โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2516และไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พ.ศ. 2516และไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร

พ.ศ. 2516 vs. ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน. ตราจารย์ ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร เป็นศาสตราจารย์ประจำสาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตผู้อำนวยการโครงการปริญญาเอก คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และนักเขียนประจำนิตยสารวิภาษาเป็นนักวิชาการด้านการเมืองภาคประชาชนและเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกและผู้เชี่ยวชาญด้านทฤษฎีหลังสมัยใหม่ สัญวิทยา และหลังโครงสร้างนิยม ในวงวิชาการของประเทศไทย ที่ควบคู่ไปกับ นพพร ประชากุล และธเนศ วงศ์ยานนาวา เป็นต้น งานเขียนของไชยรัตน์ในเรื่องดังกล่าวจัดเป็นงานเขียนภาษาไทยที่บุกเบิกและสำคัญต่อทฤษฎีหลังสมัยใหม่ โดยเฉพาะหนังสือชื่อ "วาทกรรมการพัฒนา" ที่เป็นงานเขียนชิ้นสำคัญที่นำทฤษฎีกลุ่มหลังสมัยใหม่ของนักคิดสกุลฝรั่งเศสอย่าง มิเชล ฟูโกต์ มาใช้อธิบายการพัฒนาในกลุ่มประเทศโลกที่สาม เป็นต้น จัดเป็นงานเขียนยุคแรก ๆ ของการศึกษาแนวคิดหลังสมัยใหม่ในประเทศไทย หนังสือดังกล่าวได้ถูกนำไปใช้เป็นตำราในการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาหลาย ๆ สาขาในประเทศไทยและถูกนำไปใช้อ้างอิงในวงวิชาการของไทยอยู่มาก ซึ่งมีอิทธิพลต่อการศึกษาทางด้านรัฐศาสตร์ ปรัชญา วรรณกรรม สังคมวิทยา มานุษยวิทยา ประวัติศาสตร์ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ฯลฯ และมีอิทธิพลต่อความคิดนักวิชาการหัวก้าวหน้าหลายท่าน เช่น ยุกติ มุกดาวิจิตร, บัณฑิต จันทร์โรจนกิจ, จันทนี เจริญศรี เป็นต้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พ.ศ. 2516และไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร

พ.ศ. 2516และไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2556สหรัฐเหตุการณ์ 14 ตุลา

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2516และพ.ศ. 2556 · พ.ศ. 2556และไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

พ.ศ. 2516และสหรัฐ · สหรัฐและไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 14 ตุลา

หตุการณ์ 14 ตุลา หรือ วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์การก่อการกำเริบโดยประชาชนครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เป็นเหตุการณ์ที่มีนักศึกษาและประชาชนมากกว่า 5 แสนคนชุมนุมเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กิตติขจร นำไปสู่คำสั่งของรัฐบาลให้ใช้กำลังทหารเข้าปราบปราม ระหว่างวันที่ 14 ถึง 15 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จนมีผู้เสียชีวิตกว่า 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจำนวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ได้เกิดขึ้นด้วยสาเหตุที่สะสมก่อนหน้านี้หลายประการทั้ง ข่าวการทุจริตในรัฐบาล การพบซากสัตว์ป่าจากอุทยานในเฮลิคอปเตอร์ทหาร การถ่ายโอนอำนาจของจอมพลถนอม กิตติขจรต่อจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลทหารเข้าปกครองประเทศนานเกือบ 15 ปี และรวมถึงการรัฐประหารตัวเอง พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นชนวนเหตุที่ทำให้ประชาชนเบื่อหน่ายการปกครองในระบอบเผด็จการทหารและต้องการเรียกร้องรัฐธรรมนูญที่เป็นประชาธิปไตยขึ้น การประท้วงเริ่มขึ้นอย่างเด่นชัดเมื่อมีการตีพิมพ์ "บันทึกลับจากทุ่งใหญ่" ออกเผยแพร่ทำให้เกิดความสนใจในหมู่ประชาชน สู่การเดินแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาในสถานที่ต่างๆในกรุงเทพฯ จนถูกทหารควบคุมตัว ภายหลังเป็นที่รู้จักกันในฐานะ "13 ขบถรัฐธรรมนูญ" ทำให้เกิดความไม่พอใจครั้งใหญ่แก่มวลนักศึกษาและประชาชนเป็นอย่างมาก เกิดการประท้วงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สู่การเดินประท้วงในถนนราชดำเนิน โดยมีประชาชนทยอยเข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้รัฐบาลได้ทำการสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก จนเมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้มีพระราชดำรัสทางโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยต่อเหตุการณ์ครั้งนี้ ในเวลาต่อมาจอมพลถนอม กิตติขจรก็ได้ประกาศลาออกและได้เดินทางออกต่างประเทศรวมถึง.อ.ณรงค์ กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลุ่มบุคคลที่ประชาชนในสมัยนั้นเรียกว่า "3 ทรราช" เหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นการลุกฮือของประชาชนครั้งแรกที่เรียกร้องประชาธิปไตยไทยสำเร็จและยังถือเป็นการรวมตัวของประชาชนมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย จนกลายเป็นแรงบันดาลใจให้แก่ภาคประชาชนในประเทศอื่น ๆ ทำตามในเวลาต่อมา เช่น ที่ เกาหลีใต้ในเหตุการณ์จลาจลที่เมืองกวางจู เป็นต้นหนังสือ มาร์ค เขาชื่อ...

พ.ศ. 2516และเหตุการณ์ 14 ตุลา · เหตุการณ์ 14 ตุลาและไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2516และไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร

พ.ศ. 2516 มี 362 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร มี 22 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 0.78% = 3 / (362 + 22)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พ.ศ. 2516และไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »