่งการณ์ต่างๆของชาติ เพราะมันมักถูกใช้เป็นแหล่งอ้างอิงที่เป็นทางการและได้รับความเชื่อถือ ก่อตั้งเมื่อ..

ดู พ.ศ. 2554และเดอะนิวยอร์กไทมส์

เดนนิส ริตชี

นนิส แม็กคาลิสแตร์ ริตชี (Dennis MacAlistair Ritchie) (9 กันยายน พ.ศ. 2484 — 12 ตุลาคม พ.ศ. 2554 (วันที่พบศพ)) เป็นนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ชาวอเมริกัน ผู้มีอิทธิพลต่อภาษาซีและภาษาโปรแกรมอื่น ๆ รวมทั้งระบบปฏิบัติการหลายชนิดเช่นมัลติกส์และยูนิกซ์ เขาได้รับรางวัลทัวริงเมื่อ..

ดู พ.ศ. 2554และเดนนิส ริตชี

เค็ง ยะมะงุชิ

็ง ยะมะงุชิ เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2499 ที่จังหวัดโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น อดีตเคยสังกัดค่ายโปรดักชันเบาบั๊บ แต่ปัจจุบันไม่ได้สังกัดค่ายใ.

ดู พ.ศ. 2554และเค็ง ยะมะงุชิ

เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์

นายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ อดีตนักการเมืองและนักธุรกิจชาวไทยที่มีชื่อเสียง เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ และอดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ พรรคเอกภาพ รวมถึงเป็นรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม.

ดู พ.ศ. 2554และเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์

เซลล์ต้นกำเนิด

ซลล์ต้นกำเนิด หรือ เซลล์ต้นตอ (stem cell) เป็นเซลล์ไม่จำเพาะซึ่งสามารถเจริญ (differentiate) ไปเป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่เฉพาะและสามารถแบ่งตัวแบบไมโทซิสเพื่อสร้างเซลล์ต้นกำเนิดเพิ่มได้ เซลล์ต้นกำเนิดพบในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แบ่งเซลล์ต้นกำเนิดออกกว้าง ๆ ได้เป็นสองชนิด คือ เซลล์ต้นกำเนิดจากตัวอ่อน (embryonic stem cell) ซึ่งแยกจากมวลเซลล์ชั้นในของตัวอ่อนระยะบลาสโตซิสท์ (blastocyst) และเซลล์ต้นกำเนิดเต็มวัย (adult stem cell) ซึ่งพบในเนื้อเยื่อหลายชนิด ในสิ่งมีชีวิตเต็มวัย เซลล์ต้นกำเนิดและโปรเจนิเตอร์เซลล์ (progenitor cell) ทำหน้าที่เป็นระบบซ่อมแซมของร่างกาย โดยทดแทนเนื้อเยื่อเต็มวัย ในตัวอ่อนที่กำลังเจริญ เซลล์ต้นกำเนิดสามารถเจริญไปเป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่เฉพาะได้ทุกชนิด ทั้งเอ็กโทเดิร์ม เอ็นโดเดิร์มและเมโซเดิร์ม ทว่า ยังคงการหมุนเวียนปกติของอวัยวะที่สร้างใหม่ได้ (normal turnover of regenerative organ) เช่น เลือด ผิวหนังและเนื้อเยื่อลำไส้ได้อีกด้วย แหล่งที่เข้าถึงได้ของเซลล์ต้นกำเนิดเต็มวัยตัวเอง (autologous) ในมนุษย์มีสามแหล่ง คือ.

ดู พ.ศ. 2554และเซลล์ต้นกำเนิด

10 พฤศจิกายน

วันที่ 10 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 314 ของปี (วันที่ 315 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 51 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ10 พฤศจิกายน

10 พฤษภาคม

วันที่ 10 พฤษภาคม เป็นวันที่ 130 ของปี (วันที่ 131 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 235 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ10 พฤษภาคม

10 กันยายน

วันที่ 10 กันยายน เป็นวันที่ 253 ของปี (วันที่ 254 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 112 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ10 กันยายน

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ10 เมษายน

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ11 กุมภาพันธ์

11 มกราคม

วันที่ 11 มกราคม เป็นวันที่ 11 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 354 วันในปีนั้น (355 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ11 มกราคม

11 มีนาคม

วันที่ 11 มีนาคม เป็นวันที่ 70 ของปี (วันที่ 71 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 295 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ11 มีนาคม

11 เมษายน

วันที่ 11 เมษายน เป็นวันที่ 101 ของปี (วันที่ 102 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 264 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ11 เมษายน

12 กันยายน

วันที่ 12 กันยายน เป็นวันที่ 255 ของปี (วันที่ 256 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 110 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ12 กันยายน

12 มกราคม

วันที่ 12 มกราคม เป็นวันที่ 12 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 353 วันในปีนั้น (354 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ12 มกราคม

12 ตุลาคม

วันที่ 12 ตุลาคม เป็นวันที่ 285 ของ.

ดู พ.ศ. 2554และ12 ตุลาคม

13 พฤษภาคม

วันที่ 13 พฤษภาคม เป็นวันที่ 133 ของปี (วันที่ 134 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 232 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ13 พฤษภาคม

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ดู พ.ศ. 2554และ13 ตุลาคม

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ13 เมษายน

14 มกราคม

วันที่ 14 มกราคม เป็นวันที่ 14 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 351 วันในปีนั้น (352 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ14 มกราคม

14 สิงหาคม

วันที่ 14 สิงหาคม เป็นวันที่ 226 ของปี (วันที่ 227 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 139 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ14 สิงหาคม

14 ธันวาคม

วันที่ 14 ธันวาคม เป็นวันที่ 348 ของปี (วันที่ 349 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 17 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ14 ธันวาคม

15 พฤศจิกายน

วันที่ 15 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 319 ของปี (วันที่ 320 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 46 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ15 พฤศจิกายน

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ15 กรกฎาคม

15 ธันวาคม

วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ15 ธันวาคม

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ15 เมษายน

16 กรกฎาคม

วันที่ 16 กรกฎาคม เป็นวันที่ 197 ของปี (วันที่ 198 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 168 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ16 กรกฎาคม

16 สิงหาคม

วันที่ 16 สิงหาคม เป็นวันที่ 228 ของปี (วันที่ 229 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 137 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ16 สิงหาคม

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ16 ธันวาคม

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ17 พฤษภาคม

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ17 กรกฎาคม

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ17 มีนาคม

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ17 ธันวาคม

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ18 กันยายน

18 กุมภาพันธ์

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 49 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 316 วันในปีนั้น (317 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ18 กุมภาพันธ์

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ18 มีนาคม

18 ตุลาคม

วันที่ 18 ตุลาคม เป็นวันที่ 291 ของปี (วันที่ 292 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 74 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ18 ตุลาคม

19 มกราคม

วันที่ 19 มกราคม เป็นวันที่ 19 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 346 วันในปีนั้น (347 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ19 มกราคม

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ19 มีนาคม

2 พฤษภาคม

วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ2 พฤษภาคม

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ2 มกราคม

2 มีนาคม

วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ2 มีนาคม

20 พฤษภาคม

วันที่ 20 พฤษภาคม เป็นวันที่ 140 ของปี (วันที่ 141 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 225 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ20 พฤษภาคม

20 กรกฎาคม

วันที่ 20 กรกฎาคม เป็นวันที่ 201 ของปี (วันที่ 202 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 164 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ20 กรกฎาคม

20 กันยายน

วันที่ 20 กันยายน เป็นวันที่ 263 ของปี (วันที่ 264 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 102 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ20 กันยายน

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ20 ตุลาคม

21 พฤษภาคม

วันที่ 21 พฤษภาคม เป็นวันที่ 141 ของปี (วันที่ 142 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 224 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ21 พฤษภาคม

21 กรกฎาคม

วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ21 กรกฎาคม

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ21 มกราคม

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ21 มิถุนายน

21 เมษายน

วันที่ 21 เมษายน เป็นวันที่ 111 ของปี (วันที่ 112 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 254 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ21 เมษายน

22 กรกฎาคม

วันที่ 22 กรกฎาคม เป็นวันที่ 203 ของปี (วันที่ 204 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 162 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ22 กรกฎาคม

22 กุมภาพันธ์

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 53 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 312 วันในปีนั้น (313 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ22 กุมภาพันธ์

22 มกราคม

วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ22 มกราคม

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ22 สิงหาคม

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ23 พฤศจิกายน

23 กรกฎาคม

วันที่ 23 กรกฎาคม เป็นวันที่ 204 ของปี (วันที่ 205 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 161 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ23 กรกฎาคม

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ23 กุมภาพันธ์

23 มีนาคม

วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ23 มีนาคม

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ23 ตุลาคม

24 มกราคม

วันที่ 24 มกราคม เป็นวันที่ 24 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 341 วันในปีนั้น (342 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ24 มกราคม

24 มีนาคม

วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ24 มีนาคม

24 ตุลาคม

วันที่ 24 ตุลาคม เป็นวันที่ 297 ของปี (วันที่ 298 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 68 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ24 ตุลาคม

24 เมษายน

วันที่ 24 เมษายน เป็นวันที่ 114 ของปี (วันที่ 115 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 251 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ24 เมษายน

25 ธันวาคม

วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่ 359 ของปี (วันที่ 360 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 6 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ25 ธันวาคม

26 พฤศจิกายน

วันที่ 26 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 330 ของปี (วันที่ 331 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 35 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ26 พฤศจิกายน

27 พฤศจิกายน

วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ27 พฤศจิกายน

27 กรกฎาคม

วันที่ 27 กรกฎาคม เป็นวันที่ 208 ของปี (วันที่ 209 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 157 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ27 กรกฎาคม

27 ตุลาคม

วันที่ 27 ตุลาคม เป็นวันที่ 300 ของปี (วันที่ 301 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 65 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ27 ตุลาคม

28 กุมภาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ28 กุมภาพันธ์

28 เมษายน

วันที่ 28 เมษายน เป็นวันที่ 118 ของปี (วันที่ 119 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 247 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ28 เมษายน

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ29 กันยายน

29 ธันวาคม

วันที่ 29 ธันวาคม เป็นวันที่ 363 ของปี (วันที่ 364 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 2 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ29 ธันวาคม

29 เมษายน

วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ29 เมษายน

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ3 พฤศจิกายน

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ3 กรกฎาคม

3 กุมภาพันธ์

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 34 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 331 วันในปีนั้น (332 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ3 กุมภาพันธ์

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ30 กันยายน

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ30 มกราคม

31 ตุลาคม

วันที่ 31 ตุลาคม เป็นวันที่ 304 ของปี (วันที่ 305 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 61 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ31 ตุลาคม

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ4 กรกฎาคม

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ4 มกราคม

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ4 มิถุนายน

5 กันยายน

วันที่ 5 กันยายน เป็นวันที่ 248 ของปี (วันที่ 249 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 117 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ5 กันยายน

5 มิถุนายน

วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ5 มิถุนายน

5 มีนาคม

วันที่ 5 มีนาคม เป็นวันที่ 64 ของปี (วันที่ 65 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 301 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ5 มีนาคม

5 สิงหาคม

วันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันที่ 217 ของปี (วันที่ 218 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 148 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ5 สิงหาคม

5 ตุลาคม

วันที่ 5 ตุลาคม เป็นวันที่ 278 ของปี (วันที่ 279 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 87 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ5 ตุลาคม

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ6 กุมภาพันธ์

6 มกราคม

วันที่ 6 มกราคม เป็นวันที่ 6 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 359 วันในปีนั้น (360 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ6 มกราคม

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ6 มิถุนายน

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ7 พฤษภาคม

7 สิงหาคม

วันที่ 7 สิงหาคม เป็นวันที่ 219 ของปี (วันที่ 220 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 146 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ7 สิงหาคม

8 กรกฎาคม

วันที่ 8 กรกฎาคม เป็นวันที่ 189 ของปี (วันที่ 190 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 176 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ8 กรกฎาคม

8 กันยายน

วันที่ 8 กันยายน เป็นวันที่ 251 ของปี (วันที่ 252 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 114 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ8 กันยายน

8 มกราคม

วันที่ 8 มกราคม เป็นวันที่ 8 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 357 วันในปีนั้น (358 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ8 มกราคม

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ8 สิงหาคม

9 พฤษภาคม

วันที่ 9 พฤษภาคม เป็นวันที่ 129 ของปี (วันที่ 130 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 236 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ9 พฤษภาคม

9 กรกฎาคม

วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ9 กรกฎาคม

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ9 กันยายน

9 มกราคม

วันที่ 9 มกราคม เป็นวันที่ 9 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 356 วันในปีนั้น (357 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2554และ9 มกราคม

9 มิถุนายน

วันที่ 9 มิถุนายน เป็นวันที่ 160 ของปี (วันที่ 161 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 205 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2554และ9 มิถุนายน

หรือที่รู้จักกันในชื่อ ร.ศ. 229พ.ศ. ๒๕๕๔ค.ศ. 2011

พระมหากษัตริย์พระราชวรนายก (สำรวม ปิยธัมโม)พระราชวังบักกิงแฮมพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร)พายุโซนร้อนวาชิพีต พอเซิลธ์เวตกระสวยอวกาศกระสวยอวกาศแอตแลนติสกริมสวอทน์การลงประชามติแยกเซาท์ซูดานเป็นเอกราช พ.ศ. 2554การปฏิวัติตูนิเซียการปะทุของกริมสวอทน์ พ.ศ. 2554การปะทุของภูเขาไฟปูเยอวย พ.ศ. 2554การปิดน่านฟ้าทั่วยุโรปจากการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553การแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิตการแทรกแซงทางทหารในลิเบีย พ.ศ. 2554การไหลตามฤดูกาลของน้ำบนดาวอังคารกาเหว่า เสียงทองกำจร สถิรกุลกิลัด ชาลิตกุ้งนาง ปัทมสูตภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิมหาสมุทรแปซิฟิกมอสโกมาร์สรีคอนเนสเซนซ์ออร์บิเตอร์มาร์โก ซีมอนเชลลีมานพ สัมมาบัติมือปืน/โลก/พระ/จันมูอัมมาร์ กัดดาฟีมนัส โอภากุลยิ่งลักษณ์ ชินวัตรรอยเตอร์สรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยรัฐรีโอเดจาเนโรรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2554ราษฎรอาวุโสรางวัลรามอน แมกไซไซรางวัลโนเบลรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรางวัลโนเบลสาขาเคมีรางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์รียาดลอนดอนวันมาฆบูชาวันลอยกระทงวันวิสาขบูชาวันออกพรรษาวันอาสาฬหบูชาวันเข้าพรรษาวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปวิสุทธ์ บุษยกุลศศิมาภรณ์ ไชยโกมลศูนย์อวกาศเคนเนดีสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสมชาย สุนทรวัฒน์สมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสโร)สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุกสมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุกสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสหรัฐสหประชาชาติสัตยะ สาอี บาบาสันติ ทักราลสุวโรช พะลังสงกรานต์สงครามกลางเมืองลิเบียสงครามอิรักสตีฟ จอบส์หวอ จี๊ กงอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะออสโลออทโท ฟอน ฮับส์บูร์กอัลกออิดะฮ์อัลเบร์โต กรานาโดอาหรับสปริงอาซาเดห์ ชาฟิกอุทกภัยและโคลนถล่มในรัฐรีโอเดจาเนโร มกราคม พ.ศ. 2554อุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554อุดม อริยอุดมโรจน์อุดม ไกรวัตนุสสรณ์อุซามะฮ์ บิน ลาดินองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติฮะมาสฮุสนี มุบาร็อกจอห์น แบร์รีจังหวัดบึงกาฬจุลศักราชถ้วน หลีกภัยทองใบ ทองเปาด์ทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริกา พ.ศ. 2554ทูมัส ทรานสเตรอเมอร์ท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโวขบวนการเอนจิน โกออนเจอร์ข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1973ดาวอังคารคริสต์มาสคลิฟฟ์ รอเบิร์ตสันคิม จ็อง-อิลคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติตริโปลีตรุษจีนตะวักกุล กัรมานซะวะดะ ไทจิซีน อัลอาบิดีน บิน อะลีปฏิทินเกรโกเรียนประชากรโลกประเทศบังกลาเทศประเทศชิลีประเทศฟิลิปปินส์ประเทศญี่ปุ่นประเทศภูฏานประเทศรัสเซียประเทศลิเบียประเทศออสเตรียประเทศอิสราเอลประเทศอินเดียประเทศฮังการีประเทศตุรกีประเทศตูนิเซียประเทศซามัวประเทศซาอุดีอาระเบียประเทศซูดานประเทศปากีสถานประเทศนอร์เวย์ประเทศนิวซีแลนด์ประเทศโกตดิวัวร์ประเทศโครเอเชียประเทศโซมาเลียประเทศไอซ์แลนด์ประเทศเซาท์ซูดานปอง ปรีดาปาเลสไตน์ (ภูมิภาค)ปีสากลแห่งป่าไม้ปีสากลแห่งเคมีปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์นริศ อารีย์นายกรัฐมนตรีนาซาแกรี มัวร์แกรี สปีดแรกนาขวัญแรนดี ซาเวจแผ่นดินไหวที่วาน พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวที่ไครสต์เชิร์ช กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554แดน เชชท์มันแคว้นประเทศบาสก์แคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์แซนซิบาร์โบฮีเมียโกร่ง กางเกงแดงโลร็อง บากโบโจ ไซมอนโทเคอเลาไพโรจน์ สุวรรณฉวีเบ็ตตี ฟอร์ดเลย์มาห์ โบวีเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์เสม พริ้งพวงแก้วเส้นแบ่งเขตวันสากลเหตุระเบิดท่าอากาศยานนานาชาติโดโมเดโดโว พ.ศ. 2554เหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554เหตุเรือข้ามฟากล่มในแซนซิบาร์เอมี ไวน์เฮาส์เอลิซาเบธ เทย์เลอร์เอลเลน จอห์นสัน เซอร์ลีฟเอตาเจริญใจ สุนทรวาทินเจน รัสเซลล์เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์เจ้าชายวินเซนต์แห่งเดนมาร์กเจ้าชายอาลี เรซา ปาห์ลาวีที่ 2เจ้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏานเจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์กเจ้าหญิงอองตัวแนตแห่งโมนาโกเจ้าหญิงแมรี มกุฎราชกุมารีแห่งเดนมาร์กเจ้าหญิงโจเซฟินแห่งเดนมาร์กเถาะเทศกาลไหว้พระจันทร์เดอะนิวยอร์กไทมส์เดนนิส ริตชีเค็ง ยะมะงุชิเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์เซลล์ต้นกำเนิด10 พฤศจิกายน10 พฤษภาคม10 กันยายน10 เมษายน11 กุมภาพันธ์11 มกราคม11 มีนาคม11 เมษายน12 กันยายน12 มกราคม12 ตุลาคม13 พฤษภาคม13 ตุลาคม13 เมษายน14 มกราคม14 สิงหาคม14 ธันวาคม15 พฤศจิกายน15 กรกฎาคม15 ธันวาคม15 เมษายน16 กรกฎาคม16 สิงหาคม16 ธันวาคม17 พฤษภาคม17 กรกฎาคม17 มีนาคม17 ธันวาคม18 กันยายน18 กุมภาพันธ์18 มีนาคม18 ตุลาคม19 มกราคม19 มีนาคม2 พฤษภาคม2 มกราคม2 มีนาคม20 พฤษภาคม20 กรกฎาคม20 กันยายน20 ตุลาคม21 พฤษภาคม21 กรกฎาคม21 มกราคม21 มิถุนายน21 เมษายน22 กรกฎาคม22 กุมภาพันธ์22 มกราคม22 สิงหาคม23 พฤศจิกายน23 กรกฎาคม23 กุมภาพันธ์23 มีนาคม23 ตุลาคม24 มกราคม24 มีนาคม24 ตุลาคม24 เมษายน25 ธันวาคม26 พฤศจิกายน27 พฤศจิกายน27 กรกฎาคม27 ตุลาคม28 กุมภาพันธ์28 เมษายน29 กันยายน29 ธันวาคม29 เมษายน3 พฤศจิกายน3 กรกฎาคม3 กุมภาพันธ์30 กันยายน30 มกราคม31 ตุลาคม4 กรกฎาคม4 มกราคม4 มิถุนายน5 กันยายน5 มิถุนายน5 มีนาคม5 สิงหาคม5 ตุลาคม6 กุมภาพันธ์6 มกราคม6 มิถุนายน7 พฤษภาคม7 สิงหาคม8 กรกฎาคม8 กันยายน8 มกราคม8 สิงหาคม9 พฤษภาคม9 กรกฎาคม9 กันยายน9 มกราคม9 มิถุนายน