เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พ.ศ. 2506

ดัชนี พ.ศ. 2506

ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

สารบัญ

  1. 410 ความสัมพันธ์: บรรยิน ตั้งภากรณ์บัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณชัง ช็อน-กูชาวอังกฤษบิลลี กันบิ๊กบอสแมนชิเอะโกะ ฮนดะบุญฐิน ประทุมลีชุนจิ อิวะอิชนานา นุตาคมชไมพร จตุรภุชชเว จอม-ฮวันฟาง จงซิ่นฟาน ถิ กีม ฟุกฟิล ดาวด์ฟืร์นังดู ดือ อาราอูฌูฟุตบอลทีมชาติกานาฟู้ เปียวพ.ศ. 2441พ.ศ. 2448พ.ศ. 2449พ.ศ. 2451พ.ศ. 2460พ.ศ. 2489พ.ศ. 2502พ.ศ. 2516พ.ศ. 2538พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พระบรมวงศานุวงศ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระมหากษัตริย์ไทยพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญพระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย)พระครูวินัยธรสมุทร ถาวรธมฺโมพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์พฤฒิชัย ดำรงรัตน์พลวัฒน์ มนูประเสริฐพอล โอกเคนโฟลด์พันธุ์เทพ สุลีสถิรพิษณุ พลไวย์พิทพล โชติสรยุทธ์พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพานพุฒิพงศ์ พรหมสาขา ณ สกลนครพีเตอร์ สไมเกิล... ขยายดัชนี (360 มากกว่า) »

บรรยิน ตั้งภากรณ์

ันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์ (26 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 -) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 2 สมั.

ดู พ.ศ. 2506และบรรยิน ตั้งภากรณ์

บัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ

นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ อดีตหัวหน้าพรรคเพื่อไทยคนแรก ดำรงตำแหน่งในระหว่างปี พ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ. 2551.

ดู พ.ศ. 2506และบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ

ชัง ช็อน-กู

ัง ช็อน-กู (장정구; Jung-Koo Chang) เป็นมวยสากลนักมวยสากลชาวเกาหลีใต้ เกิดวันที่ 4 กุมภาพัน..

ดู พ.ศ. 2506และชัง ช็อน-กู

ชาวอังกฤษ

วอังกฤษ เป็นกลุ่มของชาวยุโรปที่เคยอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของบริเตนใหญ่ เป็นชาวแองโกล-แซกซอนส์ ที่ปัจจุบันอาศัยกระจายอยู่หลายประเทศทั่วโลก ในสหราชอาณาจักร มีอยู่ 45,265,093 คน สหรัฐอเมริกา 24,515,138 คน แคนาดา 5,978,875 คน ออสเตรเลีย 6.4 ล้านคน และประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ชาวอังกฤษส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต.

ดู พ.ศ. 2506และชาวอังกฤษ

บิลลี กัน

ลลี กัน (Billy Gunn) เกิดวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ดู พ.ศ. 2506และบิลลี กัน

บิ๊กบอสแมน

รย์มอนด์ "เรย์" ดับเบิลยู.

ดู พ.ศ. 2506และบิ๊กบอสแมน

ชิเอะโกะ ฮนดะ

อะโกะ ฮนดะ (28 มีนาคม ค.ศ. 1963 - 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2013) เป็นนักพากย์หญิงชาวญี่ปุ่น.

ดู พ.ศ. 2506และชิเอะโกะ ฮนดะ

บุญฐิน ประทุมลี

นายบุญฐิน ประทุมลี (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2506) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมุกดาหาร เขต 2 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และบุญฐิน ประทุมลี

ชุนจิ อิวะอิ

นจิ อิวะอิ เป็นชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2506 ในเมืองเซ็นได(仙台市) ประเทศญี่ปุ่น มีผลงาน ทั้งการเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์, ผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร.

ดู พ.ศ. 2506และชุนจิ อิวะอิ

ชนานา นุตาคม

นานา นุตาคม หรือเดิมชื่อ ชนาภา เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 เป็นนักแสดงชาวไทย เคยมีผลงานด้านอื่นเช่น ถ่ายโฆษณา เดินแบบ นักร้อง เธอเข้าสู่วงการตั้งแต่ยังไม่จบระดับ ปว.

ดู พ.ศ. 2506และชนานา นุตาคม

ชไมพร จตุรภุช

มพร จตุรภุช เกิดเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2506 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มจากเข้าประกวดนางสาวไทยเมื่อปี..

ดู พ.ศ. 2506และชไมพร จตุรภุช

ชเว จอม-ฮวัน

ว จอม-ฮวัน (9 มิถุนายน พ.ศ. 2506) นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้ สถิติการชก 23 ครั้ง ชนะ 20 (น็อค 8) แพ้ 3.

ดู พ.ศ. 2506และชเว จอม-ฮวัน

ฟาง จงซิ่น

ฟาง จงซิ่น (Alex Fong, Alex Fong Chung-Sun, 方中信, พินอิน: Fāng Zhōngxìn) นักแสดงชายชาวฮ่องกง เกิดเมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1963 ที่มาเก๊า ฟาง จงซิ่น ได้รับฉายาว่า "ริชาร์ด เกียร์ แห่งฮ่องกง" เริ่มต้นอาชีพในแวดวงบันเทิงด้วยการเป็นนายแบบ มีผลงานการแสดงในซีรีส์และภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และฟาง จงซิ่น

ฟาน ถิ กีม ฟุก

ฟาน ถิ กีม ฟุก (Phan Thị Kim Phúc, เกิด 2506) เป็นชาวเวียดนาม-แคนาดา รู้จักกันดีในฐานะเป็นเด็กที่ปรากฏในภาพถ่ายที่ได้รับรางวัลพูลิตเซอร์ที่ถ่ายระหว่างสงครามเวียดนามเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2515 ภาพถ่ายเชิงสัญลักษณ์นี้ถ่ายในอำเภอจ๋างบ่าง (Trảng Bàng) จังหวัดเต็ยนิญ โดยช่างภาพเอพี นิก อู๊ต (Nick Ut) แสดงเธอในวัยราวเก้าขวบกำลังวิ่งเปลือยตามถนนหลังการโจมตีของเวียดนามใต้ทำให้ไหม้รุนแรงที่หลัง หมวดหมู่:ชาวแคนาดาเชื้อสายเวียดนาม หมวดหมู่:บุคคลในสงครามเวียดนาม.

ดู พ.ศ. 2506และฟาน ถิ กีม ฟุก

ฟิล ดาวด์

ฟิล ดาวด์ ฟิล ดาวด์ (Philip Dowd) เกิดเมื่อวันที่ 26 มกราคม..

ดู พ.ศ. 2506และฟิล ดาวด์

ฟืร์นังดู ดือ อาราอูฌู

ฟืร์นังดู ดือ อาราอูฌู (Fernando de Araújo; 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 - 2 มิถุนายน พ.ศ. 2558) เป็นนักการเมืองชาวติมอร์ตะวันออก และเป็นประธานรัฐสภาแห่งชาติติมอร์-เลสเตตั้งแต..

ดู พ.ศ. 2506และฟืร์นังดู ดือ อาราอูฌู

ฟุตบอลทีมชาติกานา

ฟุตบอลทีมชาติกานา (The Ghana national football team) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ แบล็กสตาร์ส (Black Stars) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศกานา อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลกานา ก่อนที่กานาจะได้รับอิสรภาพจากสหราชอาณาจักรในปี..

ดู พ.ศ. 2506และฟุตบอลทีมชาติกานา

ฟู้ เปียว

ฟู้ เปียว (27 กันยายน ค.ศ. 1963 –  30 สิงหาคม ค.ศ. 2005) เป็นนักแสดงชายชาวจีน เกิดที่เมืองปักกิ่ง ประเทศจีน เริ่มแสดงภาพยนตร์ตั้งแต่ปี..

ดู พ.ศ. 2506และฟู้ เปียว

พ.ศ. 2441

ทธศักราช 2441 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1898 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2441

พ.ศ. 2448

ทธศักราช 2448 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิต.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2448

พ.ศ. 2449

ทธศักราช 2449 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1906 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2449

พ.ศ. 2451

ทธศักราช 2451 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1908 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2451

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2460

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2489

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2502

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2516

พ.ศ. 2538

ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2538

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2547

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2548

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2555

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2556

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2557

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2558

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ดู พ.ศ. 2506และพ.ศ. 2559

พระบรมวงศานุวงศ์

ระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลที่ 9 ภายในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พระบรมวงศานุวงศ์ หมายถึง พระประยูรญาติใหญ่น้อยทั้งหมดทุกราชสกุลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยประกอบด้วย 2 คำ คือ.

ดู พ.ศ. 2506และพระบรมวงศานุวงศ์

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ดู พ.ศ. 2506และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และพระมหากษัตริย์ไทย

พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

ระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (นามเดิม: สมชาย แสงสิน) น.ธ.เอก, ปบ.ส., พธ.บ., พธ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) (1 ตุลาคม พ.ศ. 2506 - ปัจจุบัน) เจ้าสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓, รองเจ้าคณะตำบลคุ้งตะเภา พระอุปัชฌาย์ และเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภารูปปัจจุบัน เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

พระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย)

ร.

ดู พ.ศ. 2506และพระสุธีวีรบัณฑิต (โชว์ ทสฺสนีโย)

พระครูวินัยธรสมุทร ถาวรธมฺโม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พระครูวินัยธรสมุทร ถาวรธมฺโมรองผู้อำนวยการวิทยาลัยพระธรรมทูต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลั.

ดู พ.ศ. 2506และพระครูวินัยธรสมุทร ถาวรธมฺโม

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ หรือ พระองค์จุล (28 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 30 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระโอรสพระองค์เดียวในจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับ หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก ชาวรัสเซีย ทรงสมรสกับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ดู พ.ศ. 2506และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

พฤฒิชัย ดำรงรัตน์

นายแพทย์ พฤฒิชัย ดำรงรัตน์ อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายแพทย์ พฤฒิชัย เป็นผู้ร่วมบุกเบิกก่อตั้ง “มูลนิธิทานตะวัน 19” รักษาคนไข้ที่มีฐานะยากจน และผู้ด้อยโอกาส จนได้รับฉายา “หมอ 19 บาท”.

ดู พ.ศ. 2506และพฤฒิชัย ดำรงรัตน์

พลวัฒน์ มนูประเสริฐ

ลวัฒน์ มนูประเสริฐ (ต้อม) เกิดเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2506และพลวัฒน์ มนูประเสริฐ

พอล โอกเคนโฟลด์

อล มาร์ก โอกเคนโฟลด์ (Paul Mark Oakenfold) เกิดวันที่ 30 สิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2506และพอล โอกเคนโฟลด์

พันธุ์เทพ สุลีสถิร

นายพันธุ์เทพ สุลีสถิร เลขาธิการพรรคชาติไทยพัฒนา สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ส.อบจ.) อ่างทอง และเป็นแกนนำผู้ประสานงานสมาพันธ์ต้านค้าปลีกข้ามชาติ มีบทบาทในการผลักดันกฎหมายต่อต้านการค้าปลีกข้ามชาต.

ดู พ.ศ. 2506และพันธุ์เทพ สุลีสถิร

พิษณุ พลไวย์

ษณุ พลไวย์ (17 ธันวาคม พ.ศ. 2506 - 17 มกราคม พ.ศ. 2559) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลก 3 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ.

ดู พ.ศ. 2506และพิษณุ พลไวย์

พิทพล โชติสรยุทธ์

ทพล โชติสรยุทธ์ เกิดเมื่อวันที่ (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506-) อดีตวง แกรนด์เอ็กซ์ ตำแหน่ง Piano & Keyboards, นักแสดง, นักร้อง, นักโฆษณา, โปรดิวเซอร์ และนักแต่งเพลง.

ดู พ.ศ. 2506และพิทพล โชติสรยุทธ์

พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน

นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน (เกิด 20 มกราคม พ.ศ. 2506) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเชียงราย เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน

พุฒิพงศ์ พรหมสาขา ณ สกลนคร

งศ์ พรหมสาขา ณ สกลนคร (ชื่อเล่น: เพชร เกิด 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2506) เป็นนักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์ และพิธีกรชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากรายการ "ยุทธการขยับเหงือก" โดยใช้ชื่อเรียกว่า เสนาเพชร และเป็นผู้กำกับภาพยนตร์เรื่อง "สิ่งเล็กเล็กที่เรียกว่า...รัก" ร่วมกับ วศิน ปกป้อง ซึ่งประสบความสำเร็จในช่วงปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และพุฒิพงศ์ พรหมสาขา ณ สกลนคร

พีเตอร์ สไมเกิล

ีเตอร์ บอแลสวัฟ สไมเกิล (Peter Bolesław Schmeichel) เกิดเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963 เป็นนักฟุตบอลชาวเดนมาร์กเชื้อสายโปแลนด์ (จากชื่อกลางของเขา) และเป็นผู้รักษาประตูระดับตำนานของสโมสรแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เนื่องจากเขาได้พาทีมคว้าทริปเปิลแชมป์ในปี ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และพีเตอร์ สไมเกิล

พนิช วิกิตเศรษฐ์

นิช วิกิตเศรษฐ์ (4 กันยายน 2506 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ (สำรอง) อดีตผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (นายกษิต ภิรมย์) และอดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในสมัยนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร.

ดู พ.ศ. 2506และพนิช วิกิตเศรษฐ์

กราเซียโน ร็อคซีเกียนี

กราเซียโน ร็อคซีเกียนี (Graciano Rocchigiani) นักมวยสากลชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองดุยบวร์ก ประเทศเยอรมันเมื่อ 29 ธันวาคม..

ดู พ.ศ. 2506และกราเซียโน ร็อคซีเกียนี

กฤตยา ล่ำซำ

กฤตยา ล่ำซำ หรือ ปัด (2 กันยายน พ.ศ. 2506 — 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) ตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท เมืองไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน).

ดู พ.ศ. 2506และกฤตยา ล่ำซำ

การ์ธ นิกซ์

การ์ธ นิกซ์ (Garth Nix) เกิดที่เมืองเมลเบิร์น ปี ค.ศ. 1963 เป็นชาวออสเตรเลียที่เขียนนวนิยายแฟนตาซีสำหรับเด็ก ตัวอย่างเช่นวรรณกรรมเรื่องยาวชุด Old Kingdom, The Seventh Tower, และ The Keys to the Kingdom (ไทย: อาณาจักรแห่งกาลเวลา) "การ์ธ นิกซ์" ไม่ใช่นามแฝง หลายครั้งที่มีคนถามเขาเกี่ยวกับชื่อ "การ์ธ นิกซ์" เพราะไม่แน่ใจว่าเป็นนามแฝงหรือไม่ เขากล่าวว่า "ผมว่าที่มีคนถามผมบ่อยๆ คงเพราะเป็นชื่อที่เหมาะมากสำหรับนักเขียนแนวแฟนตาซี แต่นั่นน่ะชื่อของผมจริงๆ"นิกซ์, การ์ธ (2550).

ดู พ.ศ. 2506และการ์ธ นิกซ์

กุมภาพันธ์

กุมภาพันธ์ เป็นเดือนที่ 2 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นเดือนที่มีจำนวนวัน 28 หรือ 29 วัน โดยปกติจะมี 28 วัน ยกเว้นปีอธิกสุรทินที่มี 29 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกุมภาพันธ์เริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกุมภ์ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมีน แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกุมภาพันธ์ดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวแพะทะเล และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนแบกหม้อน้ำในปลายเดือน.

ดู พ.ศ. 2506และกุมภาพันธ์

กนก รัตน์วงศ์สกุล

กนก รัตน์วงศ์สกุล เป็นรองกรรมการผู้อำนวยการส่วนงานผู้ประกาศข่าว บริษัท เนชั่น บรอดแคสติ้ง คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) มีชื่อเสียงจากหน้าที่พิธีกรข่าวหลัก ในรายการเก็บตกจากเนชั่น นอกจากนั้น ยังเป็นพิธีกรในหลายรายการโทรทัศน์และวิทยุ, นักเขียนหนังสือ และคอลัมนิสต์นิตยสาร.

ดู พ.ศ. 2506และกนก รัตน์วงศ์สกุล

กแชกอช สแคตือนา

กแชกอช ยูลียุช สแคตือนา (Grzegorz Juliusz Schetyna; 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 —) เป็นนักการเมืองชาวโปแลนด์ ซึ่งปัจจุบันทำหน้าที่เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศโปแลนด์ เขาเป็นอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรและอดีตรักษาการประธานาธิบดีโปแลนด์ เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม เขาได้รับเลือกเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรและรักษาการประธานาธิบดีโปแลนด์ สแคตือนาทำหน้าที่เป็นประมุขแห่งรัฐจนกระทั่งบรอญิสวัฟ กอมอรอฟสกี เข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2506และกแชกอช สแคตือนา

ก่อเกียรติ สิริยะเสถียร

นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2506) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนครปฐม เขต 3 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และก่อเกียรติ สิริยะเสถียร

ภัทรา ทิวานนท์

ภัทรา ทิวานนท์ ในรายการรวมมิตรชิดดาว ภัทรา ทิวานนท์ เดิมชื่อ สุภัทรา วรรณทิวานนท์ เป็นนักแสดง นักร้องชาวไทย ร้องเพลงในแนวลูกทุ่ง เกิดที่เมืองไทยและไปอยู่สหรัฐอเมริกาตอน 9 ขวบ เคยประกวดธิดาโดมและแสดงรับงานแสดงเป็นตัวประกอบเล็กๆ น้อยๆ ตามหนังฝรั่งมาก่อน ในปี..

ดู พ.ศ. 2506และภัทรา ทิวานนท์

ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ

นายแพทย์ ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดศรีสะเกษ.

ดู พ.ศ. 2506และภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ

มะโมรุ ซะมุระโกจิ

มะโมรุ ซะมุระโกจิ (เกิด 21 กันยายน 1963) เป็นนักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่น จากจังหวัดฮิโระชิมะ ได้ชื่อว่าเป็นผู้แต่งดนตรีประกอบวิดีโอเกม เรซิเดนต์อีวิล Dual Shock Ver.

ดู พ.ศ. 2506และมะโมรุ ซะมุระโกจิ

มัลคอล์ม แกลดเวล

มัลคอล์ม ทีโมธี แกลดเวล (Malcolm Timothy Gladwell) หรือ มัลคอล์ม แกลดเวล (เกิด 3 กันยายน ค.ศ. 1963) เป็นนักข่าว นักเขียนและนักพูดชาวแคนาดาที่เกิดในอังกฤษ เขาเป็นนักเขียนให้กับThe New Yorker ตั้งแต่ปี 1996 และเขียนหนังสือทั้งหมด 5 เล่ม ได้แก่The Tipping Point: How Little Things Can Make a Big Difference (2000), Blink: The Power of Thinking Without Thinking (2005), Outliers: The Story of Success (2008), What the Dog Saw: And Other Adventures (2009) หนังสือรวบรวมบทความ, และ David and Goliath: Underdogs, Misfits, and the Art of Battling Giants (2013) หนังสือทั้งห้าเล่มขายดีติดอันดับของ ''The New York Times'' Best Seller นอกจากนี้เขายังมีพอดแคสชื่อว่า Revisionist History อีกด้วย หนังสือและบทความของเขามักเกี่ยวกับการตีความที่คาดไม่ถึงของงานวิจัยในสังคมศาสตร์และบ่อยครั้งอ้างถึงงานวิชาการโดยเฉพาะในสาขาสังคมวิทยา จิตวิทยาและจิตวิทยาสังคม มัลคอล์มได้รับ Order of Canada เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2011.

ดู พ.ศ. 2506และมัลคอล์ม แกลดเวล

มาร์ก ฮิวส์

ลสลี มาร์ก ฮิวส์ (Leslie Mark Hughes) มีชื่อเล่นในวงการฟุตบอลว่า สปาร์กี้ เป็นอดีตนักฟุตบอลทีมชาติเวลส์ และปัจจุบันเป็นผู้จัดการทีมเซาแทมป์ตัน ผลงานในการรับใช้ชาติของเขาคือการลงเล่นให้ทีมชาติเวลส์ 72 นัด และยิงประตูได้ 16ประตู ในช่วงชีวิตการเป็นนักฟุตบอลของเขานั้นผู้คนจดจำเขาได้เป็นอย่างดีจากการลงเล่นให้แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ดทั้ง2ช่วง แต่เขากลับไม่ประสบความสำเร็จนักเมื่อต้องออกไปค้าแข้งในต่างแดนกับบาร์เซโลน่า ในสเปนและ บาร์เยิร์น มิวนิค ในเยอรมันตะวันตก นอกจากนี้ที่อังกฤษเขายังเคยเล่นให้สโมสรเชลซี,เซาแทมป์ตัน,เอฟเวอร์ตัน และสโมสรสุดท้ายที่เขาลงเล่นคือแบล็คเบิร์นโรเวอร์ส ก่อนที่เขาจะเลิกเล่นอย่างเป็นทางการในปี 2002.

ดู พ.ศ. 2506และมาร์ก ฮิวส์

มาร์ก ไรเดน

มาร์ก ไรเดน (Mark Ryden เกิด 20 มกราคม ค.ศ. 1963) เป็นจิตรกรชาวอเมริกัน ส่วนหนึ่งของศิลปะใต้ดินKen Johnson,, The New York Times, May 6, 2010.

ดู พ.ศ. 2506และมาร์ก ไรเดน

มาร์ก เมโร

มาร์ค เมโร (Marc Mero) เกิดเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม..

ดู พ.ศ. 2506และมาร์ก เมโร

มาร์ทิน บรุนเนอร์

มาร์ทิน บรุนเนอร์ (Martin Brunner) เกิดวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 1963 ที่ซูริก เป็นอดีตผู้รักษาประตูฟุตบอลชาวสวิส ผู้ลงเล่นร่วมกับฟุตบอลทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์ 36 ครั้ง โดยเขาได้รับเลือกให้เข้าร่วมการแข่งฟุตบอลโลก 1994.

ดู พ.ศ. 2506และมาร์ทิน บรุนเนอร์

มาร์ตี นาตาเลกาวา

ราเดน มูฮัมหมัด มาร์ตี มูเลียนา นาตาเลเกวา ระเด่น มูฮัมหมัด มาร์ตี มูเลียนา นาตาเลเกวา (เกิด 22 มีนาคม ค.ศ. 1963 ที่บันดุง ประเทศอินโดนีเซีย) เป็นนักการทูตชาวอินโดนีเซีย ปัจจุบันเป็นรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศอินโดนีเซีย โดยตำแหน่งก่อนหน้านี้เคยเป็นเอกอัครราชทูตอินโดนีเซียประจำสหราชอาณาจักร และเคยเป็นเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรอินโดนีเซีย ประจำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก นาตาเลเกวาจบการศึกษาชั้นมัธยมที่สหราชอาณาจักร และศึกษาต่อด้านปรัชญาที่มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ และวิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน มหาวิทยาลัยลอนดอน นาตาเลเกวาสมรสกับ ศรัณยา บำรุงพงศ์ บุตรสาวของเอกอัครราชทูต ศักดิชัย บำรุงพงศ์ หรือ "เสนีย์ เสาวพงศ์" นักการทูต นักหนังสือพิมพ์ และนักเขียนชาวไทย มีบุตร 3 คน.

ดู พ.ศ. 2506และมาร์ตี นาตาเลกาวา

มาลัย ชูพินิจ

มาลัย ชูพินิจ เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2449 ที่บ้านริมแม่น้ำปิง ตำบลคลองสวนหมาก (ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นนครชุม) อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร เป็นบุตรของ นายสอน และนางระเบียบชูพินิจ บิดาและมารดาประกอบอาชีพทางด้านการค้าไม้สักและไม้กระยาเลย เป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญของไทย นิยมเรียกกันทั่วไปว่า ครูมาลัย ใช้นามปากกา "แม่อนงค์" "น้อย อินทนนท์" "นายฉันทนา" เป็นต้น ในวัยเด็ก มาลัย ชูพินิจ เข้ารับการศึกษาชั้นต้นที่จังหวัดกำแพงเพชร จนจบชั้นประโยคประถมศึกษา เมื่ออายุประมาณ 10 ปี จึงเข้าไปศึกษาต่อในกรุงเทพฯ ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนวัดบพิตรพิมุข โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ระดับสูงจนจบประโยคมัธยมศึกษา (ม.8) เมื่อ ปี..

ดู พ.ศ. 2506และมาลัย ชูพินิจ

มิถุนายน

มิถุนายน เป็นเดือนที่ 6 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 4 เดือนที่มี 30 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนมิถุนายนเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีเมถุน และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีกรกฎ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนมิถุนายนดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาววัวและปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวคนคู่ ชื่อในภาษาอังกฤษ "June" มีที่มาจากเทพเจ้าโรมันนามว่า จูโน (Juno) ส่วนในประเทศไทยเริ่มใช้ชื่อเดือนมิถุนายนในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และมิถุนายน

มิเชล (นักฟุตบอล)

ซ มิเกล กอนซาเลซ มาร์ติน เดล กัมโป (José Miguel González Martín del Campo) หรือ มิเชล (Míchel) เกิดเมื่อวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1963 เกิดในกรุงมาดริด ประเทศสเปน มีอาชีพเป็นนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมฟุตบอล แต่ปัจจุบันเป็นผู้จัดการทีมฟุตบอล กอนซาเลซเริ่มเล่นฟุตบอลตั้งแต่ ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และมิเชล (นักฟุตบอล)

มุน ซ็อง-กิล

มุน ซ็อง-กิล (문성길; เกิด 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2506) เป็นนักมวยสากลชาวเกาหลีใต้ สถิติการชก 22 ครั้ง ชนะ 20 (น็อค 15) แพ้ 2.

ดู พ.ศ. 2506และมุน ซ็อง-กิล

มนตรี ปาน้อยนนท์

นายมนตรี ปาน้อยนนท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และเป็นประธานกรรมาธิการพลังงาน สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ดู พ.ศ. 2506และมนตรี ปาน้อยนนท์

ยุมิ อะโซ

มิ อะโซ เกิดเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2506และยุมิ อะโซ

ยุริกะ ฮิโนะ

ริกะ ฮิโนะ เกิดเมื่อวันที่ 16 มกราคม..

ดู พ.ศ. 2506และยุริกะ ฮิโนะ

ยุรนันท์ ภมรมนตรี

รนันท์ ภมรมนตรี หรือ แซม เป็นอดีตนักแสดง พิธีกรรายการโทรทัศน์ นักร้อง และอดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และยุรนันท์ ภมรมนตรี

ราฟาเอล กอร์เรอา

ราฟาเอล กอร์เรอา เดลกาโด (Rafael Correa Delgado) (8 สิงหาคม ค.ศ. 1963 - ปัจจุบัน) เป็นอดีตประธานาธิบดีของประเทศเอกวาดอร์ เคยเป็นประธานสหภาพประชาชาติอเมริกาใต้ เขาเป็นนักเศรษฐศาสตร์โดยได้รับการศึกษาในหลายประเทศ เช่น เอกวาดอร์ เบลเยียม สหรัฐอเมริกา กอร์เรอาชนะการเลือกตั้งในปี..

ดู พ.ศ. 2506และราฟาเอล กอร์เรอา

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ดู พ.ศ. 2506และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย

ราดอสวัฟ ชีกอร์สกี

ราดอสวัฟ ตอมัช "ราแดก" ชีกอร์สกี (Radosław Tomasz "Radek" Sikorski; 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 —) เป็นนักการเมืองและนักข่าวชาวโปแลนด์ เขาเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรตั้งแต่ปี..

ดู พ.ศ. 2506และราดอสวัฟ ชีกอร์สกี

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ดู พ.ศ. 2506และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ดู พ.ศ. 2506และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ดู พ.ศ. 2506และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ดู พ.ศ. 2506และรางวัลโนเบลสาขาเคมี

ริชาร์ด มากซ์

ริชาร์ด มากซ์ (Richard Marx) มีชื่อจริงว่า ริชาร์ด โนเอล มากซ์ (Richard Noel Marx)เกิดเมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1963 ในเมืองวินเนตกา รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา เป็นนักร้อง โปรดิวเซอร์ นักแต่งเพลงป็อบร่วมสมัย ประสบความสำเร็จอย่างมากปลายยุค 80 และต้นยุค 90 เจ้าของเพลงฮิต Right Here Waiting และ Now And Forever.

ดู พ.ศ. 2506และริชาร์ด มากซ์

ริชาร์ด คลาร์ก

ริชาร์ด คลาก (Richard Clarke) นักมวยสากลชาวจาเมกา เกิดเมื่อ 20 เมษายน..

ดู พ.ศ. 2506และริชาร์ด คลาร์ก

ริก รูบิน

ฟรดเดอริก เจย์ "ริก" รูบิน เกิดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม..

ดู พ.ศ. 2506และริก รูบิน

ร็อบ ชไนเดอร์

รเบิร์ต ไมเคิล "ร็อบ" ชไนเดอร์ (Robert Michael "Rob" Schneider) เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม..

ดู พ.ศ. 2506และร็อบ ชไนเดอร์

ลาส์ อุลริก

ลาส์ อุลริก (Lars Ulrich) (เกิด 26 ธันวาคม ค.ศ. 1963) เป็นมือกลองสัญชาติเดนมาร์กและหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งวงเฮฟวีเมทัล เมทัลลิกา เขาเกิดและเติบโตในครอบครัวที่ค่อนข้างมีฐานะในเดนมาร์ก โดยเป็นลูกชายของโปรเทนนิส ทอร์เบน อุลริก อุลลิชได้เริ่มต้นการเป็นมือกลองครั้งแรกในซานดิเอโก ต่อมาเขาได้ย้ายไปอยู่ที่ลอสแอนเจลิส ตั้งแต่อายุ 16 ในช่วงฤดูร้อนปี..

ดู พ.ศ. 2506และลาส์ อุลริก

ลีโอโปลโด กันตันซิโอ

ลีโอโปลโด กันตันซิโอ (Leopoldo Cantancio) เกิดเมื่อ 6 กรกฎาคม..

ดู พ.ศ. 2506และลีโอโปลโด กันตันซิโอ

วชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์

วชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์ นายวชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์ อดีตโฆษกพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีต..กรุงเทพมหานคร เขต 17 (ลาดพร้าว) และรองโฆษกพรรคไทยรักไทย เกิดวันที่ 15 สิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2506และวชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์

วัลวิภา โยคะกุล

วัลวิภา โยคะกุล (9 ตุลาคม พ.ศ. 2506 -) เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไท.

ดู พ.ศ. 2506และวัลวิภา โยคะกุล

วันชัย ผ่องศรี

วันชัย ผ่องศรี (Wanchai Pongsri; เกิดเมื่อ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506) อดีตนักมวยสากลสมัครเล่นชาวไทย ติดทีมชาติไทยเข้าแข่งขันกีฬาโอลิมปิก..

ดู พ.ศ. 2506และวันชัย ผ่องศรี

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ดู พ.ศ. 2506และวันวิสาขบูชา

วาเนสซา แอล. วิลเลียมส์

วาเนสซา ลีนน์ วิลเลียมส์ (Vanessa Lynn Williams) เกิดเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 1963 เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง นักแสดงชาวอเมริกัน สร้างประวัติศาสตร์เมื่อวันที่ 17 กันยายน..

ดู พ.ศ. 2506และวาเนสซา แอล. วิลเลียมส์

วิลสัน ยิป

วิลสัน ยิป (Wilson Yip, Wilson Yip Wai-Shun, จีนตัวเต็ม: 葉偉信, จีนตัวย่อ: 叶伟信, พินอิน: yé wěixìn) เป็นนักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวฮ่องกง เกิดเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และวิลสัน ยิป

วิลเลียม บอลด์วิน

วิลเลียม บอลด์วิน (William Baldwin) เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1963 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน มีผลงานเป็นที่รู้จักอย่างภาพยนตร์เรื่อง Backdraft (1991) และ Flatliners (1990) หมวดหมู่:นักแสดงอเมริกัน หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายไอริช หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษ หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐนิวยอร์ก.

ดู พ.ศ. 2506และวิลเลียม บอลด์วิน

วิตนีย์ ฮิวสตัน

วิตนีย์ ฮิวสตัน (Whitney Houston) หรือชื่อจริงว่า วิตนีย์ เอลิซาเบธ ฮิวสตัน (Whitney Elizabeth Houston; 9 สิงหาคม 2506 — 11 กุมภาพันธ์ 2555) เป็นนักร้องอเมริกัน, นักแสดง, โปรดิวเซอร์, และนางแบบในปี..

ดู พ.ศ. 2506และวิตนีย์ ฮิวสตัน

วีรยุทธ รสโอชา

วีรยุทธ รสโอชา เป็นนักแสดงชาวไทยที่มีหน้าตาคล้ายกับ แด๊ก ลิขิต เอกมงคล, หนุ่ย อำพล ลำพูน และ หนึ่ง วรเชษฐ์ นิ่มสุวรรณ เกิดเมื่อเดือนมิถุนายน..

ดู พ.ศ. 2506และวีรยุทธ รสโอชา

ศรีสุข รุ่งวิสัย

รีสุข รุ่งวิสัย อดีตสมาชิกวุฒิสภา แบบสรรหา จากฐานข้อมูลประวัติสมาชิกวุฒิสภา เข้าถึงออนไลน์ทางเว็บไซต์วุฒิสภา เป็นผู้มีบทบาทในฐานะผู้ดำเนินกิจการสาธารณกุศลเพื่อประชาชนผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้รับสมญานาม นักบุญแห่งแดนอีสานใต้.

ดู พ.ศ. 2506และศรีสุข รุ่งวิสัย

ศรีคูณ ณ ราชวัตร

รีคูณ ณ ราชวัตร หรือนายอุทิศ บำรุงราย เกิดเมื่อ 16 ตุลาคม..

ดู พ.ศ. 2506และศรีคูณ ณ ราชวัตร

ศักราช ฤกษ์ธำรงค์

อากาศเอก สำราญ จำรัส เป็นที่รู้จักในชื่อ ศักราช ฤกษ์ธำรงค์ (ชื่อเล่น: เจี๊ยบ; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506) เกิดที่จังหวัดแพร่ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันจากการเป็นนายแบบถ่ายโฆษณาในสินค้าหลายตัว เช่น เบียร์สิงห์, กางเกงยีนส์ฮาร่า, เบียร์ช้าง ก่อนจะเข้าสู่วงการการแสดง โดยมีผลงานเรื่องแรกคือภาพยนตร์เรื่อง พี่เลี้ยง ของไฟว์สตาร์ ที่มี สันติสุข พรหมศิริ และ จินตหรา สุขพัฒน์ แสดงนำ ก่อนจะมีผลงานตามมาอีกหลายเรื่องทั้งละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ เช่น ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และศักราช ฤกษ์ธำรงค์

ศักดา นพสิทธิ์

นายศักดา นพสิทธิ์ เป็นนักโทษและประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) จังหวัดชลบุรี และเป็นอดีตโฆษกพรรคเพื่อไท.

ดู พ.ศ. 2506และศักดา นพสิทธิ์

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.

ดู พ.ศ. 2506และศาสนาพุทธ

สมพล คูเกษมกิจ

มพล คูเกษมกิจ (24 มกราคม พ.ศ. 2506 —) เป็นอดีตนักกีฬาแบดมินตันชาวไทย เขาเป็นหนึ่งในผู้เล่นที่ยอดเยี่ยมที่สุดในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1980 และต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 ของกีฬาดังกล่าวในประเทศไทย นอกจากนี้ เขายังเป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนแบดมินตันให้แก่นักแบดมินตันทีมชาติไท.

ดู พ.ศ. 2506และสมพล คูเกษมกิจ

สมเด็จพระราชาธิบดีมุฮัมมัดที่ 6 แห่งโมร็อกโก

มเด็จพระราชาธิบดีมุฮัมมัดที่ 6 แห่งโมร็อกโก (محمد السادس) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2506 เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโมร็อกโกเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และสมเด็จพระราชาธิบดีมุฮัมมัดที่ 6 แห่งโมร็อกโก

สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน

มเด็จพระราชาธิบดีฆวน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน หรือ พระเจ้าฆวน การ์โลสที่ 1 (Juan Carlos I; เสด็จพระราชสมภพ 5 มกราคม พ.ศ. 2481) เป็นพระมหากษัตริย์สเปน ตั้งแต่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน

สมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปน

มเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 (Felipe VI; พระนามเดิม เฟลิเป ฆวน ปาโบล อัลฟอนโซ เด โตโดส โลส ซานโตส เด บอร์บอน เด เกรเซีย) เป็นพระมหากษัตริย์สเปน พระราชสมภพ 30 มกราคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปน

สมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท

มเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท (Letsie III of Lesotho) เป็นพระมหากษัตริย์ที่โปรดการเล่นกีฬาเทนนิส และทรงสนพระราชหฤทัยในด้านการเกษตร พระองค์ทรงเป็นประมุขหลังจากที่สมเด็จพระราชาธิบดีโมโชโชที่ 2 แห่งเลโซโท เสด็จลี้ภัยทางการเมือง.

ดู พ.ศ. 2506และสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโท

สมเด็จพระราชินีซังเก โชเดน วังชุก

มเด็จพระราชินีซังเก โชเดน วังชุก พระบรมราชชนนี (Her Majesty Queen Sangay Choden Wangchuck, Queen Mother of Bhutan, พระราชสมภพ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1963 -) ทรงเป็นหนึ่งในพระอัครมเหสีพระองค์ที่ 4 ใน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก พระบรมราชชนกใน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรภูฏานพระองค์ปัจจุบัน โดยสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก พระบรมราชสวามีของพระองค์ ได้ทรงสละราชสมบัติให้พระราชโอรสพระองค์โตที่พระราชสมภพในสมเด็จพระบรมราชินีหรือพระอัครมเหสีพระองค์ที่สามให้ทรงขึ้นครองราชย์ โดยสมเด็จพระราชินีทั้งหมด 4 พระองค์นั้นเป็นพระพี่น้องกันทั้งหมด สมเด็จพระราชินีซังเก โชเดน วังชุก ทรงให้การพระประสูติกาลพระราชโอรส-ธิดาให้แก่สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก 2 พระองค์ ได้แก.

ดู พ.ศ. 2506และสมเด็จพระราชินีซังเก โชเดน วังชุก

สมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน

มเด็จพระราชินีโซเฟีย (la Reina Doña Sofía) เป็นพระมเหสีใน สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 สมเด็จพระราชินีโซเฟียทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งกรีซโดยพระกำเนิด เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าปัฟโลสแห่งกรีซ และ สมเด็จพระราชินีเฟรเดริกาแห่งกรีซ โดยทีมีพระนามในภาษากรีกว่า โซเฟีย มาร์การีตา วิกตอเรีย เฟรเดรีกี (Σοφία Μαργαρίτα Βικτωρία Φρειδερίκη) โดยพระองค์มีพระราชอนุชาและพระราชขนิษฐาคือ สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ และ เจ้าหญิงไอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก.

ดู พ.ศ. 2506และสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน

สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

อมพล สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (3 มีนาคม พ.ศ. 2426-13 มิถุนายน พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุล "จักรพงษ์" เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระพันปีหลวง และทรงเป็นสมเด็จพระอนุชาธิราช ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้เข้าศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย หลังจากสำเร็จการศึกษา ทรงรับราชการทหารเป็นเสนาธิการทหารบก โดยทรงริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนเสนาธิการ ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบินในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่า "พระบิดาแห่งกองทัพอากาศไทย" และ "พระบิดาแห่งการบินไทย" ในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่งขึ้น มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยศจากนายพลเอกเป็นจอมพล และทรงเป็นผู้ที่จัดส่งทหารอาสาเขาทำการรบในสงครามครั้งนั้น ต่อมาสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสด็จทิวงคตด้วยพระโรคพระปับผาสะ ขณะเสด็จไปประทับพักผ่อนพระวรกายที่สิงคโปร์ พระชนม์เพียง 37 พรรษา เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ

สรรเสริญ แก้วกำเนิด

ลโท สรรเสริญ แก้วกำเนิด ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพบก ราชองครักษ์เวร ในคณะรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา รักษาราชการแทนอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ กรรมการในคณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 59/2557 รองผู้บัญชาการโรงเรียนกิจการพลเรือน กรมกิจการพลเรือนทหารบก กรรมการในคณะกรรมการจัดกิจกรรมเฉลิมฉลองครบรอบ 100 ปี การประกาศใช้ธงไตรรงค์เป็นธงชาติไทย ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 210/2559ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ และคณะกรรมการบริหาร มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ อดีตโฆษกกองทัพบก อดีตโฆษกศูนย์อำนวยการรักษาความสงบเรียบร้อย (ศอ.รส.) และอดีตโฆษกศูนย์อำนวยการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) พลโท สรรเสริญ แก้วกำเนิด ศึกษาที่โรงเรียนอรุณประดิษฐ จังหวัดเพชรบุรี ระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนรัตนาธิเบศร์ จังหวัดนนทบุรี และเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 23 โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.) รุ่นที่ 34 และโรงเรียนเสนาธิการทหารบก ในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และสรรเสริญ แก้วกำเนิด

สฤษดิ์ ธนะรัชต์

อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..

ดู พ.ศ. 2506และสฤษดิ์ ธนะรัชต์

สัญญา คุณากร

ัญญา สมรสกับ อาทิตยา เลาหวัฒนะ เข้ารับน้ำสังข์พระราชทาน จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวัน พุธ ที่ 22 ตุลาคม..

ดู พ.ศ. 2506และสัญญา คุณากร

สันติสุข พรหมศิริ

มื่อครั้งรับบท "จะเด็ด" ใน ''ผู้ชนะสิบทิศ'' ทางช่อง 3 สันติสุข พรหมศิริ (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2506) ชื่อเล่น หนุ่ม เป็นนักแสดง นักพากย์ และพิธีกรชาวไท.

ดู พ.ศ. 2506และสันติสุข พรหมศิริ

สิทธิศักดิ์ ยนต์ตระกูล

นายสิทธิศักดิ์ ยนต์ตระกูล (18 มีนาคม 2506 -) เป็นสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดกาฬสิน.

ดู พ.ศ. 2506และสิทธิศักดิ์ ยนต์ตระกูล

สุรัตนา คล่องตระกูล

รัตนา คล่องตระกูล (ชื่อเล่น: หน่อย, ชื่อจริง สุรัตนา ข้องตระกูล ต่อมาเปลี่ยนเป็น สุรัตนา คล่องตระกูล) เกิดเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และสุรัตนา คล่องตระกูล

สุดา ศรีลำดวน

รีลำดวน เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงเสียงดี ที่อยู่ในวงการมานานกว่า 10 ปีแล้ว และยังคงผลิตผลงานเพลงออกมาอย่างต่อเนื่อง สุดา ศรีลำดวน โด่งดังมาจากเพลง " น้าเขย " ก่อนที่จะมีเพลงฮิตติดตามมาอีกมากมายหลายเพลง.

ดู พ.ศ. 2506และสุดา ศรีลำดวน

สงกรานต์ จิตสุทธิภากร

นายสงกรานต์ จิตสุทธิภากร (เกิด 13 เมษายน พ.ศ. 2506) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ 2 สมั.

ดู พ.ศ. 2506และสงกรานต์ จิตสุทธิภากร

สตานิสลัฟ เชียร์เชซอฟ

ตานิสลัฟ สลามอวิช เชียร์เชซอฟ (p, Черчесты Саламы фырт Станислав; เกิด 2 กันยายน ค.ศ. 1963) เป็นอดีตผู้รักษาประตูชาวรัสเซีย ปัจจุบันเป็นผู้จัดการของทีมชาติรัสเซีย โดยดำรงตำแหน่งตั้งแต่เดือนสิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2506และสตานิสลัฟ เชียร์เชซอฟ

สตีฟ คลาร์ก

ตีเฟน "สตีฟ" คลาร์ก เกิดเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 1963 เป็นนักฟุตบอล ชาวสกอตแลนด์ โดยปัจจุบันเป็นผู้จัดการทีม สโมสรฟุตบอลเวสต์บรอมมิชอัลเบียน เขาเล่นให้กับ เซนต์เมอร์เรน, เชลซี และ ทีมชาติสกอตแลนด์ โดยได้ 3 ถ้วยจากเชลซี จนถึงเขาจะเลิกเล่นฟุตบอล หลังจากที่เลิกเล่นแล้ว ก็ได้มาเป็นผู้จัดการทีมที่ นิวคาสเซิลยูไนเต็ด, เชลซี, เวสต์แฮมยูไนเต็ด และ ลิเวอร์พูล และล่าสุดก็ได้ไปเป็นผู้จัดการทีมให้กับ เวสต์บรอมมิชอัลเบียน ตั้งแต่ เดือนมิถุนายน ปี ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และสตีฟ คลาร์ก

สนธยา คุณปลื้ม

นธยา คุณปลื้ม ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาคนแรก อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี(ทักษิณ ชินวัตร) และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรีหลายสมั.

ดู พ.ศ. 2506และสนธยา คุณปลื้ม

สเฟิน พิพพิก

ฟิน พิพพิก (27 พฤษภาคม ค.ศ. 1963 – 25 กันยายน ค.ศ. 2013) เป็นนักแสดงชายชาวเยอรมัน  โดยสเฟินแสดงภาพยนตร์กว่า 60 เรื่อง ตั้งแต่ปี..

ดู พ.ศ. 2506และสเฟิน พิพพิก

หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล

หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 -) นักตัดต่อ / นักลำดับภาพ หม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล เป็นพระธิดาคนโตของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล กับหม่อมวิยะดา (บุษปวานิช).

ดู พ.ศ. 2506และหม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคล

หลี่ หนิง

หลี่ หนิง เกิดวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1963 เกิดในครอบครัวเชื้อสายจ้วง ในลุ้ยโจว เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง ประเทศจีน เป็นอดีตนักยิมนาสติก ทีมชาติจีน และเป็นผู้จุดคบเพลิงโอลิมปิก ใน พิธีเปิดกีฬาโอลิมปิก 2008 ที่ปักกิ่ง หลี่ หนิงอยู่ในวงการยิมนาสติคนาน 19 ปี และคว้าเหรียญรางวัลจากการแข่งขันต่าง ๆ ได้มากถึง 106 เหรียญ และหลังจากเลิกเล่นในปี 1988 หลี่ หนิงก็หันไปทำธุรกิจผลิตอุปกรณ์กีฬาซึ่งถือว่าเป็นของต้องห้ามในแผ่นดินใหญ่ยุคนั้น หลี่ หนิงได้รับเหรียญรางวัลจากกีฬาโอลิมปิกทั้งหมด 6 เหรียญ ซึ่ง 3 จาก 6 เหรียญนั้นคือเหรียญทอง จากนครลอส แอนเจอล.

ดู พ.ศ. 2506และหลี่ หนิง

หลี่ เหลียนเจี๋ย

หลี่ เหลียนเจี๋ย เป็นนักแสดงชาวจีนที่มีชื่อเสียงในฮ่องกง ซึ่งภายหลังได้มีชื่อเสียงในระดับโลก โดยมีชื่อภาษาอังกฤษที่คนทั่วไปรู้จักคือ เจ็ต ลี (Jet Li).

ดู พ.ศ. 2506และหลี่ เหลียนเจี๋ย

หัทยา วงษ์กระจ่าง

หัทยา วงศ์กระจ่าง มีชื่อจริงว่า หัทยา เกษสังข์ นักจัดรายการวิทยุชื่อดัง กรรมการผู้จัดการ บริษัท อินดิเพนเด้นท์ คอมมูนิเคชั่น เนตเวิร์ค จำกัด ผู้บริหารสถานีวิทยุเก็ท 102.5, 103.5 เอฟ.เอ็ม.วัน และเลิฟ เรดิโอ 104.5 และพิธีกรรายการ เช่น รายการ หัวใจใกล้กัน ทางทีวีไทย เคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่อง กาเหว่าที่บางเพลง เมื่อ..

ดู พ.ศ. 2506และหัทยา วงษ์กระจ่าง

หนู กันภัย

หนู กันภัย มีชื่อจริงว่า นายสมพงษ์ กันภัย เป็นนักสักที่มีชื่อเสียง โดยเฉพาะการสักยันต์แบบที่เรียกว่า "ห้าแถว" ซึ่งอ้างว่ามีอิทธิฤทธิ์ทำให้ผู้สักอยู่ยงคงกระพัน ของมีคมฟันแทงไม่เข้า นายสมพงษ์เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ดู พ.ศ. 2506และหนู กันภัย

หนู คลองเตย

หนู คลองเตย หรือ หนู เชิญยิ้ม มีชื่อจริงว่า วันชาติ พึ่งฉ่ำ เป็นนักแสดงตลกชื่อดังโดยเอกลักษณ์เฉพาะตัวคือการเดินแบบนกกระยาง เกิดเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และหนู คลองเตย

อรุณ ภาวิไล

อรุณ ภาวิไล บุตรชายคนสุดท้องของ ศาสตราจารย์ ดร.ระวี ภาวิไล มีชื่อเล่นว่า 'รุณ แต่หลายคนมักจะคิดว่าเขาชื่อเล่นชื่อ ตุ๋ย อันเนื่องมาจากตัวละครที่เขาแสดงชื่อเดียวกันในรายการ เพชรฆาตความเครียด ซึ่งออกอากาศระหว่างปี 2528-2529 ทาง ช่อง 9 เป็นนักแสดง และผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย ปัจจุบันนอกจากงานแสดงและพิธีกรแล้ว อรุณยังทำธุรกิจร้านอาหารฝรั่ง ชื่อร้าน Tui Restaurant & Pub ซอยปัญจมิตร ลาดพร้าว 94 อรุณ ภาวิไล สมรสกับจุไร ภาวิไลมีบุตร 2 คน คนที่ 2 ชื่อว่า อาภา ภาวิไล (แม็กกี้) ปัจจุบันได้กลายเป็นนักแสดงในสังกัดช่อง 7 แล้ว.

ดู พ.ศ. 2506และอรุณ ภาวิไล

อรนุช ลาดพันนา

อรนุช ลาดพันนา (ชื่อเล่น: นุช) เป็นนักพากย์หญิงชาวไทย มักพากย์ทั้งนางเอกและนางร้ายในทีมพากย์พันธมิตร รวมทั้งยังเป็นน้องสาวของผู้กำกับชื่อดัง พันนา ฤทธิไกร (เสียชีวิตแล้ว).

ดู พ.ศ. 2506และอรนุช ลาดพันนา

อัล สโนว์

อัลเลน เรย์ ซาร์เวน (Allen Ray Sarven) เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม..

ดู พ.ศ. 2506และอัล สโนว์

อาร์มันโด คัสโตร

อาร์มันโด คัสโตร นักมวยสากลชาวเม็กซิโก เกิดเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 สถิติการชก 65 ครั้ง ชนะ 43 (น็อค 38) เสมอ 3 แพ้ 19.

ดู พ.ศ. 2506และอาร์มันโด คัสโตร

อาห์เมด จอห์นสัน

แอนโทนี "โทนี" นอร์ริส (Anthony "Tony" Norris) เกิดวันที่ 6 มิถุนายน..

ดู พ.ศ. 2506และอาห์เมด จอห์นสัน

อาเลฆันโดร กอนซาเลซ อิญาร์ริตู

อาเลฆันโดร กอนซาเลซ อิญาร์ริตู (Alejandro González Iñárritu) เกิดวันที่ 15 สิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2506และอาเลฆันโดร กอนซาเลซ อิญาร์ริตู

อำพล ลำพูน

อำพล ลำพูน หรือ "ร็อกเกอร์มือขวา" เป็นนักร้องนำวง ไมโคร และนักแสดงชาวไทย มีผลงานสร้างชื่อมากมาย เช่น วัยระเริง น้ำพุ และยังมีวงดนตรีที่ได้รับความประสบความสำเร็จด้วยในนามไมโคร แต่อัลบั้มที่ดีที่สุดของอำพลนั้น คือชุดที่แตกออกมาจากไมโคร นั่นคือชุดวัตถุไวไฟ จากการได้สุดยอดมือกีตาร์สุดเทพอันดับ7ประเทศไทยอย่าง ศิริพงษ์ หรเวชกุล (แย้ เดอะ คิดส์) มาร่วมงาน พร้อมสุดยอดมือกลองอย่าง หรั่ง เดอ.

ดู พ.ศ. 2506และอำพล ลำพูน

อิสึจิ อิตะโอะ

อิสึจิ อิตะโอะ เกิดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม..

ดู พ.ศ. 2506และอิสึจิ อิตะโอะ

อิทธิเดช แก้วหลวง

นายอิทธิเดช แก้วหลวง (เกิด 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเชียงราย เขต 6 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และอิทธิเดช แก้วหลวง

อิงเว มาล์มสทีน

อิงเว โยฮาน มาล์มสทีน (Yngwie Johann Malmsteen) มีชื่อจริงคือ ลาร์ส โยฮาน อิงเว แลนเนอร์บาก (Lars Johan Yngve Lannerbäck) เกิดวันที่ 30 มิถุนายน..

ดู พ.ศ. 2506และอิงเว มาล์มสทีน

อินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก

อินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก (Infanta Elena, Duquesa de Lugo; ประสูติ: 20 ธันวาคม พ.ศ. 2506) หรือพระนามเต็มว่า เอเลนา มารีอา อีซาเบล โดมีนีกา เด ซีโลส เด บอร์บอน อี เกรเซีย (Elena María Isabel Dominica de Silos de Borbón y Grecia) เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 กับสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปน ทั้งเป็นพระเชษฐภคินีในอินฟันตากริสตีนา เฟเดรีกา และสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลีเปที่ 6 อินฟันตาเอเลนา เสกสมรสและหย่ากับไคเม เด มารีชาลาร์ มีพระบุตรด้วยกันสองคน ทั้งนี้พระองค์อยู่ในลำดับที่ 3 ของการสืบราชบัลลังก์ของสเปน และทรงประกอบพระกรณียกิจในต่างประเทศในฐานะตัวแทนของพระราชวง.

ดู พ.ศ. 2506และอินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโก

อนันต์ บุนนาค

อนันต์ บุนนาค เกิดเมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2506 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย-อเมริกันบุคลิกทะเล้น มีผลงานเพลงป็อปโด่งดังอย่างอัลบั้ม ขออภัยในความไม่สะดวก และ อนันต์ เสนอหน้า ในสังกัดของอาร์เอส ละครโทรทัศน์ชุด ความรักของคุณฉุย และ มนต์รักลูกทุ่ง ทางช่อง 7 สี หลังจากนั้นก็มีผลงานเพลงลูกทุ่ง มีผลงานแสดงละครเรื่อง สงครามข้างเตา ละครแก๊งค์สืบ 07 และมีผลงานภาพยนตร์หลายเรื่อง.

ดู พ.ศ. 2506และอนันต์ บุนนาค

อนุสรณ์ อมรฉัตร

อนุสรณ์ อมรฉัตร (เกิด: 19 มิถุนายน พ.ศ. 2506) นักธุรกิจชาวไทย เป็นสามีนอกสมรสของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนที่ 28 ของไท.

ดู พ.ศ. 2506และอนุสรณ์ อมรฉัตร

อนุสรณ์ ปั้นทอง

นายอนุสรณ์ ปั้นทอง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 14 และประธานคณะกรรมาธิการคุ้มครองผู้บริโภค สภาผู้แทนราษฎร.

ดู พ.ศ. 2506และอนุสรณ์ ปั้นทอง

ฮาร์ดคอร์ ฮอลลี

รเบิร์ต วิลเลียม "บ็อบ" ฮาเวิร์ด (Robert William "Bob" Howard) เกิดวันที่ 29 มกราคม..

ดู พ.ศ. 2506และฮาร์ดคอร์ ฮอลลี

ฮิว บอนเนวิลล์

ริชาร์ด ฮิว บอนเนวิลล์ วิลเลียมส์ (Hugh Richard Bonneville Williams) เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963 เป็นนักแสดงอังกฤษ เขาเป็นที่รู้จักกันดีในบทบาท รอเบิร์ต รอว์ลีย์ ในละครชุด ดาวน์ตันแอบบี.

ดู พ.ศ. 2506และฮิว บอนเนวิลล์

ฮิเดะโอะ โคะจิมะ

อะ โคะจิมะ (小島秀夫; Hideo Kojima; 24 สิงหาคม ค.ศ. 1963 —) เป็นทั้งนักออกแบบวิดีโอเกม, นักเขียนบท, ผู้กำกับ และผู้ผลิตชาวญี่ปุ่น นับเป็นประพันธกรคนแรกแห่งวงการวิดีโอเกม เขาเป็นผู้อำนวยการของโคะจิมะโปรดักชันส์ ที่ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในปี..

ดู พ.ศ. 2506และฮิเดะโอะ โคะจิมะ

ฮุสนี เรย์

นี เรย์ (Husni Ray) นักมวยสากลชาวอินโดนีเซีย เกิดเมื่อ 9 พฤษภาคม..

ดู พ.ศ. 2506และฮุสนี เรย์

ฌ็อง-ปีแยร์ ปาแป็ง

็อง-ปีแยร์ ปาแป็ง (Jean-Pierre Papin) เกิดเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน..

ดู พ.ศ. 2506และฌ็อง-ปีแยร์ ปาแป็ง

จอร์จ ไมเคิล

อร์จ ไมเคิล (25 มิถุนายน ค.ศ. 1963 – 25 ธันวาคม ค.ศ. 2016) เป็นนักร้องชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียงในยุค 80s-90s และมีอัลบั้มที่มียอดขายมากถึง 80 ล้านชุด จอร์จ ไมเคิลเป็นเจ้าของรางวัลทางดนตรีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น รางวัลแกรมมี (รวมทั้ง รางวัลอัลบั้มแห่งปี จาก Faith) รางวัลอเมริกัน มิวสิก อวอร์ดส, Ivor Novellos, MTV Awards, และ บริทอวอร์ดส และยังมี ซิงเกิลอันดับ 1 ถึง 11 เพลง และอัลบั้มอันดับ 1 รวมทั้งหมด 6 อัลบั้มในอังกฤษ จอร์จ ไมเคิลเสียชีวิตที่บ้านเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม..

ดู พ.ศ. 2506และจอร์จ ไมเคิล

จอห์น สเตโมส

อห์น ฟิลลิป สเตโมส (John Phillip Stamos) เกิดเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2506และจอห์น สเตโมส

จอห์น เอฟ. เคนเนดี

รือเอก จอห์น ฟิตซ์เจอรัลด์ เคนเนดี (John Fitzgerald Kennedy) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เจเอฟเค (JFK ย่อจากชื่อภาษาอังกฤษ) (29 พฤษภาคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และจอห์น เอฟ. เคนเนดี

จอห์นนี มาร์

อห์นนี มาร์ (Johnny Marr) เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 1963 เป็นนักแต่งเพลง มือกีต้าร์, คีย์บอร์ด, นักเล่นออร์แกนปาก และ เป็นนักร้อง สัญชาติอังกฤษ เป็นอดีตสมาชิกเดอะสมิธส์ และ เขาเคยเข้ารวมวงอิเล็กทรอนิก, เดอะ เดอะ, และ โมเดสต์เมาส์ ในปี 2008 เขาได้เข้าร่วมวง เดอะคร.

ดู พ.ศ. 2506และจอห์นนี มาร์

จอห์นนี เดปป์

อห์นนี คริสโตเฟอร์ เดปป์ ที่ 2 (John Christopher Depp II; เกิด 9 มิถุนายน ค.ศ. 1963) เป็นนักแสดงชายชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในบทแจ็ก สแปร์โรว์ในภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง Pirates of the Caribbean, แมด แฮทเทอร์ในภาพยนตร์เรื่อง Alice in Wonderland และวิลลี่ วองก้า ในภาพยนตร์เรื่อง Charlie and the Chocolate Factory นอกจากนั้น เขายังได้เข้าชิงรางวัลออสการ์ถึง 3 ครั้ง และนิตยสารพีเพิลยังคัดเลือกให้เขาเป็น "ผู้ชายที่เซ็กซี่ที่สุดที่ยังมีชีวิตอยู่" ประจำปี 2003 และ 2009 อีกด้ว.

ดู พ.ศ. 2506และจอห์นนี เดปป์

จารุวัฒน์ วิเศษสมบัติ

รุวัฒน์ วิเศษสมบัติ นักร้องนำวงอินคา เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 ที่จังหวัดปัตตานี มีพี่น้อง 4 คน อ้อมเป็นพี่ชายคนโต จบการศึกษาชั้นอนุบาล ที่โรงเรียนอนุบาลมานะศึกษา จังหวัดยะลา แล้วไปต่อที่โรงเรียนวรคามินอนุสรณ์ จนมาจบ ป.7 ที่โรงเรียนบ้านสะบารัง.ปัตตานี จากนั้นก็ได้ย้ายตามครอบครัวเข้ากรุงเทพฯ และมาต่อชั้นมัธยมที่โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย จบปริญญาตรีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง อ้อมเริ่มเล่นดนตรีตั้งวงกับเพื่อนๆสมัยเรียน ชื่อวง “English” เล่นตามงานโรงเรียน จนกระทั่งปี 2 ก็เริ่มออกไปเล่นตามร้านอาหาร ต่อมาได้รับการชักชวนให้มาทำผลงานเพลงในนาม “คนคู่” ร่วมกับอาร์ม ในสังกัด "ซาวนด์สเกล" มีผลงานออกมา 2 ชุด ประสบความสำเร็จพอสมควร หลังจากนั้น ได้รับการชักชวนจาก นิติพงษ์ ห่อนาค และ เรวัต พุทธินันท์ แห่งจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ให้ออกผลงานเพลง ร่วมกับ ศักดา พัทธสีมา (ดา) และ นล สิงหลกะ (อ๋อ) และด้วยความบังเอิญที่ทั้งอ้อม ดาและอ๋อ ต่างก็ไว้ผมยาว จึงได้คิดหาสมาชิกอีก 3 คนที่ไว้ผมยาวเหมือนกัน คือ ปิติ ดวงพิกุล (ป๊อบ), รณภพ อรรคราช (เต้ย) และ วรวิทย์ พิกุลทอง (บอย) รวมตัวกันเป็น 6 หนุ่มผมยาวในนาม “วงอินคา”;ผลงานเพลง.

ดู พ.ศ. 2506และจารุวัฒน์ วิเศษสมบัติ

จาตุรงค์ มกจ๊ก

ตุรงค์ โพธาราม มีชื่อจริงว่า จตุรงค์ พลบูรณ์ เป็นนักแสดงตลกชาวไทย ที่มักเล่นเป็นกะเทยบ่อยๆ ซึ่งเดิมทีเป็นลูกทีมของหม่ำ จ๊กมกมีวลีติดปากคือ "ม่ายอาวม่ายพูด" และ "ม่ายกินเผ็ด" ทั้งยังเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ นักร้องเพลงลูกทุ่ง นักเขียน ผู้กำกับ จาตุรงค์ มีผลงานการแสดงภาพยนตร์อย่าง ส่วนมากเป็นภาพยนตร์ตลก อาทิ หัวหลุดแฟมิลี่ (2008), บ้านผีเปิบ (2008), ผีตาหวานกับอาจารย์ตาโบ๋ (2008), เหยิน เป๋ เหล่ เซมากูเตะ (2007), ตั๊ดสู้ฟุด (2007), หอแต๋วแตก (2007), ใน Before Valentine ก่อนรัก...หมุนรอบตัวเรา ทั้งยังเป็นผู้กำกับให้ภาพยนตร์อย่าง ตั๊ดสู้ฟุด (2007) และ โกยเถอะโยม (2006) มีผลงานเขียน พ็อกเก็ตบุ๊ค ชื่อ องค์รงค์ และยังเคยออกอัลบั้มเพลงลูกทุ่ง 1 ชุด มีเพลงดังคือ ไม่กินเผ็ด จาตุรงค์ โพธาราม มีความสามารถด้าน กลอน กาพย์ อาขยาน โดยสามารถท่องและต่อกลอนได้อย่างแม่นยำ นอกจากนี้ จาตุรงค์ ยังได้ผลักดันคือ พี มกจ๊ก ให้แจ้งเกิดเป็นนักแสดงตลกเด็ก รวมถึงลูกสาวคือ พัสกร พลบูรณ์ และ ณัทชาภา พลบูรณ์ ก็เป็นนักแสดงเช่นกัน.

ดู พ.ศ. 2506และจาตุรงค์ มกจ๊ก

จุนอิชิ คะเนะมะรุ

นอิชิ คะเนะมะรุ เป็นนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น มีผลงานมากมายเป็นที่รู้จัก ซึ่งบทที่สร้างชื่อเสียงให้แก่เขาอย่างมากคือ คาซามิ ฮายาโตะ จากเรื่องไซเบอร์ฟอร์มูล่า และ โซนิค จากเกมโซนิคเดอะเฮดจ์ฮ็อก.

ดู พ.ศ. 2506และจุนอิชิ คะเนะมะรุ

ธงชัย ประสงค์สันติ

งชัย ประสงค์สันติ เป็น นักร้อง, นักแสดง, พิธีกร และ ผู้กำกับละครโทรทัศน์ ชาวจังหวัดนครราชสีม.

ดู พ.ศ. 2506และธงชัย ประสงค์สันติ

ธนา ชีรวินิจ

นายธนา ชีรวินิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตประธานสภากรุงเทพมหานคร.

ดู พ.ศ. 2506และธนา ชีรวินิจ

ถนอม กิตติขจร

อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และถนอม กิตติขจร

ทอดด์ ลาเวลล์

ทอดด์ ทองดี มีชื่อจริงว่า โทมัส เจมส์ ลาเวลล์ (อังกฤษ: Thomas James Lavelle) เกิดเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2506 เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง นักดนตรีชาวอเมริกันที่มาใช้ชีวิตอยู่ในประเทศไทยนานหลายปี ปัจจุบันเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ คุณพระช่วย ร่วมกับภาณุพันธ์ ครุฑโต และพงษ์ศักดิ์ พงษ์สุวรรณ ทอดด์ ทองดี เกิดที่สแครนตัน เพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา มีเชื้อสายเยอรมันจากบิดา และไอริช-อเมริกันผิวสีจากมารดา ทอดด์เป็นบุตรคนที่ 3 จาก 6 คนของโทมัส ลาเวลล์ (เสียชีวิตแล้ว) และเชอร์ลีย์ ลาเวลล์ จบปริญญาตรีชีววิทยาและเอเชียศึกษาจากมหาวิทยาลัยสแครนตัน ในปี..

ดู พ.ศ. 2506และทอดด์ ลาเวลล์

ทะกะชิ มุระกะมิ

Takashi Murakami ทาคาชิ มูราคามิ เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506 ที่โตเกียว เป็นศิลปินชาวญี่ปุ่น ซึ่งรู้จักในชื่อของ ©MURAKAMI.

ดู พ.ศ. 2506และทะกะชิ มุระกะมิ

ดง ชุนลี

อง ฮุน ลี นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้ เกิดเมื่อ 8 มีนาคม พ.ศ. 2506 เสียชีวิตเมื่อ 9 กันยายนพ.ศ. 2538 หลังจากชก แพ้คะแนน เซตสุโอะ เซกาว่า เมื่อ 5 กันยายน เพียง 4 วัน รวมอายุได้ 32 ปี สถิติการชก 57 ครั้ง ชนะ 45 (น็อค 26) เสมอ 2 แพ้ 10.

ดู พ.ศ. 2506และดง ชุนลี

คลินต์ แมนเซลล์

ลินต์ แมนเซลล์ (Clint Mansell) เกิดวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1963 เป็นนักดนตรี-ผู้ประพันธ์เพลงชาวอังกฤษ และ เป็นอดีตนักร้องนำ และ มือกีตาร์ แห่งวงป็อปวิลอีตอิตเซลฟ.

ดู พ.ศ. 2506และคลินต์ แมนเซลล์

คิลบิล

ลบิล (Kill Bill) เป็นผลงานลำดับที่ 4 ของผู้กำกับและนักเขียนบทคนดัง เควนติน ทาแรนติโน (Reservoir Dogs, Pulp Fiction, Jackie Brown) โดยเขาสร้างเรื่องนี้ จากแรงบันดาลใจที่เขามีต่อภาพยนตร์จีนกำลังภายใน, ภาพยนตร์ยากูซ่า, ภาพยนตร์ซามูไร และภาพยนตร์คาวบอยตะวันตก ในช่วงทศวรรษที่ 1970 เข้าฉายในประเทศไทยโดยใช้ชื่อภาษาไทยว่า นางฟ้าซามูไร.

ดู พ.ศ. 2506และคิลบิล

คูลิโอ

อาร์ทิส ลีออน ไอวีย์ จูเนียร์ (Artis Leon Ivey, Jr.) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ คูลิโอ (Coolio) เกิดเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1963 เป็นแร็ปเปอร์และนักแสดงชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากซิงเกิลเปิดตัวในปี 1994 ที่ชื่อ "Fantastic Voyage" และต่อมาในปี 1995 กับซิงเกิลฮิตอันดับ 1 "Gangsta's Paradise" ที่บรรจุอยู่ในอัลบั้มเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง Dangerous Minds หมวดหมู่:แร็ปเปอร์อเมริกัน หมวดหมู่:นักแสดงอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐแคลิฟอร์เนีย.

ดู พ.ศ. 2506และคูลิโอ

คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ

ณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ (International Committee of the Red Cross; ICRC / Comité international de la Croix-Rouge (CICR)) เป็นองค์กรมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในประเทศสวิสเซอร์แลนด์เมื่อปี..

ดู พ.ศ. 2506และคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ

งามพรรณ เวชชาชีวะ

งามพรรณ เวชชาชีวะ (ชื่อเล่น: เจน) นักเขียน นักแปลผู้มีชื่อเสียง และนักธุรกิจเกี่ยวกับลิขสิทธิ์วรรณกรรม เจ้าของ รางวัลซีไรต์ ประจำปี..

ดู พ.ศ. 2506และงามพรรณ เวชชาชีวะ

ตวงรัตน์ โล่ห์สุนทร

นางสาวตวงรัตน์ โล่ห์สุนทร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และตวงรัตน์ โล่ห์สุนทร

ตำนานแห่งนาร์เนีย

ตำนานแห่งนาร์เนีย (The Chronicles of Narnia) เป็นชุดนิยายแฟนตาซีจำนวน 7 เล่ม เขียนโดย ซี.เอส. ลิวอิส ระหว่าง..

ดู พ.ศ. 2506และตำนานแห่งนาร์เนีย

ต่าย พิจิตร

ต่าย พิจิตร หรือชื่อจริง ชูชาติ ไตรรัตนประดิษฐ์ (ชื่อเล่น: ต่าย; 10 มกราคม พ.ศ. 2506 —) เป็นอดีตนักสนุกเกอร์อาชีพชาวไทย เขาได้เข้าร่วมแข่งขันรายการเวิลด์สนุกเกอร์แชมเปียนชิปมาแล้วถึงสามสมัย และสามารถเข้าสู่รอบแรกในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และต่าย พิจิตร

ซี. เอส. ลิวอิส

ลฟ์ สเตเปิลส์ ลิวอิส (Clive Staples Lewis; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2441 — 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506) หรือรู้จักในนาม ซี.เอ.

ดู พ.ศ. 2506และซี. เอส. ลิวอิส

ซีล

ซีล อาจหมายถึง.

ดู พ.ศ. 2506และซีล

ปฏิทินเกรโกเรียน

ปฏิทินเกรโกเรียน (Gregorian Calendar) เป็นปฏิทินที่ดัดแปลงมาจากปฏิทินจูเลียน ใช้กันแพร่หลายในประเทศตะวันตก ประกาศใช้ครั้งแรกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13 เมื่อ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และปฏิทินเกรโกเรียน

ประยูรศักดิ์ เมืองสุรินทร์

ประยูรศักดิ์ เมืองสุรินทร์ หรือ ประยูร สุทธิ เป็นนักมวยสากลชาวไทยรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท ชาวจังหวัดบุรีรัมย์ เกิดเมื่อ 10 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และประยูรศักดิ์ เมืองสุรินทร์

ประธานาธิบดีสหรัฐ

ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (President of the United States; ย่อ: POTUS) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลแห่งสหรัฐ เป็นผู้นำสูงสุดของฝ่ายบริหาร และเป็นจอมทัพสหรัฐ รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 บัญญัติว่า ประธานาธิบดีมีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายส่วนกลาง รับผิดชอบแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายบริหาร ข้าราชการทูต ข้าราชการประจำ และข้าราชการตุลาการในส่วนกลาง ทั้งมีอำนาจทำสนธิสัญญาเมื่อได้รับคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา นอกจากนี้ ประธานาธิบดีมีอำนาจอภัยโทษ ลดโทษ เปลี่ยนโทษ เรียกและเลื่อนประชุมสมัยวิสามัญแห่งสภาทั้งสองของรัฐสภา นับแต่สถาปนาประเทศเป็นต้นมา ประธานาธิบดีและรัฐบาลกลางมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และแม้ปัจจุบันไม่มีอำนาจนิติบัญญัติอย่างเป็นทางการนอกเหนือไปจากการลงนามและยับยั้งร่างกฎหมายที่รัฐสภาอนุมัติ แต่ประธานาธิบดีก็แบกรับความรับผิดชอบขนานใหญ่ในการกำหนดวาระประชุมพรรค รวมถึงกำหนดนโยบายการต่างประเทศและการในประเทศด้วย ประธานาธิบดีสหรัฐนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อมผ่านทางคณะผู้เลือกตั้ง (electoral college) มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 4 ปีและสามารถอยู่ในดำรงตำแหน่งได้ไม่เกิน 2 วาระซึ่งบัญญัติไว้ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งที่ 22 ที่ได้รับการอนุมัติในปี..

ดู พ.ศ. 2506และประธานาธิบดีสหรัฐ

ประเทศกานา

กานา (Ghana) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกานา (Republic of Ghana) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก พรมแดนด้านตะวันตกจรกประเทศโกตดิวัวร์ ด้านตะวันออกจรดประเทศบูร์กินาฟาโซ ด้านตะวันออกจรดประเทศโตโก โดยมีชายฝั่งทะเลด้านใต้ติดกับอ่าวกินี เดิมเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรมีชื่อเรียกว่า โกลด์โคสต์ (Gold Coast).

ดู พ.ศ. 2506และประเทศกานา

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ดู พ.ศ. 2506และประเทศมาเลเซีย

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ดู พ.ศ. 2506และประเทศสิงคโปร์

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ดู พ.ศ. 2506และประเทศอิหร่าน

ประเทศโบลิเวีย

ลิเวีย (Bolivia) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐพหุชนชาติแห่งโบลิเวีย เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตจรดประเทศบราซิลทางทิศเหนือและทิศตะวันออก จรดประเทศปารากวัยและอาร์เจนตินาทางทิศใต้ และจรดประเทศชิลีและเปรูทางทิศตะวันตก.

ดู พ.ศ. 2506และประเทศโบลิเวีย

ประเทศเลโซโท

ลโซโท (โซโทและLesotho) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรเลโซโท (โซโท: Mmušo wa Lesotho; Kingdom of Lesotho) เป็นประเทศขนาดเล็กในทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ทั้งหมด 30,355 ตารางกิโลเมตร (11,720 ตารางไมล์) พรมแดนถูกล้อมรอบด้วยประเทศแอฟริกาใต้ทุกทิศทำให้ไม่มีทางออกสู่ทะเล ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่ราบสูง มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดคือมาเซรู เลโซโทมีรูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ และเป็นหนึ่งในสามประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่นเดียวกับประเทศโมร็อกโกและประเทศสวาซิแลน.

ดู พ.ศ. 2506และประเทศเลโซโท

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ดู พ.ศ. 2506และประเทศเวียดนาม

ปรัศนี

ปรัศนี หรือ เครื่องหมายคำถาม หรือ เครื่องหมายสงสัย (question mark) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนสากลอย่างหนึ่ง มีลักษณะตล้ายตะขอหันทางซ้ายและมีจุดอยู่ข้างล่าง มีการใช้ดังนี้.

ดู พ.ศ. 2506และปรัศนี

ปรียานุช ปานประดับ

ปรียานุช ปานประดับ (เกิด 18 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นผู้หญิงไทยคนที่ 2 ที่ได้รับตำแหน่งมิสเอเชียแปซิฟิก นักแสดง ผู้จัดละคร และผู้เขียนบทโทรทัศน์ โดยใช้นามปากกาว่า นายพันดี สมรสกับนพพล โกมารชุน บุตรชายของจุรี โอศิริ และ เสนอ โกมารชุน.

ดู พ.ศ. 2506และปรียานุช ปานประดับ

ปานเลขา ว่านม่วง

ปานเลขา ว่านม่วง หรือชื่อจริงในปัจจุบัน รัฐธยาน์ ธิติสุรนันท์ เป็นมิสไทยแลนด์เวิลด์คนแรก ในปี พ.ศ. 2528.

ดู พ.ศ. 2506และปานเลขา ว่านม่วง

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร (เช่น พ.ศ. 2562 2556 2545 2534 2528 2517) ---- หมวดหมู่:ปฏิทิน.

ดู พ.ศ. 2506และปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร

นพพร วาทิน

นพพร วาทิน เป็นผู้มีส่วนร่วมและดำรงตำแหน่งด้านต่างๆในวงการบันเทิงของไทยมากมายเช่น ดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการบริษัท มหากาพย์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทผลิต และจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทย เช่น “ซามูไร อโยธยา” นอกจากนี้ยังดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการบริษัท สปอร์ต อาร์ต จำกัด (Sport Art Co., Ltd.) ที่ทำหน้าที่ผลิตสื่อบันเทิงในรูปแบบของกีฬา โดยผลงานที่โดดเด่นคือ “Thai fight”.

ดู พ.ศ. 2506และนพพร วาทิน

นัฏฐา ลอยด์

นัฏฐา ลอยด์ เป็นพิธีกร นักแสดงชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน..

ดู พ.ศ. 2506และนัฏฐา ลอยด์

นีล โฟลส์

นีล โฟลส์ (Neal Foulds) เกิดเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1963 เป็นอดีตนักสนุกเกอร์อาชีพชาวอังกฤษและผู้บรรยายกีฬาสนุกเกอร.

ดู พ.ศ. 2506และนีล โฟลส์

แบรด พิตต์

วิลเลียม แบรดลีย์ พิตต์ เป็นนักแสดงชายชาวอเมริกัน เขาถูกเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์จากภาพยนตร์เรื่อง 12 Monkeys (1995) ปีเดียวกับที่นิตยสารพีเพิ่ลยกให้เป็น "ผู้ชายที่เซ็กซี่ที่สุด (ที่ยังมีชีวิตอยู่)" และยังเป็นผู้อำนวยการสร้างในนาม Plan B Entertainment ที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง พิตต์เพิ่งได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลลูกโลกทองคำ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม โดยประกบเคท แบลนเช็ต ใน BABEL ของอเลแจนโดร กอนซาเลซ อินาริตู และเป็นหนึ่งในคณะนักแสดงที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล Screen Actors Guild Award สาขา Outstanding Performance by a Motion Picture Cast ด้ว.

ดู พ.ศ. 2506และแบรด พิตต์

แบร์นาร์ กาซเนิฟว์

แบร์นาร์ กาซเนิฟว์ (Bernard Cazeneuve) เป็นนักการเมืองชาวฝรั่งเศสจากพรรคสังคมนิยม ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสคนที่ 171 ภายใต้ประธานาธิบดีฟร็องซัว ออล็องด์ ตั้งแต่เดือนธันวาคม..

ดู พ.ศ. 2506และแบร์นาร์ กาซเนิฟว์

แชน วรงคไพสิฐ

ลตำรวจโท แชน วรงคไพสิฐ หรือที่รู้จักในชื่อ ดาบแชน เป็นตำรวจนักกู้ระเบิดที่มีชื่อเสียง ผู้ให้สัมภาษณ์ตามสื่อต่าง ๆ และออกรายการโทรทัศน์หลายครั้ง รวมถึงเป็นหัวหน้าหน่วยทำลายล้างวัตถุระเบิด ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อ "หน่วยเหยี่ยวดง 60"‘หมวดแชน’...

ดู พ.ศ. 2506และแชน วรงคไพสิฐ

แฟตบอยสลิม

นอร์แมน เควนติน คุก (Norman Quentin Cook) เกิดเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1963 หรือเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อว่า แฟตบอยสลิม (Fatboy Slim) เป็นดีเจจากอังกฤษสไตล์บิ๊กบีต โดยเขาจะรวมเพลงแนวอื่นอย่าง เบรกบีต, ร็อก, ฮิปฮอป, แทรนซ์, เฮาส์ และ อาร์แอนด์บี เข้าผสมในเพลงของเขา เจ้าของซิงเกิลฮิตอย่าง “Right Here, Right Now”, “Gangster Trippin”, “Bird Of Prey” และ “Weapon Of Choice” เป็นต้น เขาเคยเป็นสมาชิกวง เดอะเฮาส์มาร์ตีนส์ (The Housemartins) และ ก่อตั้งวง บีตส์อินเตอร์เนชั่นแนล (Beats International) ตั้งแต่ปี 1989 ถึง 1992 โดยมีเพลงฮิตอย่าง "Dub Be Good to Me" ติดอันดับ 1 บนยูเคอัลบั้มส์ชาร์ต และ ฟรีกพาวเวอร์ (Freak Power) วงดนตรีแนวเอซิดแจ๊สที่มี แอชลี่ย์ สเลเทอร์ เป็นนักร้องนำ โดยมีเพลง "Turn On, Tune In, Cop Out" ติดอันดับ 3 บนชาร์ตซิงเกิลแห่งสหราชอาณาจักร.

ดู พ.ศ. 2506และแฟตบอยสลิม

แกบโบเรย์ ซิดิเบ

แกบโบเรย์ ซิดิเบ (Gabourey Sidibe) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1963 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน ที่มีผลงานการแสดงเปิดตัวในภาพยนตร์ปี 2009 เรื่อง Precious: Based on the Novel "Push" by Sapphire ซึ่งจากบทบาทนี้ทำให้เธอได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในสาขา นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม.

ดู พ.ศ. 2506และแกบโบเรย์ ซิดิเบ

แกรี คาสปารอฟ

แกรี คีโมวิช คาสปารอฟ (Га́рри Ки́мович Каспа́ров.; Garry Kimovich Kasparov; 13 เมษายน พ.ศ. 2506 —) เป็นนักหมากรุกชาวรัสเซีย เชื่อสายยิว-อาร์มีเนีย เคยเป็นแชมป์โลกหมากรุกสากลในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และแกรี คาสปารอฟ

แมกซ์เวลล์ เทรเวอร์

แมกซ์เวลล์ เทรเวอร์ (Maxwell Trevor) เป็นนักจักรยานชาวอินเดีย ซึ่งถือเป็นนักจักรยานที่ยอดเยี่ยมที่สุดของประเทศอินเดีย เทรเวอร์เป็นผู้ครองสถิติของประเทศ โดยชนะเหรียญรางวัลกว่า 250 เหรียญและเป็นแชมป์จักรยานลู่ของประเทศสิบเอ็ดสมั.

ดู พ.ศ. 2506และแมกซ์เวลล์ เทรเวอร์

แอฟริกาคัพออฟเนชันส์

แอฟริกันคัพออฟเนชันส์ (African Cup of Nations) หรือบางทีเรียกว่า แอฟริกันเนชันส์คัพ (African Nations Cup ย่อว่า ANC) เป็นการแข่งขันสำหรับทีมชาติที่ใหญ่ที่สุดในทวีปแอฟริกาจัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแอฟริกา (CAF) โดยเริ่มจัดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และแอฟริกาคัพออฟเนชันส์

แฮร์โรลด์ แพร์ริโน

แฮร์โรลด์ แพร์ริโน จูเนียร์ (Harold Perrineau, Jr.) เกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1963 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในบทไมเคิล ดอว์สัน ในซีรีส์ทางโทรทัศน์เรื่อง Lost บท ลิงก์ ในภาพยนตร์ The Matrix และออกัสตุส ฮิล ในซีรีส์อเมริกันเรื่อง Oz และบท เมอร์คูติโอ ในภาพยนตร์ของบาซ ลูห์แมนน์ ใน Romeo + Juliet เขายังแสดงในซีรีส์ตลก-ดราม่า ทางช่องเอบีซี เรื่อง The Unusuals.

ดู พ.ศ. 2506และแฮร์โรลด์ แพร์ริโน

โบอัวเลม เบลกีฟ

อัวเลม เบลกีฟ (Boualem Belkif) นักมวยสากลชาวแอลจีเรีย เกิดเมื่อ 15 ธันวาคม..

ดู พ.ศ. 2506และโบอัวเลม เบลกีฟ

โชคอนันต์ อังสกุลอาภรณ์

อนันต์ อังสกุลอาภรณ์ หรือชื่อเดิม อำนาจ อังสกุลอาภรณ์ (31 มีนาคม พ.ศ. 2506 —) เป็นผู้ฝึกสอนทั้งวิชากระบี่กระบองและมวยไทย ซึ่งประสบความสำเร็จในการแข่งขันหลายเวทีร่วมหลายสมัยติดต่อกัน นอกจากนี้ เขายังดำรงตำแหน่งกรรมการกิจกรรมสมาคมโหรแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยได้รับการยกย่องให้เป็นโหรที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักในนาม "โหรทิพย์เนตร".

ดู พ.ศ. 2506และโชคอนันต์ อังสกุลอาภรณ์

โชเซ มูรีนโย

ูแซ มารีอู ดุช ซังตุช โมริญญู แฟลิกส์ (José Mário dos Santos Mourinho Félix) หรือ โชเซ มูรีนโย ตามการออกเสียงในภาษาอังกฤษในภาษาอังกฤษออกเสียง หรือ.

ดู พ.ศ. 2506และโชเซ มูรีนโย

โกโช อาโอยามะ

กโช อาโอยามะ (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2506) ชื่อเกิด โยชิมาซะ อาโอยามะ เป็นนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น ที่มีชื่อเสียงจากการ์ตูนเรื่อง ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน นอกจากนี้เขายังเป็นผู้ออกแบบตัวละครที่เป็นมนุษย์ให้แก่อะนิเมะเรื่อง แฮมทาโร่ แก๊งจิ๋วผจญภัย อีกด้ว.

ดู พ.ศ. 2506และโกโช อาโอยามะ

โมฮัมเหม็ด คาอิล ปายัล

มฮัมเหม็ด คาอิล ปายัล (Mohammed Khalil Payal) นักมวยสากลชาวฟิจิ เกิดเมื่อ 30 สิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2506และโมฮัมเหม็ด คาอิล ปายัล

โย คิตะซะวะ

ตะซะวะ เกิดเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม..

ดู พ.ศ. 2506และโย คิตะซะวะ

โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

รงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เป็นโรงพยาบาลทั่วไป ขนาด 1,200 เตียง ตามอัตราการจัดเฉพาะกิจที่ 3600 มีภารกิจดังต่อไปนี้ 1.

ดู พ.ศ. 2506และโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

โรงเรียนลาซาล

รงเรียนลาซาลกรุงเทพ เป็นโรงเรียนสหศึกษาเอกชนโรมันคาทอลิก ที่คณะภราดาลาซาลตั้งขึ้นเป็นสาขาที่ 3 และสาขาล่าสุดของเครือข่ายโรงเรียนลาซาลในประเทศไทยในปี พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และโรงเรียนลาซาล

โรนัลด์ กุมัน

รนัลด์ กุมัน (Ronald Koeman; เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม ค.ศ. 1963 ที่เมืองซานดัม จังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์) เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวดัตช์ ปัจจุบันเป็นผู้จัดการทีมชาติเนเธอร์แลนด์ กุมันเป็นน้องชายของแอร์วิน กุมัน อดีตผู้ฝึกสอนของไฟเยอโนร์ด และเป็นลูกชายของมาร์ติน กุมัน อดีตนักฟุตบอลทีมชาติเนเธอร์แลนด์ กุมันเป็นหนึ่งในกองหลังที่ดีที่สุดตลอดกาล เป็นที่รู้จักกันดีในเรื่องความแม่นยำในการยิงระยะไกล (โดยเฉพาะฟรีคิก) และเป็นกองหลังที่ทำประตูได้มากที่สุดเป็นอันดับต้น ๆ ในวงการฟุตบอลโลก by the IFFHS.

ดู พ.ศ. 2506และโรนัลด์ กุมัน

โทมัส เบรซิน่า

Thomas C.Brezina โทมัส เบรซิน่า (Thomas Brezina) เป็นนักเขียนหนังสือนิยายและเรื่องสั้นสำหรับเด็กชาวออสเตรีย เกิดวันที่ 30 มกราคม 1963 ที่เมืองเวียนนา ประเทศออสเตรีย ผลงานที่มีชื่อเสียงของเขาได้แก่ ชุดสืบสนุกกับนักสืบทีมเสือ ซึ่งได้รับความนิยมในหมู่เด็กๆอย่างมาก.

ดู พ.ศ. 2506และโทมัส เบรซิน่า

โทรี เอมอส

ทรี เอมอส (Tori Amos) เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1963 เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลง นักเปียโน ชาวอเมริกัน เธอแต่งงานกับซาวด์เอนจิเนียร์ชาวอังกฤษที่ชื่อ มาร์ก ฮอว์ลีย์ มีลูกสาวด้วยกัน 1 คน ชื่อ Natashya "Tash" Lórien Hawley เกิดวันที่ 5 กันยายน..

ดู พ.ศ. 2506และโทรี เอมอส

โควินทา (นักแสดง)

วินทา (गोविंदा, เกิด 14 ธันวาคม พ.ศ. 2506) มีชื่อจริงว่า โควินท์ อรุณ อหุชา เป็นนักแสดงตลกที่มีชื่อเสียงของบอลลีวูด ผลงานภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงของเขา คือ Salaam - e - Ishq: Tribute to Love และในปี..

ดู พ.ศ. 2506และโควินทา (นักแสดง)

โคปาอเมริกา

ปาอเมริกา (Copa America) เป็นการแข่งขันฟุตบอลนานาชาติของทวีปอเมริกา จัดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2459 การแข่งขันเกิดขึ้นไม่สม่ำเสมอจากสาเหตุต่างๆ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต..

ดู พ.ศ. 2506และโคปาอเมริกา

โคแนน โอ'ไบรอัน

แนน คริสโตเฟอร์ โอ'ไบรอัน (Conan Christopher O'Brien) เกิดเมื่อวันที่ 18 เมษายน..

ดู พ.ศ. 2506และโคแนน โอ'ไบรอัน

โง ดิ่ญ เสี่ยม

ง ดิ่ญ เสี่ยม (Ngô Đình Diệm; ในอดีตนิยมทับศัพท์ว่า โง ดินห์ เดียม) เป็นประธานาธิบดีคนแรกของเวียดนามใต้ตั้งแต่วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และโง ดิ่ญ เสี่ยม

ไบรอัน แมคแคลร์

รอัน จอห์น แมคแคลร์ (เกิด 8 ธันวาคม 1963) เป็นอดีตนักฟุตบอลทีมชาติ สกอตแลนด์ และของ แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด และผู้อำนวยการศูนย์ฝึกเยาวชนของทีมปีศาจแดง.

ดู พ.ศ. 2506และไบรอัน แมคแคลร์

ไมเคิล จอร์แดน

มเคิล เจฟฟรี จอร์แดน (Michael Jeffrey Jordan, 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2506: ค.ศ. 1963 ถึง ปัจจุบัน) เป็นนักบาสเกตบอลอาชีพ สังกัดทีมชิคาโก บูลส์ (Chicago Bulls) เล่นในตำแหน่งชู้ตติ้งการ์ด ในลีกเอ็นบีโอ (NBA: National Basketball Association) ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นนักกีฬาที่ยอดเยี่ยมคนหนึ่งในประวัติศาสตร์การกีฬาบาสเกตบอล ปัจจุบันเลิกเล่นแล้ว.

ดู พ.ศ. 2506และไมเคิล จอร์แดน

เบร็ต ไมเคิลส์

ร็ต ไมเคิลส์ (Bret Michaels) เกิดเมื่อวันที่ 15 มีนาคม..

ดู พ.ศ. 2506และเบร็ต ไมเคิลส์

เบนจามิน แบร็ต

นจามิน แบร็ต (Benjamin Bratt) เกิดเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม..

ดู พ.ศ. 2506และเบนจามิน แบร็ต

เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา

ันเอก เฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2506 เป็นบุตรชายของ พลเอก เฟื่องเฉลย อนิรุทธเทวา และ หม่อมราชวงศ์หญิงวิมลโพยม (สวัสดิวัตน์) มีชื่อเล่นว่า "แซม" สืบตระกูลโดยเป็นหลานชายของพระยาอนิรุทธเทวา (หม่อมหลวงฟื้น พึ่งบุญ) ผู้เป็นเจ้าของบ้านพิษณุโลก น้องชายของเจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) ผู้เป็นเจ้าของบ้านนรสิงห์ โดยที่ตระกูลอนิรุทธเทวารับราชการทหารมาตั้งแต่รัชสมัยล้นเกล้ารัชกาลที่ 6.

ดู พ.ศ. 2506และเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวา

เพอร์รี บรอยทีกัม

อร์รี บรอยทีกัม (Perry Bräutigam) เกิดวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1963 ที่อัลเทนบูร์ก เป็นทั้งผู้ฝึกสอนและอดีตผู้เล่นฟุตบอลชาวเยอรมัน ผู้ซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้ฝึกสอนผู้รักษาประตูให้แก่ทีมอาร์บีไลพ์ซ.

ดู พ.ศ. 2506และเพอร์รี บรอยทีกัม

เกษมสันต์ วีระกุล

กษมสันต์ วีระกุล คณะทำงานด้านเศรษฐกิจของพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตรองหัวหน้าพรรครวมใจไทยชาติพัฒนา อดีตผู้อำนวยการสำนักสื่อสารองค์กร บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) และอดีตผู้ดำเนินรายการ เหตุบ้านการเมือง ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ปัจจุบัน เป็นนักวิชาการอิสระ และผู้เชี่ยวชาญด้าน AEC? และเป็นผู้ดำเนินรายการช่วงข่าวต่างๆ ทางช่อง TNN 24 สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และ 3SD เช่น เหตุบ้านการเมือง, AEC Insight กับเกษมสันต์, AEC Plus กับเกษมสันต์, AEC World, ข่าวเช้าวันหยุด, เที่ยงวันทันโลก และคลื่นวิทยุ FM 100.5 รายการ Good Morning ASEAN ช่วง เจาะลึกอาเซียน นายเกษมสันต์ วีระกุล ได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำ รายการสถานการณ์ปัจจุบันดีเด่น ประจำปี 2542 และผู้ดำเนินรายการชายดีเด่น รายการเหตุบ้านการเมือง ประจำปี 2543 รางวัล Boss of the year 2005 นักบริหารจัดการดีเด่น สาขาบริหารจัดการธุรกิจการตลาด ประจำปี 2548, รางวัลช่อสะอาด ปี 2557 จากผลงาน “ถอดบทเรียนปราบปรามคอร์รัปชั่นโลก” เผยแพร่ทางสถานีข่าว TNN 24 ล่าสุดได้รับรางวัลพระราชทาน รางวัลเทพทอง ครั้งที่ 17 ประจำปี 2559 ด้านโทรทัศน์ดีเด่น นายเกษมสันต์ วีระกุล ผู้ดำเนินรายการ "ข่าวเช้าวันหยุด" ช่วงอะเมซิ่งเออีซีกับเกษมสันต์ ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ดู พ.ศ. 2506และเกษมสันต์ วีระกุล

เกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร

นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พรรคชาติไทยพัฒนา และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไท.

ดู พ.ศ. 2506และเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร

เกียรติ กิจเจริญ

กียรติ กิจเจริญ มีชื่อเล่นว่า กิ๊ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า ซูโม่กิ๊ก (22 กันยายน 2506 -) นักแสดงและพิธีกรชาวไท.

ดู พ.ศ. 2506และเกียรติ กิจเจริญ

เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์

กียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ (30 มกราคม พ.ศ. 2506 -) เป็นหนึ่งในสมาชิกวงดนตรีเฉลียง ซึ่งได้เคยแสดงคอนเสิร์ตถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และในการกุศลต่างๆ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกองทุนเฉลียง เพื่อมอบทุนสนับสนุนกิจกรรมการศึกษาสำหรับเด็ก.

ดู พ.ศ. 2506และเกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์

เร อิงะระชิ

ร อิงะระชิ หรือ ทะกะโกะ โอฮะมะ เกิดเมื่อวันที่ 9 มกราคม..

ดู พ.ศ. 2506และเร อิงะระชิ

เลส เคลย์พูล

ลสลี เอ็ดเวิร์ด "เลส" เคลย์พูล เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน..

ดู พ.ศ. 2506และเลส เคลย์พูล

เลโอ กาเมซ

ซิลบีโอ ราฟาเอล กาเมซ (Silvio Rafael Gámez) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เลโอ กาเมซ (Leo Gámez) นักมวยสากลชาวเวเนซุเอลา เกิดเมื่อ 8 สิงหาคม..

ดู พ.ศ. 2506และเลโอ กาเมซ

เว้

ว้ (Huế เฮฺว้; จื๋อโนม: 化) เป็นเมืองเอกของจังหวัดเถื่อเทียน-เว้ ประเทศเวียดนาม และเคยเป็นเมืองหลวงเก่าในสมัยราชวงศ์เหงียนช่วงปี..

ดู พ.ศ. 2506และเว้

เหมย ยั่นฟาง

หมยเยี่ยนฟาง (เกิด 10 ตุลาคม 1963, เสียชีวิต 30 ธันวาคม 2003) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวฮ่องกง ได้รับฉายาว่า มาดอนน่าแห่งเอเชีย (東方麥當娜) มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับอย่างสูงในวงการเพลงป๊อปภาษากวางตุ้ง หรือ Cantopop และได้รับรางวัลอย่างมากมายจากผลงานเพลงตลอดจนผลงานการแสดง โดยจัดเป็นดีวาคนหนึ่งในวงการเพลงฮ่องกง นอกจากนี้เธอยังเป็นน้องสาวแท้ๆของ เหมยอ้ายฟาง (Ann Mui) นักร้องและนักแสดงสาวชาวฮ่องกงที่มีผลงานการแสดงในยุค 1980-1990 เหมยเยี่ยนฟาง เป็นนักร้องที่มีลีลาการแสดงบนเวทีที่ดึงดูดผู้ชม ประกอบกับมีการร้องที่เป็นเอกลักษณ์ด้วยการใช้น้ำเสียงที่มีพิสัยต่ำแนวคอนทราลโตซึ่งหาได้ยากในหมู่นักร้องเพศหญิง โดยมีฐานแฟนเพลงเหนียวแน่นในฮ่องกง,จีน, มาเลเซีย และสิงคโปร์ ตลอดจนมีกลุ่มแฟนเพลงในประเทศอื่นๆในทวีปเอเชียรวมทั้งประเทศไทย ในปี..2003 เหมยเยี่ยนฟาง ตรวจพบว่าเป็นมะเร็งปากมดลูกและเสียชีวิตลงในวันที่ 30 ธันวาคม ปีเดียวกัน ด้วยวัยเพียง 40 ปี หลังจากเสียชีวิตเธอไม่เพียงแต่จะถูกจดจำและระลึกถึงในวงการบันเทิงฮ่องกงเพียงแค่ผลงานเพลงและภาพยนตร์ แต่ยังรวมถึงกิจกรรมทางการกุศลต่างๆอีกด้ว.

ดู พ.ศ. 2506และเหมย ยั่นฟาง

เอลิซาเบธ ชู

อลิซาเบธ จัดสัน ชู นักแสดงหญิงชาวอเมริกัน เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ รางวัลบาฟตา รางวัลลูกโลกทองคำ และรางวัลของสมาคมนักแสดงอาชีพแห่งอเมริกา จากบทบาทการแสดงเป็นโสเภณีในภาพยนตร์ปี 1995 เรื่อง Leaving Las Vegas คู่กับนิโคลัส เคจ เอลิซาเบธ ชู เกิดที่เมืองวิลมิงตัน เดลาแวร์ สหรัฐอเมริกา เติบโตที่นิวเจอร์ซีย์ มารดาเป็นนักธุรกิจ นักการธนาคาร บิดาเป็นนักกฎหมาย นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และเคยลงสมัครเป็นตัวแทนพรรครีพับลิกันรับเลือกตั้งเป็นวุฒิสมาชิกรัฐนิวเจอร์ซีย์ หลังจากจบการศึกษาชั้นมัธยม เธอเข้าศึกษาต่อด้านศิลปะที่วิทยาลัยเวสลีย์ และด้านรัฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ก่อนจะหยุดเรียนเพื่อไปทำงานด้านการแสดง หลังจากประสบความสำเร็จในอาชีพนักแสดง เธอกลับเข้าศึกษาต่อที่ฮาร์วาร์ดในปี 2000 จนจบปริญญา เอลิซาเบธ ชู มีผลงานแสดงครั้งแรกรับบทเป็นแฟนสาวของราล์ฟ แม็กชิโอ ใน The Karate Kid (1984) ภาพยนตร์วัยรุ่นที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง, รับบทนำคู่กับเทเรนซ์ สแตมพ์ ใน Link (1986) ภาพยนตร์ระทึกขวัญอังกฤษ ที่ทำให้เธอได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแซทเทิร์น สาขานักแสดงนำหญิง, รับบทเป็นแฟนสาวของทอม ครูซ ใน Cocktail (1988) และรับบทเล็กๆ เป็นแฟนสาวของไมเคิล เจ.

ดู พ.ศ. 2506และเอลิซาเบธ ชู

เอจิ อะโอะนุมะ

ออิจิ อาโอนูมะ (Eiji Aonuma, 青沼 英二) เป็นผู้อำนวยการผลิต, กำกับ และ ออกแบบวิดีโอเกมชาวญี่ปุ่น ผู้ซึ่งทำงานให้นินเทนโด เป็นผู้อำนวยการผลิต และ ผู้จัดการของเดอะเลเจนด์ออฟเซล.

ดู พ.ศ. 2506และเอจิ อะโอะนุมะ

เอธัส มนต์เสรีนุสรณ์

นายเอธัส มนต์เสรีนุสรณ์ นักธุรกิจบริหารกิจการ และผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2552 โดยก่อนหน้านั้นได้ทำธุรกิจกับบริษัทของครอบครัวในด้านอุตสาหกรรมเคมี.

ดู พ.ศ. 2506และเอธัส มนต์เสรีนุสรณ์

เอียน ไรต์

อียน เอ็ดวาร์ด ไรท์ (Ian Edward Wright) เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน..

ดู พ.ศ. 2506และเอียน ไรต์

เอ็ดวิน โรซาริโอ

อ็ดวิน โรซาริโอ (Edwin Rosario) นักมวยสากลชาวปวยร์โตรีโก เกิดเมื่อ 15 มีนาคม..

ดู พ.ศ. 2506และเอ็ดวิน โรซาริโอ

เฮซุส ซาลูด

ซุส ซาลูด (Jesus Salud) หรือเฮซุส ยากิน ซาลูด (Jesus Yagin Salud) เกิดเมื่อ 3 พฤษภาคม..

ดู พ.ศ. 2506และเฮซุส ซาลูด

เฮเลน ฮันต์

ลน ฮันท์ เกิดเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1963 เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน โด่งดังจากบทบาทในซิทคอมทางโทรทัศน์เรื่อง Mad About You.

ดู พ.ศ. 2506และเฮเลน ฮันต์

เจมส์ เฮตฟีลด์

มส์ แอลัน เฮตฟีลด์ (James Alan Hetfield) (เกิด 3 สิงหาคม ค.ศ. 1963) เป็นนักดนตรี นักร้อง นักกีตาร์และนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ร่วมก่อตั้งและสมาชิกคนปัจจุบันของวง เมทัลลิกา โดยทำหน้าที่เป็นนักร้องนำ มือริทึมกีตาร์ และแต่งเพลงหลัก เฮทฟิลด์ ยังเป็นรู้จักในฐานะผู้บรรเลงริทึมกีตาร์อันซับซ้อน แต่หลายครั้งก็เล่นเป็นมือหลักและเล่นในท่อนโซโล่ ทั้งในสตูดิโอและการแสดงสด เฮทฟิลด์ได้ร่วมก่อตั้งวงเมทัลลิกาขึ้นในเดือนตุลาคม..

ดู พ.ศ. 2506และเจมส์ เฮตฟีลด์

เจสัน ไอแซ็กส์

ัน ไอแซ็กส์ เกิดเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1963 เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ เกิดในลิเวอร์พูล โตในลิเวอร์พูลและต่อมาในลอนดอน มีผลงานเด่นในบท พันเอกทาวิงตัน จากเรื่อง The Patriot (2000).

ดู พ.ศ. 2506และเจสัน ไอแซ็กส์

เจิน จื่อตัน

น จื่อตัน หรือ ดอนนี่ เยน (Donnie Yen) เป็นนักแสดง, ผู้กำกับ และผู้ออกแบบฉากต่อสู้ที่มีชื่อเสียงของฮ่องกง เขาเกิดวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และเจิน จื่อตัน

เจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก

้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก เป็นพระโอรสพระองค์เล็กใน แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก กับ แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก พระองค์เป็นพระอนุชาใน แกรนด์ดยุกอ็องรีแห่งลักเซมเบิร์ก ทรงเป็นพระราชนัดดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ผ่านทางสายพระราชมารดา พระองค์เสกสมรสกับ นางสาวซิบิลลา ซานดรา วอลเลอร์ ทอรโลเนีย พระนัดดาใน เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสเปน และเป็นพระราชปนัดดาใน พระเจ้าอัลฟองโซที่ 13 แห่งสเปน และ วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน รับพระราชทานพระอิสริยยศ เจ้าหญิงแห่งลักเซมเบิร์ก มีพระโอรส-ธิดารวม 3 พระอง.

ดู พ.ศ. 2506และเจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์ก

เจ้าชายโลร็องแห่งเบลเยียม

้าชายโลร็องแห่งเบลเยียม (พระนามเต็ม: โลร็อง เบอนัว โบดวง มารี, Laurent Benoît Baudouin Marie de Belgique, Laurens Benedikt Boudewijn Maria van België) ประสูติเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ.

ดู พ.ศ. 2506และเจ้าชายโลร็องแห่งเบลเยียม

เจ้าชายไฟซาห์ บิน ฮุสเซน

้าชายไฟซาห์ บิน ฮุสเซน เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 2 และพระราชบุตรพระองค์ที่ 3 ในจำนวนพระบุตรทั้ง 11 ใน สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน ประสูติแต่เจ้าหญิงมูนา อัลฮุซัยน์ เป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชบิดาพระราชมารดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 มีพระเชษฐาและพระขนิษฐาร่วมพระอุทร ดังนี้.

ดู พ.ศ. 2506และเจ้าชายไฟซาห์ บิน ฮุสเซน

เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี

้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี (ประสูติ 12 มีนาคม พ.ศ. 2506-) พระราชธิดาพระองค์กลางในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี กับจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี ชาห์และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ปาห์ลาวี และประเทศอิหร่าน.

ดู พ.ศ. 2506และเจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี

เจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น

้าหญิงมะซะโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น (ประสูติ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระชายาในเจ้าชายนะรุฮิโตะ มกุฎราชกุมารแห่งญี่ปุ่น พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะและสมเด็จพระจักรพรรดินีมิชิโกะ โดยสมาชิกราชวงศ์ราชวงศ์ญี่ปุ่นหลังจากการอภิเษกสมร.

ดู พ.ศ. 2506และเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่น

เจ้าหญิงเดซีเร ฟอน โฮเอินโซลเลิร์น

้าหญิงเดซีเรแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น เป็นพระธิดาพระองค์กลางและพระองค์เดียว เจ้าชายโยฮันน์ จอร์จแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น กับ เจ้าหญิงบีร์กิตตาแห่งสวีเดน.

ดู พ.ศ. 2506และเจ้าหญิงเดซีเร ฟอน โฮเอินโซลเลิร์น

เทร์รี ไชโว

เทรีซา มารี ชินด์เลอร์ (Teresa Marie Schindler; 3 ธันวาคม พ.ศ. 2506-31 มีนาคม พ.ศ. 2548) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เทร์รี ไชโว (Terri Schiavo) เป็นสตรีอเมริกันจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก รัฐฟลอริดา ผู้ซึ่งอยู่ในสภาพผักตลอดเวลาในช่วงเวลา 15 ปีสุดท้ายของชีวิต การต่อสู้ระหว่างฝ่ายศาลและฝ่ายนิติบัญญัติเกี่ยวกับการถอดท่ออาหารของเธอออก กระตุ้นให้สื่อเกิดความสนใจอย่างมหาศาล และก่อให้เกิดการโต้เถียงเกี่ยวกับจริยธรรมชีวภาพ, การุณยฆาต, การอนุบาลตามกฎหมาย, ระบอบสหพันธรัฐ, และสิทธิของพลเมือง หมวดหมู่:จริยธรรมทางการแพทย์ หมวดหมู่:การโต้เถียงทางการแพทย์.

ดู พ.ศ. 2506และเทร์รี ไชโว

เดวิด มอยส์

วิด วิลเลียม มอยส์ (David William Moyes; เกิดวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1963) เป็นอดีตนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวสกอตแลน.

ดู พ.ศ. 2506และเดวิด มอยส์

เดวิด เยตส์

วิด เยตส์ เดวิด เยตส์ เกิดปี..

ดู พ.ศ. 2506และเดวิด เยตส์

เควนติน แทแรนติโน

วนติน เจอโรม แทแรนติโน (Quentin Jerome Tarantino) เกิดวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1963 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน นักเขียนบท โปรดิวเซอร์ ผู้กำกับภาพ และนักแสดง ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 เขาเป็นผู้สร้างภาพยนตร์อิสระ ใช้เส้นเรื่องแบบไม่เป็นเส้นตรง สุนทรียศาสตร์แห่งความรุนแรง ผลงานที่เป็นที่รู้จักเช่น My Best Friend's Birthday (1987), Reservoir Dogs (1992), Pulp Fiction (1994), Jackie Brown (1997), Kill Bill (Vol.

ดู พ.ศ. 2506และเควนติน แทแรนติโน

เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์

นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ (เกิด 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2506) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดภูเก็ต 2 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรระบบสัดส่วน.

ดู พ.ศ. 2506และเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์

1 พฤศจิกายน

วันที่ 1 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 305 ของปี (วันที่ 306 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 60 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ1 พฤศจิกายน

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ1 พฤษภาคม

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ1 กุมภาพันธ์

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ1 สิงหาคม

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ1 ธันวาคม

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ1 ตุลาคม

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ1 เมษายน

10 พฤศจิกายน

วันที่ 10 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 314 ของปี (วันที่ 315 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 51 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ10 พฤศจิกายน

10 กันยายน

วันที่ 10 กันยายน เป็นวันที่ 253 ของปี (วันที่ 254 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 112 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ10 กันยายน

10 มกราคม

วันที่ 10 มกราคม เป็นวันที่ 10 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 355 วันในปีนั้น (356 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ10 มกราคม

10 มีนาคม

วันที่ 10 มีนาคม เป็นวันที่ 69 ของปี (วันที่ 70 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 296 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ10 มีนาคม

10 ธันวาคม

วันที่ 10 ธันวาคม เป็นวันที่ 344 ของปี (วันที่ 345 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 21 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ10 ธันวาคม

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ10 ตุลาคม

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ10 เมษายน

11 พฤศจิกายน

วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 315 ของปี (วันที่ 316 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 50 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ11 พฤศจิกายน

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ11 พฤษภาคม

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ11 กุมภาพันธ์

11 ตุลาคม

วันที่ 11 ตุลาคม เป็นวันที่ 284 ของปี (วันที่ 285 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 81 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ11 ตุลาคม

12 พฤษภาคม

วันที่ 12 พฤษภาคม เป็นวันที่ 132 ของปี (วันที่ 133 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 233 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ12 พฤษภาคม

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ12 มีนาคม

13 พฤษภาคม

วันที่ 13 พฤษภาคม เป็นวันที่ 133 ของปี (วันที่ 134 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 232 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ13 พฤษภาคม

13 กรกฎาคม

วันที่ 13 กรกฎาคม เป็นวันที่ 194 ของปี (วันที่ 195 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 171 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ13 กรกฎาคม

13 กันยายน

วันที่ 13 กันยายน เป็นวันที่ 256 ของปี (วันที่ 257 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 109 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ13 กันยายน

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ13 กุมภาพันธ์

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ13 เมษายน

14 กันยายน

วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ14 กันยายน

14 สิงหาคม

วันที่ 14 สิงหาคม เป็นวันที่ 226 ของปี (วันที่ 227 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 139 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ14 สิงหาคม

14 เมษายน

วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ14 เมษายน

15 กุมภาพันธ์

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 46 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 319 วันในปีนั้น (320 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ15 กุมภาพันธ์

15 มิถุนายน

วันที่ 15 มิถุนายน เป็นวันที่ 166 ของปี (วันที่ 167 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 199 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ15 มิถุนายน

15 มีนาคม

วันที่ 15 มีนาคม เป็นวันที่ 74 ของปี (วันที่ 75 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 291 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ15 มีนาคม

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ15 สิงหาคม

15 ธันวาคม

วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ15 ธันวาคม

16 กันยายน

วันที่ 16 กันยายน เป็นวันที่ 259 ของปี (วันที่ 260 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 106 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ16 กันยายน

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ดู พ.ศ. 2506และ16 มกราคม

16 มิถุนายน

วันที่ 16 มิถุนายน เป็นวันที่ 167 ของปี (วันที่ 168 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 198 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ16 มิถุนายน

16 มีนาคม

วันที่ 16 มีนาคม เป็นวันที่ 75 ของปี (วันที่ 76 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 290 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ16 มีนาคม

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ16 ธันวาคม

16 ตุลาคม

วันที่ 16 ตุลาคม เป็นวันที่ 289 ของปี (วันที่ 290 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 76 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ16 ตุลาคม

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ17 กรกฎาคม

17 กุมภาพันธ์

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 48 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 317 วันในปีนั้น (318 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ17 กุมภาพันธ์

17 มกราคม

วันที่ 17 มกราคม เป็นวันที่ 17 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 348 วันในปีนั้น (349 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ17 มกราคม

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ17 มีนาคม

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ17 ธันวาคม

18 พฤศจิกายน

วันที่ 18 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 322 ของปี (วันที่ 323 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 43 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ18 พฤศจิกายน

18 กรกฎาคม

วันที่ 18 กรกฎาคม เป็นวันที่ 199 ของปี (วันที่ 200 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 166 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ18 กรกฎาคม

18 กุมภาพันธ์

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 49 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 316 วันในปีนั้น (317 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ18 กุมภาพันธ์

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ18 มีนาคม

18 ธันวาคม

วันที่ 18 ธันวาคม เป็นวันที่ 352 ของปี (วันที่ 353 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 13 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ18 ธันวาคม

18 เมษายน

วันที่ 18 เมษายน เป็นวันที่ 108 ของปี (วันที่ 109 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 257 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ18 เมษายน

19 พฤศจิกายน

วันที่ 19 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 323 ของปี (วันที่ 324 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 42 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ19 พฤศจิกายน

19 กรกฎาคม

วันที่ 19 กรกฎาคม เป็นวันที่ 200 ของปี (วันที่ 201 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 165 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ19 กรกฎาคม

19 กุมภาพันธ์

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ19 กุมภาพันธ์

19 มิถุนายน

วันที่ 19 มิถุนายน เป็นวันที่ 170 ของปี (วันที่ 171 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 195 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ19 มิถุนายน

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ19 สิงหาคม

19 ตุลาคม

วันที่ 19 ตุลาคม เป็นวันที่ 292 ของปี (วันที่ 293 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 73 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ19 ตุลาคม

2 พฤศจิกายน

วันที่ 2 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 306 ของปี (วันที่ 307 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 59 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ2 พฤศจิกายน

2 พฤษภาคม

วันที่ 2 พฤษภาคม เป็นวันที่ 122 ของปี (วันที่ 123 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 243 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ2 พฤษภาคม

2 กันยายน

วันที่ 2 กันยายน เป็นวันที่ 245 ของปี (วันที่ 246 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 120 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ2 กันยายน

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ2 มกราคม

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ2 มิถุนายน

2 สิงหาคม

วันที่ 2 สิงหาคม เป็นวันที่ 214 ของปี (วันที่ 215 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 151 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ2 สิงหาคม

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ20 พฤศจิกายน

20 กรกฎาคม

วันที่ 20 กรกฎาคม เป็นวันที่ 201 ของปี (วันที่ 202 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 164 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ20 กรกฎาคม

20 มกราคม

วันที่ 20 มกราคม เป็นวันที่ 20 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 345 วันในปีนั้น (346 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ20 มกราคม

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ20 สิงหาคม

20 ธันวาคม

วันที่ 20 ธันวาคม เป็นวันที่ 354 ของปี (วันที่ 355 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 11 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ20 ธันวาคม

20 เมษายน

วันที่ 20 เมษายน เป็นวันที่ 110 ของปี (วันที่ 111 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 255 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ20 เมษายน

21 พฤษภาคม

วันที่ 21 พฤษภาคม เป็นวันที่ 141 ของปี (วันที่ 142 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 224 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ21 พฤษภาคม

21 กันยายน

วันที่ 21 กันยายน เป็นวันที่ 264 ของปี (วันที่ 265 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 101 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ21 กันยายน

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ21 กุมภาพันธ์

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ21 มกราคม

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ21 มิถุนายน

21 มีนาคม

วันที่ 21 มีนาคม เป็นวันที่ 80 ของปี (วันที่ 81 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 285 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ21 มีนาคม

21 สิงหาคม

วันที่ 21 สิงหาคม เป็นวันที่ 233 ของปี (วันที่ 234 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 132 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ21 สิงหาคม

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ21 ธันวาคม

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ22 พฤศจิกายน

22 กันยายน

วันที่ 22 กันยายน เป็นวันที่ 265 ของปี (วันที่ป 266 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 100 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ22 กันยายน

22 กุมภาพันธ์

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 53 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 312 วันในปีนั้น (313 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ22 กุมภาพันธ์

22 มิถุนายน

วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ22 มิถุนายน

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ22 มีนาคม

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ22 สิงหาคม

22 ธันวาคม

วันที่ 22 ธันวาคม เป็นวันที่ 356 ของปี (วันที่ 357 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 9 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ22 ธันวาคม

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ23 พฤศจิกายน

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ23 กุมภาพันธ์

23 มีนาคม

วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ23 มีนาคม

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ23 ตุลาคม

23 เมษายน

วันที่ 23 เมษายน เป็นวันที่ 113 ของปี (วันที่ 114 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 252 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ23 เมษายน

24 กรกฎาคม

วันที่ 24 กรกฎาคม เป็นวันที่ 205 ของปี (วันที่ 206 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 160 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ24 กรกฎาคม

24 มกราคม

วันที่ 24 มกราคม เป็นวันที่ 24 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 341 วันในปีนั้น (342 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ24 มกราคม

24 สิงหาคม

วันที่ 24 สิงหาคม เป็นวันที่ 236 ของปี (วันที่ 237 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 129 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ24 สิงหาคม

24 เมษายน

วันที่ 24 เมษายน เป็นวันที่ 114 ของปี (วันที่ 115 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 251 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ24 เมษายน

25 กรกฎาคม

วันที่ 25 กรกฎาคม เป็นวันที่ 206 ของปี (วันที่ 207 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 159 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ25 กรกฎาคม

25 กุมภาพันธ์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ25 กุมภาพันธ์

25 มิถุนายน

วันที่ 25 มิถุนายน เป็นวันที่ 176 ของปี (วันที่ 177 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 189 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ25 มิถุนายน

25 ธันวาคม

วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่ 359 ของปี (วันที่ 360 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 6 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ25 ธันวาคม

25 เมษายน

วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ25 เมษายน

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ26 กรกฎาคม

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ26 กุมภาพันธ์

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ26 มกราคม

26 ธันวาคม

วันที่ 26 ธันวาคม เป็นวันที่ 360 ของปี (วันที่ 361 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 5 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ26 ธันวาคม

26 เมษายน

วันที่ 26 เมษายน เป็นวันที่ 116 ของปี (วันที่ 117 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 249 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ26 เมษายน

27 พฤศจิกายน

วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ27 พฤศจิกายน

27 พฤษภาคม

วันที่ 27 พฤษภาคม เป็นวันที่ 147 ของปี (วันที่ 148 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 218 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ27 พฤษภาคม

27 กรกฎาคม

วันที่ 27 กรกฎาคม เป็นวันที่ 208 ของปี (วันที่ 209 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 157 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ27 กรกฎาคม

27 กันยายน

วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ27 กันยายน

27 มกราคม

วันที่ 27 มกราคม เป็นวันที่ 27 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 338 วันในปีนั้น (339 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ27 มกราคม

27 มีนาคม

วันที่ 27 มีนาคม เป็นวันที่ 86 ของปี (วันที่ 87 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 279 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ27 มีนาคม

27 ตุลาคม

วันที่ 27 ตุลาคม เป็นวันที่ 300 ของปี (วันที่ 301 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 65 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ27 ตุลาคม

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ28 กรกฎาคม

28 มีนาคม

วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ28 มีนาคม

28 ตุลาคม

วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ28 ตุลาคม

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ29 พฤศจิกายน

29 พฤษภาคม

วันที่ 29 พฤษภาคม เป็นวันที่ 149 ของปี (วันที่ 150 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 216 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ29 พฤษภาคม

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ29 กันยายน

29 มกราคม

วันที่ 29 มกราคม เป็นวันที่ 29 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 336 วันในปีนั้น (337 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ29 มกราคม

29 สิงหาคม

วันที่ 29 สิงหาคม เป็นวันที่ 241 ของปี (วันที่ 242 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 124 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ29 สิงหาคม

29 ธันวาคม

วันที่ 29 ธันวาคม เป็นวันที่ 363 ของปี (วันที่ 364 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 2 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ29 ธันวาคม

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ3 พฤศจิกายน

3 พฤษภาคม

วันที่ 3 พฤษภาคม เป็นวันที่ 123 ของปี (วันที่ 124 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 242 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ3 พฤษภาคม

3 กันยายน

วันที่ 3 กันยายน เป็นวันที่ 246 ของปี (วันที่ 247 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 119 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ3 กันยายน

3 สิงหาคม

วันที่ 3 สิงหาคม เป็นวันที่ 215 ของปี (วันที่ 216 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 150 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ3 สิงหาคม

3 ธันวาคม

วันที่ 3 ธันวาคม เป็นวันที่ 337 ของปี (วันที่ 338 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 28 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ3 ธันวาคม

30 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 211 ของปี (วันที่ 212 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 154 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ30 กรกฎาคม

30 มกราคม

วันที่ 30 มกราคม เป็นวันที่ 30 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 335 วันในปีนั้น (336 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ30 มกราคม

30 มิถุนายน

วันที่ 30 มิถุนายน เป็นวันที่ 181 ของปี (วันที่ 182 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 184 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ30 มิถุนายน

30 สิงหาคม

วันที่ 30 สิงหาคม เป็นวันที่ 242 ของปี (วันที่ 243 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 123 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ30 สิงหาคม

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ30 ธันวาคม

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ31 กรกฎาคม

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ31 มีนาคม

31 ตุลาคม

วันที่ 31 ตุลาคม เป็นวันที่ 304 ของปี (วันที่ 305 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 61 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ31 ตุลาคม

4 พฤศจิกายน

วันที่ 4 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 308 ของปี (วันที่ 309 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 57 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ4 พฤศจิกายน

4 กันยายน

วันที่ 4 กันยายน เป็นวันที่ 247 ของปี (วันที่ 248 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 118 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ4 กันยายน

4 กุมภาพันธ์

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 35 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 330 วันในปีนั้น (331 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ4 กุมภาพันธ์

5 พฤศจิกายน

วันที่ 5 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 309 ของปี (วันที่ 310 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 56 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ5 พฤศจิกายน

5 มกราคม

วันที่ 5 มกราคม เป็นวันที่ 5 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 360 วันในปีนั้น (361 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ5 มกราคม

6 พฤศจิกายน

วันที่ 6 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 310 ของปี (วันที่ 311 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 55 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ6 พฤศจิกายน

6 พฤษภาคม

วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ6 พฤษภาคม

6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ6 กรกฎาคม

6 กันยายน

วันที่ 6 กันยายน เป็นวันที่ 249 ของปี (วันที่ 250 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 116 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ6 กันยายน

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ6 มิถุนายน

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ6 สิงหาคม

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ6 ตุลาคม

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ6 เมษายน

7 พฤศจิกายน

วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ7 พฤศจิกายน

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ7 พฤษภาคม

7 มกราคม

วันที่ 7 มกราคม เป็นวันที่ 7 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 358 วันในปีนั้น (359 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ7 มกราคม

7 สิงหาคม

วันที่ 7 สิงหาคม เป็นวันที่ 219 ของปี (วันที่ 220 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 146 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ7 สิงหาคม

8 กันยายน

วันที่ 8 กันยายน เป็นวันที่ 251 ของปี (วันที่ 252 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 114 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ8 กันยายน

8 มกราคม

วันที่ 8 มกราคม เป็นวันที่ 8 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 357 วันในปีนั้น (358 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ8 มกราคม

8 มีนาคม

วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันที่ 67 ของปี (วันที่ 68 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 298 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ8 มีนาคม

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ8 สิงหาคม

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ8 ธันวาคม

9 พฤษภาคม

วันที่ 9 พฤษภาคม เป็นวันที่ 129 ของปี (วันที่ 130 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 236 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ9 พฤษภาคม

9 กรกฎาคม

วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ9 กรกฎาคม

9 กันยายน

วันที่ 9 กันยายน เป็นวันที่ 252 ของปี (วันที่ 253 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 113 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ9 กันยายน

9 มกราคม

วันที่ 9 มกราคม เป็นวันที่ 9 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 356 วันในปีนั้น (357 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู พ.ศ. 2506และ9 มกราคม

9 มิถุนายน

วันที่ 9 มิถุนายน เป็นวันที่ 160 ของปี (วันที่ 161 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 205 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ9 มิถุนายน

9 สิงหาคม

วันที่ 9 สิงหาคม เป็นวันที่ 221 ของปี (วันที่ 222 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 144 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ9 สิงหาคม

9 ธันวาคม

วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ9 ธันวาคม

9 ตุลาคม

วันที่ 9 ตุลาคม เป็นวันที่ 282 ของปี (วันที่ 283 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 83 วันในปีนั้น.

ดู พ.ศ. 2506และ9 ตุลาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ พ.ศ. ๒๕๐๖พ.ศ.2506ค.ศ. 1963

พนิช วิกิตเศรษฐ์กราเซียโน ร็อคซีเกียนีกฤตยา ล่ำซำการ์ธ นิกซ์กุมภาพันธ์กนก รัตน์วงศ์สกุลกแชกอช สแคตือนาก่อเกียรติ สิริยะเสถียรภัทรา ทิวานนท์ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐมะโมรุ ซะมุระโกจิมัลคอล์ม แกลดเวลมาร์ก ฮิวส์มาร์ก ไรเดนมาร์ก เมโรมาร์ทิน บรุนเนอร์มาร์ตี นาตาเลกาวามาลัย ชูพินิจมิถุนายนมิเชล (นักฟุตบอล)มุน ซ็อง-กิลมนตรี ปาน้อยนนท์ยุมิ อะโซยุริกะ ฮิโนะยุรนันท์ ภมรมนตรีราฟาเอล กอร์เรอารายนามนายกรัฐมนตรีไทยราดอสวัฟ ชีกอร์สกีรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรางวัลโนเบลสาขาเคมีริชาร์ด มากซ์ริชาร์ด คลาร์กริก รูบินร็อบ ชไนเดอร์ลาส์ อุลริกลีโอโปลโด กันตันซิโอวชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์วัลวิภา โยคะกุลวันชัย ผ่องศรีวันวิสาขบูชาวาเนสซา แอล. วิลเลียมส์วิลสัน ยิปวิลเลียม บอลด์วินวิตนีย์ ฮิวสตันวีรยุทธ รสโอชาศรีสุข รุ่งวิสัยศรีคูณ ณ ราชวัตรศักราช ฤกษ์ธำรงค์ศักดา นพสิทธิ์ศาสนาพุทธสมพล คูเกษมกิจสมเด็จพระราชาธิบดีมุฮัมมัดที่ 6 แห่งโมร็อกโกสมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปนสมเด็จพระราชาธิบดีเฟลิเปที่ 6 แห่งสเปนสมเด็จพระราชาธิบดีเลตซีที่ 3 แห่งเลโซโทสมเด็จพระราชินีซังเก โชเดน วังชุกสมเด็จพระราชินีโซเฟียแห่งสเปนสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถสรรเสริญ แก้วกำเนิดสฤษดิ์ ธนะรัชต์สัญญา คุณากรสันติสุข พรหมศิริสิทธิศักดิ์ ยนต์ตระกูลสุรัตนา คล่องตระกูลสุดา ศรีลำดวนสงกรานต์ จิตสุทธิภากรสตานิสลัฟ เชียร์เชซอฟสตีฟ คลาร์กสนธยา คุณปลื้มสเฟิน พิพพิกหม่อมราชวงศ์ปัทมนัดดา ยุคลหลี่ หนิงหลี่ เหลียนเจี๋ยหัทยา วงษ์กระจ่างหนู กันภัยหนู คลองเตยอรุณ ภาวิไลอรนุช ลาดพันนาอัล สโนว์อาร์มันโด คัสโตรอาห์เมด จอห์นสันอาเลฆันโดร กอนซาเลซ อิญาร์ริตูอำพล ลำพูนอิสึจิ อิตะโอะอิทธิเดช แก้วหลวงอิงเว มาล์มสทีนอินฟันตาเอเลนา ดัชเชสแห่งลูโกอนันต์ บุนนาคอนุสรณ์ อมรฉัตรอนุสรณ์ ปั้นทองฮาร์ดคอร์ ฮอลลีฮิว บอนเนวิลล์ฮิเดะโอะ โคะจิมะฮุสนี เรย์ฌ็อง-ปีแยร์ ปาแป็งจอร์จ ไมเคิลจอห์น สเตโมสจอห์น เอฟ. เคนเนดีจอห์นนี มาร์จอห์นนี เดปป์จารุวัฒน์ วิเศษสมบัติจาตุรงค์ มกจ๊กจุนอิชิ คะเนะมะรุธงชัย ประสงค์สันติธนา ชีรวินิจถนอม กิตติขจรทอดด์ ลาเวลล์ทะกะชิ มุระกะมิดง ชุนลีคลินต์ แมนเซลล์คิลบิลคูลิโอคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศงามพรรณ เวชชาชีวะตวงรัตน์ โล่ห์สุนทรตำนานแห่งนาร์เนียต่าย พิจิตรซี. เอส. ลิวอิสซีลปฏิทินเกรโกเรียนประยูรศักดิ์ เมืองสุรินทร์ประธานาธิบดีสหรัฐประเทศกานาประเทศมาเลเซียประเทศสิงคโปร์ประเทศอิหร่านประเทศโบลิเวียประเทศเลโซโทประเทศเวียดนามปรัศนีปรียานุช ปานประดับปานเลขา ว่านม่วงปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารนพพร วาทินนัฏฐา ลอยด์นีล โฟลส์แบรด พิตต์แบร์นาร์ กาซเนิฟว์แชน วรงคไพสิฐแฟตบอยสลิมแกบโบเรย์ ซิดิเบแกรี คาสปารอฟแมกซ์เวลล์ เทรเวอร์แอฟริกาคัพออฟเนชันส์แฮร์โรลด์ แพร์ริโนโบอัวเลม เบลกีฟโชคอนันต์ อังสกุลอาภรณ์โชเซ มูรีนโยโกโช อาโอยามะโมฮัมเหม็ด คาอิล ปายัลโย คิตะซะวะโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าโรงเรียนลาซาลโรนัลด์ กุมันโทมัส เบรซิน่าโทรี เอมอสโควินทา (นักแสดง)โคปาอเมริกาโคแนน โอ'ไบรอันโง ดิ่ญ เสี่ยมไบรอัน แมคแคลร์ไมเคิล จอร์แดนเบร็ต ไมเคิลส์เบนจามิน แบร็ตเฟื่องวิชชุ์ อนิรุทธเทวาเพอร์รี บรอยทีกัมเกษมสันต์ วีระกุลเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตรเกียรติ กิจเจริญเกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์เร อิงะระชิเลส เคลย์พูลเลโอ กาเมซเว้เหมย ยั่นฟางเอลิซาเบธ ชูเอจิ อะโอะนุมะเอธัส มนต์เสรีนุสรณ์เอียน ไรต์เอ็ดวิน โรซาริโอเฮซุส ซาลูดเฮเลน ฮันต์เจมส์ เฮตฟีลด์เจสัน ไอแซ็กส์เจิน จื่อตันเจ้าชายกีโยมแห่งลักเซมเบิร์กเจ้าชายโลร็องแห่งเบลเยียมเจ้าชายไฟซาห์ บิน ฮุสเซนเจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวีเจ้าหญิงมาซาโกะ มกุฎราชกุมารีแห่งญี่ปุ่นเจ้าหญิงเดซีเร ฟอน โฮเอินโซลเลิร์นเทร์รี ไชโวเดวิด มอยส์เดวิด เยตส์เควนติน แทแรนติโนเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์1 พฤศจิกายน1 พฤษภาคม1 กุมภาพันธ์1 สิงหาคม1 ธันวาคม1 ตุลาคม1 เมษายน10 พฤศจิกายน10 กันยายน10 มกราคม10 มีนาคม10 ธันวาคม10 ตุลาคม10 เมษายน11 พฤศจิกายน11 พฤษภาคม11 กุมภาพันธ์11 ตุลาคม12 พฤษภาคม12 มีนาคม13 พฤษภาคม13 กรกฎาคม13 กันยายน13 กุมภาพันธ์13 เมษายน14 กันยายน14 สิงหาคม14 เมษายน15 กุมภาพันธ์15 มิถุนายน15 มีนาคม15 สิงหาคม15 ธันวาคม16 กันยายน16 มกราคม16 มิถุนายน16 มีนาคม16 ธันวาคม16 ตุลาคม17 กรกฎาคม17 กุมภาพันธ์17 มกราคม17 มีนาคม17 ธันวาคม18 พฤศจิกายน18 กรกฎาคม18 กุมภาพันธ์18 มีนาคม18 ธันวาคม18 เมษายน19 พฤศจิกายน19 กรกฎาคม19 กุมภาพันธ์19 มิถุนายน19 สิงหาคม19 ตุลาคม2 พฤศจิกายน2 พฤษภาคม2 กันยายน2 มกราคม2 มิถุนายน2 สิงหาคม20 พฤศจิกายน20 กรกฎาคม20 มกราคม20 สิงหาคม20 ธันวาคม20 เมษายน21 พฤษภาคม21 กันยายน21 กุมภาพันธ์21 มกราคม21 มิถุนายน21 มีนาคม21 สิงหาคม21 ธันวาคม22 พฤศจิกายน22 กันยายน22 กุมภาพันธ์22 มิถุนายน22 มีนาคม22 สิงหาคม22 ธันวาคม23 พฤศจิกายน23 กุมภาพันธ์23 มีนาคม23 ตุลาคม23 เมษายน24 กรกฎาคม24 มกราคม24 สิงหาคม24 เมษายน25 กรกฎาคม25 กุมภาพันธ์25 มิถุนายน25 ธันวาคม25 เมษายน26 กรกฎาคม26 กุมภาพันธ์26 มกราคม26 ธันวาคม26 เมษายน27 พฤศจิกายน27 พฤษภาคม27 กรกฎาคม27 กันยายน27 มกราคม27 มีนาคม27 ตุลาคม28 กรกฎาคม28 มีนาคม28 ตุลาคม29 พฤศจิกายน29 พฤษภาคม29 กันยายน29 มกราคม29 สิงหาคม29 ธันวาคม3 พฤศจิกายน3 พฤษภาคม3 กันยายน3 สิงหาคม3 ธันวาคม30 กรกฎาคม30 มกราคม30 มิถุนายน30 สิงหาคม30 ธันวาคม31 กรกฎาคม31 มีนาคม31 ตุลาคม4 พฤศจิกายน4 กันยายน4 กุมภาพันธ์5 พฤศจิกายน5 มกราคม6 พฤศจิกายน6 พฤษภาคม6 กรกฎาคม6 กันยายน6 มิถุนายน6 สิงหาคม6 ตุลาคม6 เมษายน7 พฤศจิกายน7 พฤษภาคม7 มกราคม7 สิงหาคม8 กันยายน8 มกราคม8 มีนาคม8 สิงหาคม8 ธันวาคม9 พฤษภาคม9 กรกฎาคม9 กันยายน9 มกราคม9 มิถุนายน9 สิงหาคม9 ธันวาคม9 ตุลาคม