โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2513และภาพยนตร์ไซไฟ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พ.ศ. 2513และภาพยนตร์ไซไฟ

พ.ศ. 2513 vs. ภาพยนตร์ไซไฟ

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน. ภาพยนตร์บันเทิงคดีวิทยาศาสตร์หรือภาพยนตร์ไซไฟ เป็นแนวภาพยนตร์อย่างหนึ่งซึ่งเป็นบันเทิงคดีวิทยาศาสตร์ กล่าวคือมีการอาศัยอุปกรณ์หรือปรากฎการณ์หรือฉากหลังที่เป็นการจินตนาการขึ้นโดยอิงวิทยาศาสตร์ที่ยังไม่ใช่วิทยาศาสตร์โดยทางการปัจจุบัน เช่น สิ่งมีชีวิตนอกโลก โลกต่างดาว ประสาทสัมผัสพิเศษ และการเดินทางข้ามเวลา เป็นต้น รวมถึงสิ่งที่เป็นอนาคต เช่น ยานอวกาศ หุ่นยนต์ ไซบอร์ก การเดินทางระหว่างดวงดาว หรือเทคโนโลยีอื่นๆ บ่อยครั้งภาพยนตร์ไซไฟถูกใช้เพื่อขับเน้นประเด็นทางสังคมหรือการเมือง หรือเพื่อสำรวจประเด็นทางปรัชญา เช่น ความเป็นมนุษย์ แนวภาพยนตร์เช่นนี้มีอยู่ตั้งแต่สมัยภาพยนตร์เงียบ ตั้งแต่การใช้เทคนิกภาพพิเศษโดยจอร์จ เมลีแยร์ ใน A Trip to the Moon (1902) ต่อมาจนถึง Metropolis (1927) ซึ่งเป็นภาพยนตร์ไซไฟขนาดยาวเรื่องแรก ในช่วงคริสตทศวรรษ 1930-1950 ภาพยนตร์ไซไฟยังถูกมองว่าเป็นภาพยนตร์ทุนต่ำแบบเกรดบี จนกระทั่งสแตนลีย์ คูบริก ทำ 2001: A Space Odyssey (1968) ออกฉาย ภาพยนตร์แนวนี้จึงได้รับการยอมรับอย่างจริงจังมากขึ้น ตั้งแต่ปลายคริสตทศวรรษ 1970 หลังจากความสำเร็จของ Star Wars ภาพยนตร์ไซไฟทุนสร้างสูงที่มีเทคนิกพิเศษน่าตื่นตาก็ได้รับความนิยมอย่างมากจนมาถึงปัจจุบัน หมวดหมู่:ประเภทของภาพยนตร์ หมวดหมู่:ภาพยนตร์ไซไฟ หมวดหมู่:บันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พ.ศ. 2513และภาพยนตร์ไซไฟ

พ.ศ. 2513และภาพยนตร์ไซไฟ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2513และภาพยนตร์ไซไฟ

พ.ศ. 2513 มี 186 ความสัมพันธ์ขณะที่ ภาพยนตร์ไซไฟ มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (186 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พ.ศ. 2513และภาพยนตร์ไซไฟ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »