เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พ.ศ. 2511และระบบเบรตตันวูดส์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พ.ศ. 2511และระบบเบรตตันวูดส์

พ.ศ. 2511 vs. ระบบเบรตตันวูดส์

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน. ระบบการจัดการการเงินเบรตตันวูดส์ (Bretton Woods system) สถาปนากฎสำหรับความสัมพันธ์พาณิชย์และการเงินระหว่างรัฐอุตสาหกรรมหลักของโลกช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ระบบเบรตตันวูดส์เป็นตัวอย่างแรกของระเบียบการเงินที่มีการเจรจาอย่างสมบูรณ์โดยเจตนาเพื่อปกครองความสัมพันธ์การเงินระหว่างรัฐชาติเอกราช ลักษณะสำคัญของระบบเบรตตันวูดส์ คือ ทุกประเทศมีพันธกรณีใช้นโยบายการเงินซึ่งธำรงอัตราแลกเปลี่ยนโดยผูกเงินตราของประเทศกับทองคำและความสามารถของกองทุนการเงินระหว่างประเทศเพื่อเชื่อมการเสียดุลการชำระเงินชั่วคราว นอกจากนี้ ยังมีความจำเป็นต้องจัดการการขาดความร่วมมือระหว่างประเทศอื่นและเพื่อป้องกันการลดค่าเงินตราแข่งขันด้วย ในการเตรียมบูรณะระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่สองกำลังดำเนินอยู่ ผู้แทน 730 คนจากทั้ง 44 ชาติฝ่ายสัมพันธมิตรประชุมกันที่โรงแรมเมาต์วอชิงตันในเบรตตันวูดส์ รัฐนิวแฮมป์เชียร์ สหรัฐอเมริกา เพื่อการประชุมการเงินการคลังสหประชชาติ หรือเรียก การประชุมเบรตตันวูดส์ ผู้แทนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างวันที่ 1–22 กรกฎาคม 2487 และลงนามความตกลงในวันสุดท้าย ซึ่งเป็นการจัดตั้งระบบกฎ สถาบันและวิธีดำเนินงานเพื่อจัดระเบียบระบบการเงินระหว่างประเทศ ผู้วางแผนที่เบรตตันวูดส์สถาปนากองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) และธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนา (IBRD) ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มธนาคารโลก องค์การเหล่านี้เริ่มปฏิบัติงานในปี 2488 หลังประเทศต่าง ๆ ให้สัตยาบันความตกลงมากแล้ว วันที่ 15 สิงหาคม 2514 สหรัฐอเมริกายุติการแปลงดอลลาร์สหรัฐเป็นทองคำฝ่ายเดียว นำให้ระบบเบรตตันวูดส์ถึงคราวสิ้นสุดและดอลลาร์กลายเป็นเงินเฟียต (fiat currency) การกระทำดังกล่าว ซึ่งเรียก นิกสันช็อก สร้างสถานการณ์ซึ่งดอลลาร์สหรัฐกลายเป็นเงินตราสำรองที่หลายรัฐใช้ ขณะเดียวกัน เงินตราอัตราแลกเปลี่ยนคงที่หลายสกุล (เช่น ปอนด์สเตอร์ลิง) กลายเป็นเงินอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวเสรีเช่นกัน หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ หมวดหมู่:มาตรฐานทองคำ หมวดหมู่:พ.ศ. 2487 หมวดหมู่:เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ หมวดหมู่:ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หมวดหมู่:การค้าระหว่างประเทศ หมวดหมู่:ธนาคารโลก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พ.ศ. 2511และระบบเบรตตันวูดส์

พ.ศ. 2511และระบบเบรตตันวูดส์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สหรัฐ

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

พ.ศ. 2511และสหรัฐ · ระบบเบรตตันวูดส์และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2511และระบบเบรตตันวูดส์

พ.ศ. 2511 มี 219 ความสัมพันธ์ขณะที่ ระบบเบรตตันวูดส์ มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 0.44% = 1 / (219 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พ.ศ. 2511และระบบเบรตตันวูดส์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: