โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2486

ดัชนี พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

325 ความสัมพันธ์: บอบบี ฟิชเชอร์ชัจจ์ กุลดิลกชาญเดช วีระพลบุญรื่น ศรีธเรศบูดีโยโนพ.ศ. 2397พ.ศ. 2405พ.ศ. 2419พ.ศ. 2454พ.ศ. 2477พ.ศ. 2481พ.ศ. 2487พ.ศ. 2489พ.ศ. 2498พ.ศ. 2514พ.ศ. 2539พ.ศ. 2540พ.ศ. 2543พ.ศ. 2547พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พ.ศ. 2553พ.ศ. 2555พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระมหากษัตริย์ไทยพันศักดิ์ วิญญรัตน์พันธ์ทิพย์ แก้วสุริยะพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์กริช กงเพชรกล้านรงค์ จันทิกกาบือ โดห์มกาทรีน เดอเนิฟว์ภุชงค์ รุ่งโรจน์มหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มัลคอล์ม แมคโดเวลล์มาริลินน์ โรบินสันมารีโอ มอนตีมานูเอล เบลัซเกซมาโนชญ์ วิชัยกุลมิก แจ็กเกอร์มิยูกิ ฮาโตยามะมนตรี พงษ์พานิชยอดหทัย เทพธรานนท์...ยอน ชไนเดอร์สยุกิโอะ ฮะชิรอเบิร์ต เกตส์รอเบิร์ต เดอ นิโรรัฐชานรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพรางวัลโนเบลสาขาเคมีรุ่งกานดา เบญจมาภรณ์ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1943)วอลเตอร์ แม็คโกแวนวิรุฬ เตชะไพบูลย์วินัย สมพงษ์วิเชียร คันฉ่องวีรพงษ์ รามางกูรวีระนิด เจริญเมืองวนัสธนา สัจจกุลศรีไพร ลูกราชบุรีสกล พันธุ์ยิ้มสมานฉันท์ ชมภูเทพสมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์สมเด็จพระบรมเรียมนโรดม ยุวนาถสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ซัยยิด ซีรอญุดดีนสมเด็จพระราชาธิบดีเปเตโล วิเคนาสมเด็จพระราชินีซิลเวียแห่งสวีเดนสมเด็จพระเรียมนโรดม บุปผาเทวีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสหรัฐไทยเดิมสัมพันธ์ บุญญานันต์สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์สึโยะชิ นะกะมุระสุกรี อ่อนฉ่ำสุรยุทธ์ จุลานนท์สุทธ บูลีนสุขุม นวลสกุลสี่รัฐมาลัยสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สองสนิท กุลเจริญหม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุลหม่อมหลวงไกรฤกษ์ เกษมสันต์อภัย จันทนจุลกะอรสา อิศรางกูร ณ อยุธยาออตโต สเติร์นอันตอนีโอ ตาบุคคีอันเจโล อันกวิลเลตตีอาร์มิน ไมเออร์ (นักแสดง)อาร์เธอร์ แมคโดนัลด์อาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิชอุทุมพร จามรมานองอาจ วชิรพงศ์ฮาร์ลีย์ เรซผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศจอร์จ แฮร์ริสันจอร์จ เบนสันจอห์น เมเจอร์จอห์น เดนเวอร์จอห์น เคร์รีจองชัย เที่ยงธรรมจักรพรรดิบ๋าว ดั่ยจักรพันธุ์ โปษยกฤตจิม มอร์ริสันจิมมี สนูกกาจ้าว จื้อหลิงธัญ การวัฒนาศิริกุลธานินทร์ อินทรเทพธนิต ธรรมสุคติณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทยคริสโตเฟอร์ วอลเคนคะโยะ มะสึโอะคะโต ชะคิม ย็อน-จาคูลิโอ อีเกลเซียสฉลาด วรฉัตรฉันทนา กิติยพันธ์ซะดะโกะ ซะซะกิซูเปอร์สตาร์ บิลลี แกรห์มประชัย เลี่ยวไพรัตน์ประสิทธิ์ โฆวิไลกูลประสงค์ โฆษิตานนท์ประทุมพร วัชรเสถียรประเสริฐ โศภนประเทศพม่าประเทศญี่ปุ่นประเทศศรีลังกาประเทศไทยนิยม ประเสริฐสมนิวต์ กิงริชแบร์รี แมนิโลว์แวนเจลิสแสงชัย สุนทรวัฒน์แอนโทนีโอ อิโนะกิแคทเทอรีน แคร์รี เบ็ทติสแปลก พิบูลสงครามโมนีคา ลุนดีโลโบ (นักร้อง)โจนี มิตเชลล์โทนี มิลลิงตันโคทม อารียาโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ไฟติง ฮะระดะไพโรจน์ ใจสิงห์ไมเคิล แมนน์เบอร์นาเบ้ วิลลาแคมโปเชียงตุงเบน คิงสลีย์เพชรา เชาวราษฎร์เพเทอร์ ซุมทอร์เกริกไกร จีระแพทย์เกอร์เทราด์ เยสเซอร์เออร์เมืองพวนเรเน่ บาเรียนโตสเสกสรรค์ ภู่ประดิษฐ์เสริมศักดิ์ การุญเสถียร จันทิมาธรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เฮิร์ซล์ โบดิงเงอร์เจมส์ เทอร์เรลล์เจ้าชายบ๋าว ทั้งเจ้าชายฟรันซ์ วิลเฮล์มแห่งปรัสเซียเจ้าชายอะเมเดโอ ดยุกที่ 5 แห่งโอสตาเจ้าชายอ็องรี เคานต์แห่งปารีสเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)เจ้าหญิงมาร์ครีตแห่งเนเธอร์แลนด์เจ้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดนเจ้าหญิงคิราแห่งปรัสเซียเจ้าจักรคำขจรศักดิ์เจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูนเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)เทพศิริ สุขโสภาเดวิด ดีนเดวิด โครเนนเบิร์กเดวิด เกฟเฟนเดอนี ซาซู-อึนแกโซเคน แพตเทราเตช บุนนาคเซโซ ฟุกุโมะโตะเปอร์เวซ มูชาร์ราฟเปแตร์ เดล มอนเตเปโดร อาดิเก จูเนียร์1 พฤศจิกายน1 กรกฎาคม1 กุมภาพันธ์1 มกราคม1 มิถุนายน1 มีนาคม1 สิงหาคม1 ธันวาคม10 พฤษภาคม10 กรกฎาคม10 มกราคม10 มิถุนายน10 ตุลาคม11 สิงหาคม11 ธันวาคม11 เมษายน12 กันยายน12 มิถุนายน12 ตุลาคม13 พฤศจิกายน13 มิถุนายน13 ธันวาคม13 ตุลาคม14 กันยายน14 กุมภาพันธ์14 มิถุนายน14 สิงหาคม15 กันยายน15 มกราคม15 มีนาคม15 ธันวาคม16 กรกฎาคม16 มกราคม16 สิงหาคม16 เมษายน17 พฤษภาคม17 มกราคม17 มิถุนายน17 มีนาคม17 สิงหาคม17 ตุลาคม18 พฤศจิกายน18 พฤษภาคม18 กันยายน18 มีนาคม19 มกราคม19 มีนาคม19 สิงหาคม2 กุมภาพันธ์2 มีนาคม20 กุมภาพันธ์20 มกราคม20 สิงหาคม20 ธันวาคม21 กุมภาพันธ์21 มกราคม21 มิถุนายน22 มิถุนายน22 มีนาคม22 สิงหาคม22 ธันวาคม22 ตุลาคม23 พฤศจิกายน23 กันยายน23 ธันวาคม23 ตุลาคม24 มกราคม24 มิถุนายน24 ธันวาคม25 พฤศจิกายน25 กรกฎาคม25 กันยายน25 กุมภาพันธ์25 มกราคม25 มีนาคม25 ตุลาคม25 เมษายน26 พฤศจิกายน26 กรกฎาคม26 มกราคม26 เมษายน27 พฤศจิกายน27 กรกฎาคม27 กันยายน27 มิถุนายน28 พฤษภาคม28 กันยายน28 มิถุนายน28 สิงหาคม28 ตุลาคม29 พฤศจิกายน29 กรกฎาคม29 มีนาคม29 ตุลาคม3 พฤษภาคม3 กรกฎาคม3 กันยายน3 กุมภาพันธ์3 มกราคม3 สิงหาคม3 เมษายน30 กันยายน30 ธันวาคม31 กรกฎาคม31 มีนาคม31 ธันวาคม31 ตุลาคม4 มกราคม4 มิถุนายน4 สิงหาคม5 พฤศจิกายน5 กุมภาพันธ์5 มิถุนายน5 สิงหาคม5 เมษายน6 พฤศจิกายน6 พฤษภาคม6 กันยายน6 มิถุนายน6 มีนาคม7 พฤศจิกายน7 กันยายน7 มกราคม7 มิถุนายน8 มกราคม8 มิถุนายน8 ธันวาคม8 เมษายน9 พฤศจิกายน9 กุมภาพันธ์9 มกราคม9 มีนาคม ขยายดัชนี (275 มากกว่า) »

บอบบี ฟิชเชอร์

อบบี ฟิชเชอร์ หรือ โรเบิร์ต เจมส์ บอบบี ฟิชเชอร์ (Robert James Bobby Fischer; 9 มีนาคม พ.ศ. 2486 — 17 มกราคม พ.ศ. 2551) เป็นนักหมากรุกชาวอเมริกันเชื้อสายยิว-เยอรมัน ฟิชเชอร์เป็นชาวอเมริกันเพียงคนเดียวในประวัติศาสตร์ที่เคยเป็นแชมป์โลกหมากรุกสากล โดยเป็นฝ่ายชนะโบริส สปัสสกี อดีตแชมป์โลกชาวโซเวียตในการแข่งขันที่เรคยาวิก ประเทศไอซ์แลนด์ เขาเป็นแชมป์โลกระหว่างปี พ.ศ. 2515 ถึง 2518 ในบั้นปลายชีวิต เขาประกาศตัวว่าต่อต้านอเมริกัน และต่อต้านยิว (ถึงแม้มารดาของเขาจะเป็นยิว) จึงถูกถอนสัญชาติอเมริกัน และถูกควบคุมตัวโดยทางการญี่ปุ่นเป็นเวลาหลายเดือนในฐานะที่เป็นบุคคลไร้สัญชาติ และใช้พาสปอร์ตอเมริกันที่ถูกระงับแล้ว ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และบอบบี ฟิชเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัจจ์ กุลดิลก

ลตำรวจโท นายกองเอก ชัจจ์ กุลดิลก อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย เคยดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง (บช.ก.) และที่ปรึกษาหนังสือพิมพ์มหาประชาชนฉบับความจริงวันนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และชัจจ์ กุลดิลก · ดูเพิ่มเติม »

ชาญเดช วีระพล

ญเดช วีระพล (Charndej Weerapol) เกิดเมื่อ 21 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และชาญเดช วีระพล · ดูเพิ่มเติม »

บุญรื่น ศรีธเรศ

นางบุญรื่น ศรีธเรศ (สกุลเดิม มัธยมนันทน์) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และบุญรื่น ศรีธเรศ · ดูเพิ่มเติม »

บูดีโยโน

บูดีโยโน (Boediono) เป็นรองประธานาธิบดีอินโดนีเซียคนแรกที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในปี พ.ศ. 2552 ภายหลังการปฏิรูปการเมืองและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ร่วมกับซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2486 หมวดหมู่:ชาวชวา หมวดหมู่:นักการเมืองชาวอินโดนีเซีย หมวดหมู่:นักเศรษฐศาสตร์ชาวอินโดนีเซีย หมวดหมู่:มุสลิมชาวอินโดนีเซีย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และบูดีโยโน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2397

ทธศักราช 2397 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1854.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2397 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2405

ทธศักราช 2405 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1862.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2405 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2419

ทธศักราช 2419 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1876.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2419 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2454

ทธศักราช 2454 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1911 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2454 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2514

ทธศักราช 2514 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1971 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2514 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2540 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2547 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์ไทย

ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

พันศักดิ์ วิญญรัตน์

นายพันศักดิ์ วิญญรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีด้านโยบายเศรษฐกิจ ในรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เป็นผู้อยู่เบื้องหลังนโยบายสำคัญหลายนโยบายในรัฐบาลทักษิณ 1 และทักษิณ 2 เช่น นโยบายพัฒนาเศรษฐกิจแบบคู่ขนาน (Dual Track) หรือที่เรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า "ทักษิโณมิกส์" ในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพันศักดิ์ วิญญรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

พันธ์ทิพย์ แก้วสุริยะ

ันธ์ทิพย์ แก้วสุริยะ เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพันธ์ทิพย์ แก้วสุริยะ · ดูเพิ่มเติม »

พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์

นายพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และพิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

กริช กงเพชร

กริช กงเพชร (เกิด 30 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดมหาสารคาม 9 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และกริช กงเพชร · ดูเพิ่มเติม »

กล้านรงค์ จันทิก

กล้านรงค์ จันทิก เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ อดีตเลขาธิการคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เกิดเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นบุตรของนายยนต์ และนางศรีสว่าง จันทิก สมรสกับนางพันทิพา จันทิก มีบุตรธิดา 3 คน นายกล้านรงค์ ได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการ ป.ป..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และกล้านรงค์ จันทิก · ดูเพิ่มเติม »

กาบือ โดห์ม

กาบือ โดห์ม (23 กันยายน ค.ศ. 1943) เป็นนักแสดงหญิงชาวออสเตรีย .

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และกาบือ โดห์ม · ดูเพิ่มเติม »

กาทรีน เดอเนิฟว์

กาทรีน เดอเนิฟว์ (Catherine Deneuve) นักแสดงหญิงชาวฝรั่งเศสผู้เคยได้รับรางวัลซีซาร์ 2 สมัย และเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ และรางวัลบาฟตา มีชื่อเสียงจากบทบาทในภาพยนตร์ของรอเฌ วาดีม, ลุยส์ บูญวยล์, โรมัน โปลันสกี, ฌัก เดอมี และฟร็องซัว ทรูว์โฟ กาทรีน เดอเนิฟว์ มีชื่อจริงว่า กาทรีน ฟาเบียน ดอร์เลอัก (Catherine Fabienne Dorléac) เป็นบุตรคนที่สามของสามีภรรยานักแสดง มอริส ดอร์เลอัก และเรอเน เดอเนิฟว์ มีพี่สาวที่เป็นนักแสดงเช่นกัน ชื่อ ฟร็องซวซ ดอร์เลอัก ส่วนเธอใช้นามสกุลของมารดาในการแสดง กาทรีน เดอเนิฟว์ เริ่มเป็นนักแสดงตั้งแต่อายุ 13 ปี โดยรับบทนักแสดงประกอบเล็ก ๆ เริ่มมีชื่อเสียงจากภาพยนตร์หลาย ๆ เรื่องของรอเฌ วาดีม และโด่งดังจากภาพยนตร์เพลงของฌัก เดอมีในปี 1964 เรื่อง Les Parapluies de Cherbourg (Umbrellas of Cherbourg) ต่อมาในปี 1967 เธอได้แสดงภาพยนตร์เพลงอีกเรื่องหนึ่งของเดอมี ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์สาขาดนตรีประกอบยอดเยี่ยม คือ Les Demoiselles de Rochefort (The Young Girls of Rochefort) โดยแสดงนำคู่กับฟร็องซวซ ดอร์เลอัก พี่สาว ก่อนพี่สาวของเธอจะเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุทางรถยนต์ ผลงานอื่นของกาทรีน เดอเนิฟว์ ที่ได้รับคำชื่นชมได้แก่ Repulsion (1965) ของโรมัน โปลันสกี, Belle de Jour (1967) และ Tristana (1970) ของลุยส์ บูญวยล์, Le Dernier métro (1980) ของฟร็องซัว ทรูว์โฟ ซึ่งได้รับรางวัลซีซาร์ และ The Hunger (1983) ของโทนีย์ สก็อตต์ ที่มีบทเลสเบียนที่อื้อฉาวกับซูซาน ซาแรนดอน ผลงานในระยะหลัง ที่สำคัญได้แก่ บทนำใน อินโดจีน (1992) ได้รับรางวัลซีซาร์ และเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในฐานะนักแสดงนำ ส่วนตัวภาพยนตร์ได้รับรางวัลในสาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม ทั้งรางวัลออสการ์ และรางวัลลูกโลกทองคำ ในปี 2000 เธอรับบทสมทบใน Dancer in the Dark กำกับโดยลาร์ส ฟอน เทรียร์ นำแสดงโดยปีเยิร์ก ซึ่งได้รับรางวัลปาล์มทองคำจากเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ กาทรีน เดอเนิฟว์ ยังมีผลงานในฐานะนางแบบ เธอเคยเป็นนางแบบให้กับสินค้าน้ำหอมชาแนล เสื้อผ้าอีฟว์ แซ็ง โลร็อง, กระเป๋าหลุยส์ วิตตอง, ลอรีอัล ใบหน้าของเธอถูกใช้เป็นต้นแบบของมารียาน (Marianne) สัญลักษณ์ของประเทศฝรั่งเศส ระหว่างปี 1985 ถึง 1989 ต่อจากบรีฌิต บาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และกาทรีน เดอเนิฟว์ · ดูเพิ่มเติม »

ภุชงค์ รุ่งโรจน์

งค์ รุ่งโรจน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดชลบุรี และอดีตนายกเทศมนตรีเมืองชะอำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และภุชงค์ รุ่งโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และมหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มัลคอล์ม แมคโดเวลล์

มัลคอล์ม แมคโดเวลล์ (Malcolm McDowell) เกิดเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 1943 เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ แมคโดเวลล์ เป็นที่รู้จักในภาพยนตร์เรื่อง If...., O Lucky Man!, Caligula และ A Clockwork Orange ซึ่งเขาได้รับการเสนอเข้าชิงรางวัลลูกโลกทองคำ ในตัวละคร Alex DeLarge ตั้งแต่นั้นมาความเก่งของเขาในฐานะนักแสดงได้นำไปสู่บทบาทในภาพยนตร์และซีรีส์โทรทัศน์ ภาพยนตร์ The Employer, Tank Girl, Franklin & Bash, Star Trek Generations ซีรีส์โทรทัศน์ Our Friends in the North, Entourage,Herose, Metalocalypse การ์ตูนแอนิเมชั่น Bolt หมวดหมู่:นักแสดงอังกฤษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และมัลคอล์ม แมคโดเวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

มาริลินน์ โรบินสัน

มาริลินน์ โรบินสัน (Marilynne Robinson) (26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1943 - ปัจจุบัน) มาริลินน์ โรบินสันเป็นนักเขียนนวนิยายและนักเขียนบทความชาวอเมริกัน นวนิยายเรื่อง “Housekeeping” ของโรบินสันที่เขียนในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และมาริลินน์ โรบินสัน · ดูเพิ่มเติม »

มารีโอ มอนตี

มารีโอ มอนตี (Mario Monti, เกิด 19 มีนาคม ค.ศ. 1943) อดีตนายกรัฐมนตรีอิตาลีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจและการคลัง เขาเป็นนักเศรษฐศาสตร์และวุฒิสมาชิกตลอดชีวิต เขาเป็นกรรมาธิการยุโรปตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และมารีโอ มอนตี · ดูเพิ่มเติม »

มานูเอล เบลัซเกซ

มานูเอล เบลัซเกซ บิยาเบร์เด (Manuel Velázquez Villaverde; 24 มกราคม พ.ศ. 2486 – 15 มกราคม พ.ศ. 2559) เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวสเปน ผู้ซึ่งเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดเป็นส่วนใหญ่และฟุตบอลทีมชาติสเปนในตำแหน่งกองกลาง เขาเสียชีวิตในวันที่ 15 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และมานูเอล เบลัซเกซ · ดูเพิ่มเติม »

มาโนชญ์ วิชัยกุล

นายมาโนชญ์ วิชัยกุล (เกิด 12 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช 9 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และมาโนชญ์ วิชัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

มิก แจ็กเกอร์

ซอร์ ไมเคิล ฟิลิป "มิก" แจ็กเกอร์ (Sir Michael Philip "Mick" Jagger) เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1943 เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง ชาวอังกฤษ บางครั้งยังเป็นนักแสดง เคยได้รับรางวัลลูกโลกทองคำและรางวัลแกรมมี่ เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักร้องนำวงเดอะโรลลิงสโตนส์ จากเว็บไซต์ britishhitsongwriters.com ระบุว่า เขาเป็นนักประพันธ์เพลงที่ประสบความสำเร็จในอันดับที่ 19 ของสหราชอาณาจักร ในชาร์ทยูเคซิงเกิล เมื่อวัดจากยอดรวมสัปดาห์ของการร่วมประพันธ์ บนตารางชาร์ต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และมิก แจ็กเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มิยูกิ ฮาโตยามะ

มิยูกิ ฮาโตยามะ (28 มิถุนายน พ.ศ. 2486) เป็นภริยาของยูกิโอะ ฮาโตยามะ อดีตนายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น เธอเคยเป็นนักแสดง, มัณฑนากร และนักเขียนตำราอาหาร หลังการรับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของยูกิโอะผู้เป็นสามี เขาได้กล่าวชมเชยถึงเธอผู้มีส่วนร่วมกับความสำเร็จในอาชีพของเขา และชื่นชมความกระตือรือร้นของเธอ ทั้งยังกล่าวถึงมิยูกิว่าเธอต้องใช้บทบาทที่โดดเด่นของเธอให้เป็นประโยชน์ในฐานะภริยานายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในช่วงที่สามีกำลังบริหารประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และมิยูกิ ฮาโตยามะ · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี พงษ์พานิช

นายมนตรี พงษ์พานิช (9 พ.ย. 2486 - 12 มิ.ย. 2543) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการหลายกระทรวง อาทิ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงสาธารณสุข และเป็นผู้อนุมัติ "โครงการโฮปเวลล์" เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และมนตรี พงษ์พานิช · ดูเพิ่มเติม »

ยอดหทัย เทพธรานนท์

ตราจารย์เกียรติคุณ ยอดหทัย เทพธรานนท์ เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2486 ที่กรุงเทพมหานคร ประธานกรรมการบริหารบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (บวท.) เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาเคมี ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และยอดหทัย เทพธรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอน ชไนเดอร์ส

อน ชไนเดอร์ส ยอน ชไนเดอร์ส ยอน ชไนเดอร์ส (Jan Snijders) เกิดวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 1943 ที่ไอนด์โฮเวน จังหวัดนอร์ทบราแบนต์ เป็นนักยูโดที่เกษียณอายุจากประเทศเนเธอร์แลนด์ ร่วมกับปีเตอร์ ชไนเดอร์ส (พี่น้องฝาแฝด), อันตัน เคซิง, ไฮน์ เอสซิง, โทนี วาเคนาร์, โคส โบนเจ, ยอน ฟัน เอียลันด์, มาร์ติน โปคลาเอน, โยป คาเวเลเลียว, วิม รุสกา, เอิร์น เอิกสเตอร์, เฮงก์ นิวมัน, ปีเตอร์ อาเดลาร์, วิลลี วิลเฮล์ม, เบน สไปเกอร์ส, แอนโธนี เวิร์ธ และธีโอ เมเยอร์ พวกเขาอยู่ในกลุ่มนักยูโดชาวดัตช์ระดับแถวหน้า ที่ประสบความสำเร็จในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และยอน ชไนเดอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

ยุกิโอะ ฮะชิ

กิโอะ ฮะชิ เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และยุกิโอะ ฮะชิ · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต เกตส์

รอเบิร์ต ไมเคิล เกตส์ (Robert Michael Gates) เป็นรัฐบุรุษชาวอเมริกัน เคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลาง และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมคนที่ 22 ตั้งแต่ปี 2006 ถึง 2011 เขาทำงานในสำนักข่าวกรองกลาง (ซีไอเอ) และสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นเวลายาวนานถึง 26 ปี และเป็นผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองกลางภายใต้รัฐบาลของประธานาธิบดี จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช นอกจากนี้เขายังเคยประจำการในกองทัพอากาศสหรัฐ หลังจากลาออกจากซีไอเอ เขาไปดำรงตำแหน่งเป็นอธิการบดีและกรรมการบริหารของมหาวิทยาลัยเทกซัสเอแอนด์เอ็ม นอกจากนี้ เขายังเป็นหนึ่งในฝ่ายวิคราะห์อิรัก (ISG) ของรัฐสภาสหรัฐ เพื่อติดตาม ประเมินสถานการณ์ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับสงครามในอิรัก เกตส์ได้รับการเสนอชื่อโดยประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในปี 2006 แทนที่โดนัลด์ รัมส์เฟลด์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากทั้งสองพรรค ในปี 2007 นิตยสาร Times ได้จัดให้เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดแห่งปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และรอเบิร์ต เกตส์ · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต เดอ นิโร

รอเบิร์ต มาริโอ เดอ นิโร จูเนียร์ เกิดเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1943 เป็นนักแสดงชาวอเมริกันเชื้อสายอิตาเลียน ผู้กำกับ ผู้สร้างภาพยนตร์ เคยได้รับรางวัลออสการ์ 2 ครั้งและ ผู้ชนะจากรางวัลลูกโลกทองคำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และรอเบิร์ต เดอ นิโร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชาน

รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และรัฐชาน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 โดยสถาบัน Royal Swedish Academy of Sciences แห่งประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสตอกโฮล์ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม

รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม (Nobelpriset i litteratur, Nobel Prize in Literature) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

รุ่งกานดา เบญจมาภรณ์

รุ่งกานดา เบญจมาภรณ์ (ชื่อเล่น: แมว) หรือที่รู้จักกันในชื่อ "ป้าแมว ดาวพระศุกร์" เป็นนักแสดงอาวุโสท่านหนึ่ง และอดีตนักแสดงค่ายดาราวิดีโอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และรุ่งกานดา เบญจมาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1943)

รียงลำดับเหตุการณ์เกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่สอง ในปี ค.ศ. 1943.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1943) · ดูเพิ่มเติม »

วอลเตอร์ แม็คโกแวน

วอลเตอร์ แมคโกแวน (Walter McGowan) นักมวยสากลชาวสกอตแลนด์ เกิดเมื่อ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และวอลเตอร์ แม็คโกแวน · ดูเพิ่มเติม »

วิรุฬ เตชะไพบูลย์

นายวิรุฬ เตชะไพบูลย์ อดีตผู้แทนการค้าไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และคณะทำงานด้านเศรษฐกิจของพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และวิรุฬ เตชะไพบูลย์ · ดูเพิ่มเติม »

วินัย สมพงษ์

ันเอกวินัย สมพงษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของนายชวน หลีกภัย และเป็นนักการเมืองที่มีความซื่อสัตย์ จนได้รับฉายาจากสื่อมวลชนว่า นายไม้บรรทัด และเป็นผู้ยกเลิกโครงการโฮบเวลล์ และริเริ่มโครงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และวินัย สมพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิเชียร คันฉ่อง

นายวิเชียร คันฉ่อง (เกิด 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2486) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง 6 สมัย และอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดตรัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และวิเชียร คันฉ่อง · ดูเพิ่มเติม »

วีรพงษ์ รามางกูร

วีรพงษ์ รามางกูร หรือ ดร.โกร่ง รองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) นอกจากนี้ยังเคยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตที่ปรึกษาเศรษฐกิจในหลายรัฐบาล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ (กยอ.) ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และวีรพงษ์ รามางกูร · ดูเพิ่มเติม »

วีระนิด เจริญเมือง

วีระนิด เจริญเมือง ชาวกรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อ 4 มกราคม พ.ศ. 2486 สถิติการชก 21 ครั้ง ชนะ 15 (น็อค 6) เสมอ 1 แพ้ 5.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และวีระนิด เจริญเมือง · ดูเพิ่มเติม »

วนัสธนา สัจจกุล

นายวนัสธนา สัจจกุล (ชื่อเดิม ธวัชชัย สัจจกุล) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กหอย หัวหน้าพรรคพลังคนกีฬา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย และอดีตผู้จัดการทีมฟุตบอลทีมชาติไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และวนัสธนา สัจจกุล · ดูเพิ่มเติม »

ศรีไพร ลูกราชบุรี

รีไพร ลูกราชบุรี 10 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และศรีไพร ลูกราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สกล พันธุ์ยิ้ม

ตราจารย์ สกล พันธุ์ยิ้ม (31 มีนาคม 2486 -) เกิดที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานวิจัยดีเด่นในสาขาชีวเคมี อณูชีววิทยา พันธุศาสตร์ และพันธุวิศวกรรม เป็นเจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย สาขาชีวเคมี ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสกล พันธุ์ยิ้ม · ดูเพิ่มเติม »

สมานฉันท์ ชมภูเทพ

ร.สมานฉันท์ ชมภูเทพ (ชื่อเดิม: สมาน ชมภูเทพ) อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน (อบจ.) และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นที่รู้จักในนาม "หนานหล้า".

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสมานฉันท์ ชมภูเทพ · ดูเพิ่มเติม »

สมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์

มโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์ เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2486 ที่จังหวัดนครปฐม จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนประชาบาลวัดสรรเพชญ (ทวีวิทยาคม) จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา มัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนอำนวยศิลป์ และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพญาไท ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 8 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2511 เริ่มรับราชการที่กรมประมงตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสมโภชน์ อัคคะทวีวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมเรียมนโรดม ยุวนาถ

มเด็จพระบรมรามานโรดม ยุวนาถ (Samdech Preah Boromriem Norodom Yuvaneath) เป็นพระราชโอรสองค์โตในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุกับพระองค์เจ้าสีสุวัตถิ์ พงสานมุนี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2486 ปัจจุบันมีพระชนมายุ 69 พรรษา มีพระพี่น้องร่วมพระมารดา 7 พระองค์ พระองค์ทรงพระเชษฐาต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พระมหากษัตริย์กัมพูชาองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสมเด็จพระบรมเรียมนโรดม ยุวนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ (สวีเดน: Carl XVI Gustaf; Carl XVI Gustaf of Sweden) ทรงเป็นประมุของค์ปัจจุบันแห่งราชอาณาจักรสวีเดน เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 1946 เป็นพระโอรสในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ มกุฎราชกุมารในขณะนั้นและเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา พระราชมารดาของพระองค์เป็นพระราชปนัดดาใน สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งสวีเดนเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1973 ทั้งนี้ พระองค์ยังทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่ 1 ในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ซัยยิด ซีรอญุดดีน

มเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ซัยยิด ซีรอญุดดีน อิบนี อัลมัรฮูม ตวนกูซัยยิด ปุตรา จามาลัลลาอิล ยังดีเปอร์ตวน อากงที่ 12 ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 12 แห่งสหพันธรัฐมาเลเซีย และอดีตรายารัฐปะลิสเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 3 แห่งมาเลเซีย เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2486 และทรงขึ้นครองสิริราชสมบัติเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2544 สมเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ไซอิด ซิรอญุดดิน อิบนี อัลมาร์ฮูม ตวนกู ไซอิด ปุตรา จามาลุลไลล์ ยังดี เปอร์ตวน อากง แห่งมาเลเซีย เป็นพระราชโอรสในตวนกู เซยิด ปุตรา อิบนิ อัล มรหุม เซยิด ฮัสซัน จามัลุลลาอิล (Tuanku syed Putra Ibni Al Marhum Syed Hassan Jamalullail) อดีตสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 3 และรายารัฐปะลิส กับเติงกู บุดริอะห์ บินติ อัล มรหุม เติงกู อิสมาอิล (Tengku Budriah binti Al – Marhum Tengku Ismail) เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2544 เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ 12 แห่งมาเลเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสมเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ซัยยิด ซีรอญุดดีน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีเปเตโล วิเคนา

สมเด็จพระราชาธิบดีเปเตโล วิเคนา เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรอาโล วาลลิสและฟุตูนาองค์ปัจจุบัน โดยการสืบตำแหน่งผู้ปกครองอาณาจักรตามประเพณี ประสูติเมื่อพ.ศ. 2486 เป็นโอรสของสมเด็จพระราชาธิบดีโซอาเน ปาติตา มาอิตูกู พระมหากษัตริย์อาโลองค์ก่อน เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อ6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ต่อจากพระบิดา หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2486 หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสมเด็จพระราชาธิบดีเปเตโล วิเคนา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีซิลเวียแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชินีซิลเวียแห่งสวีเดน (อังกฤษ: Her Majesty Queen Silvia of the Sweden) (ซิลเวีย เรนาเทอ ซอมแมร์ลัธ; 23 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรสวีเดน พระองค์ปัจจุบัน และยังเป็นพระราชชนนีในเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระราชินี และประชาชนชาวสวีเดนเรียกพระองค์ว่า พระราชินีซิลเวี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสมเด็จพระราชินีซิลเวียแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเรียมนโรดม บุปผาเทวี

รับบทเป็นนางรอง สมเด็จพระเรียมนโรดม บุปผาเทวี (នរោត្ដម បុប្ផាទេវី นโรตฺฎม บุบฺผาเทวี; 8 มกราคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ กับนักนางพาต กาญล ซึ่งเป็นนางรำหลวง โดยมีพระอนุชาร่วมพระมารดาคือ สมเด็จกรมพระนโรดม รณฤทธิ์ โดยทั้งสองพระองค์ต่างพระมารดากับพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสมเด็จพระเรียมนโรดม บุปผาเทวี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐไทยเดิม

หรัฐไทยเดิม เดิมชื่อ แคว้นสหรัฐไทยใหญ่ คือดินแดนทางภาคเหนือของประเทศไทย มีอาณาเขตรวมดินแดนของรัฐฉาน, รัฐกะยาจนไปถึงครึ่งใต้ของเมืองมัณฑะเลย์ในประเทศพม่า เคยเป็นอดีตเขตการปกครองเสมือนจังหวัด ของประเทศไทยช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสหรัฐไทยเดิม · ดูเพิ่มเติม »

สัมพันธ์ บุญญานันต์

ลเอก สัมพันธ์ บุญญานันต์ ประธานกรรมการ บริษัท สามารถเทลคอม จำกัด (มหาชน) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของทักษิณ ชินวัตร และอดีตปลัดกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2546).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสัมพันธ์ บุญญานันต์ · ดูเพิ่มเติม »

สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์

ัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ เป็นอดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหลายสมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สึโยะชิ นะกะมุระ

ึโยะชิ นะกะมุระ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 18 มีนาคม พ.ศ. 2486 สถิติการชก 74 ครั้ง ชนะ 44 (น็อค 5) เสมอ 9 แพ้ 21.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสึโยะชิ นะกะมุระ · ดูเพิ่มเติม »

สุกรี อ่อนฉ่ำ

กรี อ่อนฉ่ำ (28 ตุลาคม พ.ศ. 2486 -) นักกอล์ฟชาวไทย สุกรีเริ่มเล่นอาชีพตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสุกรี อ่อนฉ่ำ · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สุทธ บูลีน

ทธ บูลีน (Soth Polin) เกิดเมื่อ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสุทธ บูลีน · ดูเพิ่มเติม »

สุขุม นวลสกุล

รองศาสตราจารย์ สุขุม นวลสกุล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นักพูด และนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ. 2486 ที่จังหวัดยะลา โดยเป็นลูกคนสุดท้องในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 8 คน (ชาย 4 หญิง 4) บิดามีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปครอง พ.ศ. 2475 โดยที่ครอบครัวมีธุรกิจประเภทอสังหาริมทรัพย์ เริ่มศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา แล้วไปศึกษาต่อยังโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยขณะเรียนได้เรียนในสายวิทยาศาสตร์เพราะมีความตั้งใจจะเป็นแพทย์ แต่คะแนนวิทชาทางเคมีหรือชีววิทยาได้ไม่ดี แต่กลับได้คะแนนดีในวิชาภาษาไทย จึงเปลี่ยนไปสอบเอนทรานซ์สายสังคมศาสตร์แทน ซึ่งสอบได้คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษาในปี พ.ศ. 2511 (รุ่นที่ 15) ด้วยการใช้เวลาศึกษานานถึง 5 ปี ต่อมาได้เรียนระดับปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์และสังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยเท็กซัส เอแอนด์เอ็ม (Master of Science Texas A & M University) สหรัฐอเมริกา และได้ศึกษาเพิ่มเติมที่สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง กองบัญชาการทหารสูงสุด ได้รับประกาศนียบัตรสงครามจิตวิทยา เมื่อครั้งจบปริญญาตรี ได้ทำงานเป็นคอลัมนิสต์ในนิตยสารมวยไทยอยู่ 6 เดือน ก่อนจะเดินทางไปศึกษาต่อที่สหรัฐอเมริกา เมื่อจบปริญญาโทในปี พ.ศ. 2514 ได้เข้าทำงานเป็นอาจาย์ในมหาวิทยาลัยรามคำแหง ซึ่งเพิ่งก่อตั้ง นับเป็นคณาจารย์รุ่นบุกเบิกของมหาวิทยาลัยด้วยคนหนึ่ง จนกระทั่งได้รับตำแหน่งทางวิชาการเป็นรองศาสตราจารย์ และได้เป็นคณบดีคณะรัฐศาสตร์ จนถึงตำแหน่งอธิการบดี เมื่อปลายปี พ.ศ. 2525 และยุติการรับราชการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ก่อนเกษียณอายุราชการจริงหลายปี นอกจากนี้แล้วในทางการเมือง เคยเป็นที่ปรึกษาทางการมืองให้แก่นายกรัฐมนตรี พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524-พ.ศ. 2531 ซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายของการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พล.อ.เปรม ในระหว่างดำรงตำแหน่งอธิการบดี ได้เกิดเหตุนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรามคำแหงผู้หนึ่ง ได้เข้าทำร้ายร่างกาย พล.อ.เปรม ด้วยการชกหน้าและด่าทอด้วยคำหยาบคาย ขณะที่ พล.อ.เปรมเป็นประธานในพิธีปิดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย ที่ทางมหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นเจ้าภาพ จน พล.อ.เปรมต้องเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล ทาง ร.สุขุมในฐานะอธิการบดีและที่ปรึกษาของ พล.อ.เปรม ได้แสดงความรับผิดชอบด้วยการลาออกทันที แต่ทว่าทางสภามหาวิทยาลั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสุขุม นวลสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สี่รัฐมาลัย

ี่รัฐมาลัย หรือสะกดว่า 4 รัถมาลัย คืออดีตเขตการปกครองหนึ่งที่เคยเป็นของประเทศไทย อันประกอบด้วยรัฐกลันตัน, ตรังกานู, ไทรบุรี และปะลิส ซึ่งปัจจุบันทั้งหมดตั้งอยู่ทางตอนเหนือในอธิปไตยของประเทศมาเลเซีย เมื่อเกิดสงครามมหาเอเชียบูรพาเกิดขึ้น ไทยได้รับดินแดนส่วนนี้คืนจากประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2486 ได้ลงนามยอมรับว่าดินแดนส่วนนี้เป็นของไทย (ส่งมอบวันที่ 20 สิงหาคม) รัฐมาลัยที่อังกฤษเคยแย่งชิงไปจากไทยจึงตกมาอยู่ในครอบครองของไทยอีกครั้ง รัฐบาลไทยได้ส่งข้าหลวงใหญ่ทหารไปประจำทุกรัฐในสี่รัฐมาลัย โดยขึ้นตรงต่อผู้บังคับบัญชาการทหารสูงสุด หลังสิ้นสุดสงครามไทยต้องส่งมอบดินแดนส่วนนี้คืนอังกฤษ โดยข้าหลวงใหญ่ประจำสี่รัฐมาลัยได้ทำพิธีมอบสี่รัฐมาลัยคืนให้กับฝ่ายทหารอังกฤษ เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2488 1 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสี่รัฐมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง (Second Sino-Japanese War;; 日中戦争) ระหว่างวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นสงครามระหว่างจีนกับญี่ปุ่น เกิดขึ้นก่อนสงครามโลกครั้งที่สองต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่สองเรียกว่า "สงครามแปซิฟิก" และดำเนินเรื่อยมาจนยุติลงพร้อมกับสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นสงครามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในทวีปเอเชียในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ย้อนกลับไปใน พ.ศ. 2474 ญี่ปุ่นได้เข้ารุกรานแมนจูเรีย ซึ่งเหตุการณ์นี้เรียกว่ากรณีมุกเดน ทำให้ญี่ปุ่นสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในดินแดนจีนแผ่นดินใหญ่ได้ จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ ณ สะพานมาร์โค โปโล อันเป็นจุดเริ่มต้นอย่างเป็นทางการของสงครามครั้งนี้ ตั้งแต่เริ่มต้นสงครามจนถึง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สนิท กุลเจริญ

นายสนิท กุลเจริญ (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2561) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ 9 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสมุทรปราการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และสนิท กุลเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล

หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล (28 กันยายน 2486 -) กรรมการกฤษฎีกา ประธานกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทยและรองประธานกรรมการมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตปลัดกระทรวงการคลัง สื่อมวลชนเรียก หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล กันติดปากว่า หม่อมเต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และหม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงไกรฤกษ์ เกษมสันต์

ตราจารย์พิเศษ หม่อมหลวงไกรฤกษ์ เกษมสันต์ (เกิด 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486) ผู้พิพากษาอาวุโสในศาลอุทธรณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น รองประธานศาลฎีกา และตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และหม่อมหลวงไกรฤกษ์ เกษมสันต์ · ดูเพิ่มเติม »

อภัย จันทนจุลกะ

นายอภัย จันทนจุลกะ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และอภัย จันทนจุลกะ · ดูเพิ่มเติม »

อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา

อรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา เกิดเมื่อปี 17 สิงหาคม พ.ศ. 2486 ดาราภาพยนตร์ไทย ฉายา "เต่าไทย" ในวงการบันเทิงกว่า 40 ปี อดีตขวัญใจวัยรุ่นชื่อดัง ช่วงต้นทศวรรษ 2500 ถึงกลางทศวรรษ 2510.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และอรสา อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ออตโต สเติร์น

ออตโต สเติร์น หรือออทโท ชแตร์น (Otto Stern, 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2431 - 17 สิงหาคม พ.ศ. 2512) เป็นนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน-เยอรมัน ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และออตโต สเติร์น · ดูเพิ่มเติม »

อันตอนีโอ ตาบุคคี

อันตอนีโอ ตาบุคคี (23 กันยายน 1943 - 25 มีนาคม 2012) นักเขียนคนสำคัญของอิตาลี ขณะเป็นนักศึกษาเรียนวิชาภาษาโปรตุเกสดีที่สุดในชั้น จึงได้รับทุนให้ไปศึกษาต่อในประเทศโปรตุเกส ต่อมาเป็นอาจารย์สอนวิชาวรรณคดีโปรตุเกสในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศ และเป็นผู้แปลและเผยแพร่งานเขียนของกวีเอกชาวโปรตุเกส เฟอร์นันดู เปซัว (Fernando Pessoa) ให้ชาวอิตาลีได้รู้จัก ผลงานทางวรรณกรรมเล่มแรกของเขาคือนวนิยายเรื่อง Piazza Italia ตีพิมพ์ปี 1975 ขณะเป็นอาจารย์สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยแห่งเมืองโบโลนญา งานเขียนที่สร้างชื่อให้ตาบุคคีคือนวนิยายเรื่อง Sostiene Pereira หรือ "คำยืนยันของเปเรย์รา" ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี 1994 มีผู้นำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ในปีต่อมา "คำยืนยันของเปเรย์รา" เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์และการเมืองของยุโรปในช่วงปีที่ผู้นำเผด็จการกำลังเรืองอำนาจ ในสเปนกำลังเกิดสงครามกลางเมือง นวนิยายเปิดฉากในปี 1938 ที่กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเกส ภายใต้การปกครองของ อันตอนีอู ดือ โอลีเวย์รา ซาลาซาร์ (António de Oliveira Salazar) เป็นเรื่องราวการต่อสู้อันเงียบงันทว่าทรงพลังของนักหนังสือพิมพ์อาวุโสคนหนึ่งเพื่อปกป้องอิสรภาพของชีวิตมนุษย์ หนังสือเล่มนี้ได้รับรางวัลเวียเร็จโจ (Premio Viareggio Rèpaci) รางวัลคัมปีเอลโลยอดเยี่ยม (Super Premio Campiello) รางวัลสกันโน (Premio Scanno) รางวัล Premio dei Lettori และรางวัล Prix Européen Jean Monnet ตาบุคคีได้รับอิสริยาภรณ์ศิลปะและอักษรศาสตร์ Chevalier des Arts et des Lettres จากรัฐบาลประเทศฝรั่งเศส Order of Prince Henry จากรัฐบาลประเทศโปรตุเกส และได้รับรางวัล Austrian State Prize for European Literature ในปี 1998 อันตอนีโอ ตาบุคคี เสียชีวิตเช้าวันที่ 25 มีนาคม 2012 ณ กรุงลิสบอน ประเทศโปรตุเก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และอันตอนีโอ ตาบุคคี · ดูเพิ่มเติม »

อันเจโล อันกวิลเลตตี

อันเจโล อันกวิลเลตตี (Angelo Anquilletti 25 เมษายน พ.ศ. 2486 - 9 มกราคม พ.ศ. 2558) เป็นนักฟุตบอลชาวอิตาลีที่เล่นในตำแหน่งกองหลังให้กับ Solbiatese, Atalanta, เอซีมิลาน และ Monza.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และอันเจโล อันกวิลเลตตี · ดูเพิ่มเติม »

อาร์มิน ไมเออร์ (นักแสดง)

อาร์มิน ไมเออร์ (ค.ศ. 1943 - ค.ศ. 1978) เป็นนักแสดงชายชาวเยอรมันhttp://www.theguardian.com/film/1999/jan/08/features3 "The Bitter Tears of Fassbinder's Women", ''The Guardian'' (8 January 1999)1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และอาร์มิน ไมเออร์ (นักแสดง) · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เธอร์ แมคโดนัลด์

อาร์เธอร์ บรูซ แมคโดนัลด์ (Arthur Bruce McDonald) เกิดเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และอาร์เธอร์ แมคโดนัลด์ · ดูเพิ่มเติม »

อาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิช

อาเล็กซานดาร์ คาราจอร์เจวิช ทรงเป็นที่รู้จักในนาม เจ้าฟ้าชายอาเล็กซานดาร์ มกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวีย (Александар Карађорђевић, Aleksandar Karađorđević, พระราชสมภพ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์เซอร์เบีย เมื่อครั้งพระราชสมภพพระราชบิดาของพระองค์คือพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ทรงทำให้พระองค์เป็นมกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวียซึ่งเป็นพระองค์สุดท้าย ด้วยการสร้างรัฐบาลคอมมิวนิสต์และการตามมาซึ่งการล่มสลายแห่งยูโกสลาเวีย ทำให้ปัจจุบันทรงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์เซอร์เบีย โดยมีพระราชอิสริยยศเป็น เจ้าฟ้าชายอเล็กซานเดอร์ที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งเซอร์เบีย แต่ปัจจุบันเป็นสาธารณรัฐเซอร์เบีย เจ้าชายอเล็กซานเดอร์เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย พระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งยูโกสลาเวีย ราชวงศ์คาราจอร์เจวิช กับอเล็กซานดราแห่งกรีซ สมเด็จพระราชินีแห่งยูโกสลาเวีย พระองค์มีพระราชอิสริยยศเป็น "มกุฎราชกุมารอเล็กซานเดอร์" ซึ่งได้มาตั้งแต่พระราชสมภพและพระราชบิดายังคงเป็นพระมหากษัตริย์อยู่ ซึ่งเป็นการแตกแยกในเซอร์เบียด้วยผู้คนจำนวนมากที่สนับสนุนระบอบกษัตริย์อันส่งผลต่อกับความมั่นคงของประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และอาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิช · ดูเพิ่มเติม »

อุทุมพร จามรมาน

ตราจารย์ อุทุมพร จามรมาน ที่ปรึกษาผู้ตรวจการแผ่นดิน อดีตผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) และเป็นกรรมการและเลขานุการในคณะกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และอุทุมพร จามรมาน · ดูเพิ่มเติม »

องอาจ วชิรพงศ์

นายองอาจ วชิรพงศ์ (เกิด 6 มีนาคม พ.ศ. 2486) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เขต 5 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และองอาจ วชิรพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ลีย์ เรซ

ร์ลีย์ ลีแลนด์ เรซ (Harley Leland Race) หรือในชื่อที่รู้จักกันดีว่า ฮาร์ลีย์ เรซ (Harley Race) เกิดวันที่ 11 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และฮาร์ลีย์ เรซ · ดูเพิ่มเติม »

ผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ

ผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 ประธานผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย อดีตปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และอดีตปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ แฮร์ริสัน

อร์จ แฮร์ริสัน (George Harrison) MBE (25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1943 – 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2001) เป็นมือกีตาร์ชาวอังกฤษ นักร้อง-นักแต่งเพลง ผู้สร้างภาพยนตร์ เขาประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติจากการเป็นมือกีตาร์ลีดให้กับวงเดอะบีทเทิลส์ และยังมีชื่ออยู่อันดับ 21 ของการจัดอันดับในนิตยสารโรลลิงสโตนในหัวข้อ "100 นักกีตาร์ที่เยี่ยมที่สุดตลอดกาล" มักถูกพูดถึงว่าเป็น "บีทเทิลที่เงียบขรึม" (the quiet Beatle) แฮร์ริสันเชื่อเรื่องเวทมนตร์อินเดีย และยังทำให้ฐานคนฟังของเดอะบีทเทิลส์กว้างขึ้นเช่นเดียวกับกลุ่มผู้ฟังตะวันตก หลังจากที่วงแตกไป เขาประสบความสำเร็จในฐานะศิลปินเดี่ยวและต่อมาก็อยู่ในวง แทรเวลลิงวิลบูรีส์ และยังเป็นโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์และเพลงอีกด้วย ถึงแม้ว่าเพลงโดยมากของเดอะบีทเทิลส์จะแต่งโดยเลนนอนและแม็กคาร์ตนีย์ แฮร์ริสันก็ยังแต่งเพลง 1 หรือ 2 เพลงต่ออัลบั้มตั้งแต่ชุด Help! เป็นต้นมา ผลงานเขาที่ร่วมกับเดอะบีทเทิลส์เช่นเพลง "Here Comes the Sun", "Something", "I Me Mine" และ "While My Guitar Gently Weeps" หลังจากวงแตกไป แฮร์ริสันก็ยังเขียนเพลง ออกผลงานทริปเปิลอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จอย่าง All Things Must Pass ในปี 1970 ที่มี 2 ซิงเกิ้ลและ ดับเบิลเอ-ไซด์ซิงเกิล: "My Sweet Lord" กับ Isn't It a Pity" นอกจากนี้ในงานเดี่ยว แฮร์ริสันยังร่วมเขียนเพลงฮิต 2 เพลงให้กับริงโก สตารร์ อดีตสมาชิกวงเดอะบีทเทิลส์อีกคน และเพลงในวงแทรเวลลิงวิลบูรีส์ วงซูเปอร์กรุ๊ป ที่ฟอร์มวงในปี 1988 ร่วมกับบ็อบ ดีแลน, ทอม เพตตี, เจฟฟ์ ลีนน์ และรอย ออร์บิสัน แฮร์ริสัน ได้รับวัฒนธรรมอินเดียและฮินดู ในช่วงทศวรรษ 1960 และช่วยให้ความรู้กับคนตะวันตกด้วยเพลงซิตาร์ และกลุ่มเคลื่อนไหวฮาเร กฤษณะ เขาร่วมกับระวี ชังการ์ จัดคอนเสิร์ตการกุศลในปี 1971 ที่ชื่อ Concert for Bangladesh และเขาถือเป็นคนเดียวในเดอะบีทเทิลส์ที่พิมพ์อัตชีวประวัติ ขึ้นที่ชื่อ I Me Mine ในปี 1980 นอกจากการเป็นนักดนตรีแล้ว เขายังเป็นโปรดิวเซอร์เพลง และร่วมก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ที่ชื่อ แฮนด์เมดฟิล์มส งานของเขาในฐานะผู้สร้างภาพยนตร์ เขาร่วมงานกับผู้คนหลากหลายอย่าง มาดอนน่า และสมาชิกของกลุ่มมอนตี้ ไพธอน ด้านชีวิตส่วนตัวเขาแต่งงาน 2 ครั้ง ครั้งแรกกับนางแบบ แพตตี บอยด์ ในปี 1966 และเลขาบริษัทค่ายเพลงที่ชื่อ โอลิเวีย ทรินิแดด อาเรียส ในปี 1978 ที่มีลูกชายด้วยกัน 1 คน ชื่อ ดานี แฮร์ริสัน เขายังเป็นเพื่อนสนิทกับอีริก แคลปตัน และอีริก ไอเดิล เขาเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งในปอดเมื่อปี 2001.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และจอร์จ แฮร์ริสัน · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ เบนสัน

อร์จ เบนสัน นักกีตาร์แจ๊สชาวอเมริกันจากเมืองพิตสเบิร์ก เพนซิลเวเนีย มีผลงานทั้งในแนวแจ๊ส ฟังก์ ป็อป และอาร์แอนด์บี และยังมีความสามารถในการร้องเพลง และสแคท จอร์จ เบนสันเริ่มเป็นนักดนตรีอาชีพตั้งแต่อายุ 21 ปี ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และจอร์จ เบนสัน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เมเจอร์

ซอร์ จอห์น เมเจอร์ (Sir John Major)(29 มีนาคม พ.ศ. 2486 -) นักการเมืองชาวอังกฤษและนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรจากพรรคอนุรักษนิยม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และจอห์น เมเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เดนเวอร์

นรี จอห์น ดอยท์เชนดอร์ฟ จูเนียร์ (Henry John Deutschendorf, Jr.) หรือที่รู้จักในชื่อ จอห์น เดนเวอร์ (John Denver, 31 ธันวาคม ค.ศ. 1943 – 12 ตุลาคม ค.ศ. 1997) เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลงแนวคันทรี-โฟล์ก นักแสดง นักกิจกรรมทางสังคมและนักมนุษยชนชาวอเมริกัน ที่มีชื่อเสียงในงานดนตรีเดี่ยวและงานเพลงอคูสติกที่สุดคนหนึ่งและมียอดจำหน่ายสูงที่สุดคนหนึ่งแห่งทศวรรษที่ 70 โดยในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และจอห์น เดนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เคร์รี

อห์น ฟอบส์ เคร์รี (John Forbes Kerry) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกันผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกาคนที่ 66, อดีตสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐอเมริกาจากรัฐแมสซาชูเซตส์ โดยดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของวุฒิสภา นอกจากนี้ เขายังเคยเป็นผู้ท้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 43 ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2547 อีกด้วย ซึ่งเขาก็พ่ายแพ้แก่ จอร์จ ดับเบิลยู. บุช เคร์รีเกิดที่เมืองออโรรา ในรัฐโคโลราโด และเข้าเรียนในโรงเรียนประจำในรัฐแมสซาชูเซตส์และรัฐนิวแฮมป์เชียร์ เขาจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเยลเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และจอห์น เคร์รี · ดูเพิ่มเติม »

จองชัย เที่ยงธรรม

นายจองชัย เที่ยงธรรม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี และอดีตกรรมการบริหารพรรคชาติไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และจองชัย เที่ยงธรรม · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย

ักรพรรดิบ๋าว ดั่ย (จื๋อโกว๊กหงือ: Bảo Đại, จื๋อโนม: 保大, แปลว่า ผู้เก็บรักษาความยิ่งใหญ่; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1913 - 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1997) พระนามเดิมว่า เหงียน ฟุก หวิญ ถวิ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 13 และพระองค์สุดท้ายแห่งเหงียน ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 - ค.ศ. 1945 ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอันนัม ในช่วงนี้พระองค์ทรงได้รับความคุ้มครองจากฝรั่งเศสโดยอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2 ใน 3 ของเวียดนามในปัจจุบัน พระองค์ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1932 ญี่ปุ่นได้ขับไล่ฝรั่งเศสออกจากดินแดนนี้ในปี ค.ศ. 1945 และใช้อำนาจการปกครองผ่านจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในช่วงนี้พระองค์ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "เวียดนาม" อีกครั้ง พระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ในเดือนสิงหาคมเมื่อญี่ปุ่นยอมแพ้สงคราม พระองค์ยังทรงเป็นประมุขรัฐเวียดนามตั้งแต่ ค.ศ. 1949 จนกระทั่ง ค.ศ. 1955 จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ทรงถูกวิพากษ์วิจารณ์เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับฝรั่งเศสเกินไปและประทับอยู่นอกเวียดนามเป็นเวลานานในรัชสมัยของพระองค์ โง ดิ่ญ เสี่ยม นายกรัฐมนตรีได้ขับไล่พระองค์ในการลงประชามติปลดจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ออกจากราชบัลลังก์เมื่อปี ค.ศ. 1955 แม้จะเป็นที่รับรู้อย่างกว้างขวางว่าเวียดมินห์หรือโฮจิมินห์เป็นผู้วางรากฐานเอกราชให้แก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่อย่างไรก็ตาม สแตนลีย์ คาร์โนว์ (Stanley Karnow) ได้โต้แย้งในหนังสือ Vietnam - A History ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพันธุ์ โปษยกฤต

อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต จักรพันธุ์ โปษยกฤต หรือที่รู้จักกันในนาม อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต เกิดเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และจักรพันธุ์ โปษยกฤต · ดูเพิ่มเติม »

จิม มอร์ริสัน

มส์ ดักลาส "จิม" มอร์ริสัน (James Douglas "Jim" Morrison) (8 ธันวาคม ค.ศ. 1943 - 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1971) เป็นนักร้อง นักแต่งเนื้อเพลง กวี และผู้สร้างหนังสมัครเล่น เขาเป็นที่รู้จักที่สุดในฐานะนักร้องนำและผู้แต่งเนื้อร้องให้กับวง เดอะดอร์ส และถือว่าเป็นหนึ่งในผู้นำวงที่มีเสน่ห์ดึงดูดที่สุดในประวัติศาสตร์เพลงร็อก"", BBC News, January 31, 2007.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และจิม มอร์ริสัน · ดูเพิ่มเติม »

จิมมี สนูกกา

มส์ วิลเลียม รีเออร์ (James William Reiher) (1 มีนาคม ค.ศ. 1943 – 15 มกราคม ค.ศ. 2017) ที่คลิฟตัน รัฐนิวเจอร์ซีย์ เป็นนักมวยปล้ำอาชีพและนักแสดงชาวอเมริกัน อดีตนักมวยปล้ำWWE เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ จิมมี "ซุปเปอร์ฟาย" สนูกกา (Jimmy "Superfly" Snuka) เป็นพ่อของจิมมี่ ริเออร์ จูเนียร์และทามีนา สนูกกา ได้เข้าสู่หอเกียรติยศดับเบิลยูดับเบิลยูอี ประจำปี 1996.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และจิมมี สนูกกา · ดูเพิ่มเติม »

จ้าว จื้อหลิง

้าว จื้อหลิง (趙志淩; Chiu Chi-ling; 20 มกราคม ค.ศ. 1943 —) เป็นนักแสดงที่ปรากฏตัวโดยส่วนใหญ่ในภาพยนตร์แนวกังฟูที่ผลิตในฮ่องกง เขายังเป็นผู้ฝึกสอนเพลงหมัดหงฉวนที่ สมาคมกังฟูหงฉวนจ้าวจื้อหลิง ซึ่งเป็นโรงเรียนศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวที่เขาได้ก่อตั้งขึ้นมา โดยมีฐานตั้งอยู่ที่ซานฟรานซิสโก และที่กว่านซึ่งเป็นครอบครัวเก่าของจ้าวในฮ่องกง โดยในทุกปี เขาจะไปเยี่ยมนักเรียนและนักศึกษาที่ชำนาญยุทธจากทั่วทุกมุมโลก รวมถึงได้จัดให้มีทัวร์นาเมนท์กังฟูทั่วโลก เขาได้ปรากฏตัวในภาพยนตร์กว่า 70 เรื่อง ทั้งในฐานะของนักแสดงและสตันท์แมน ความสามารถในการเป็นนักแสดงรวมถึงผู้ฝึกศิลปะการต่อสู้ของเขาได้ส่งผลให้เขาได้มีโอกาสร่วมงานกับผู้สร้างภาพยนตร์ที่ได้รับความนิยมสูงสุด ซึ่งได้แก่ บรูซ ลี, เฉินหลง, โจว เหวินฟะ และโจว ซิงฉือ ในช่วงต้นทศวรรษ 1970 เขาได้เปิดโรงเรียนที่ดึงดูดคนดัง, นักกีฬาและนักแสดงหลายราย จากการคลุกคลีในวงการนี้เอง ที่ส่งผลให้เขาได้เริ่มในการแสดงภาพยนตร์ โดยเขาได้ปรากฏตัวในภาพยนตร์แนวกังฟูที่รู้จักกันเป็นอย่างดี เช่น ไอ้หนุ่มพันมือ, ดูเอลออฟเดอะเซเว่นไทเกอร์ส รวมถึงภาพยนตร์ตลกแอ็คชันที่ได้รับความนิยมอย่าง คนเล็กหมัดเทวดา ปัจจุบันเขาอาศัยอยู่ในอาลาเมดา รัฐแคลิฟอร์เนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และจ้าว จื้อหลิง · ดูเพิ่มเติม »

ธัญ การวัฒนาศิริกุล

นายธัญ การวัฒนาศิริกุล (เกิด 20 มกราคม พ.ศ. 2486) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน 2 สมัย และเป็นอดีตนายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และธัญ การวัฒนาศิริกุล · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ อินทรเทพ

นินทร์ อินทรเทพ มีชื่อจริงว่า ธานินทร์ อินทรแจ้ง นักร้องเพลงลูกกรุงอาวุโส มีชื่อเสียงจากเพลง รักเอย เหมือนคนละฟากฟ้า นกขมิ้น หากรู้สักนิด ขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก และ ทำไมถึงต้องเป็นเรา (โดยเฉพาะเพลงขาดฉันแล้วเธอจะรู้สึก มีชื่อเสียงจนถูกนำไปแต่งเพลงล้อเลียน ชื่อ ขาดฉันแล้วเธอจะเซ้งตึก แปลงเพลงโดย ซูม แห่งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และธานินทร์ อินทรเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ธนิต ธรรมสุคติ

นิต ธรรมสุคติ เป็นนักแปลนวนิยาย และนักเขียนที่มีชื่อเสียง เคยเป็นนายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และธนิต ธรรมสุคติ · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทย

นายณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทย (ชื่อรอง หนานโฮ๊ะ) หรือที่รู้จักกันในนาม "หนานโฮ๊ะ" อดีตผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ หลายสมัย นักจัดรายการวิทยุ ผู้สื่อข่าวท้องถิ่นที่นำเสนอข่าวในรูปแบบที่ถูกใจชาวบ้าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และณรงค์ หนานโฮ๊ะ นิยมไทย · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ วอลเคน

ริสโตเฟอร์ วอลเคน (อังกฤษ: Christopher Walken) เกิดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1943 ที่ควีนส์ ในมหานครนิวยอร์ก โดยมีชื่อแต่กำเนิดว่า โรนัลด์ วอลเคน (Ronald Walken) โดยมารดามีเชื้อสายสกอต และบิดามีเชื้อสายเยอรมัน เข้าสู่วงการการแสดง โดยการเป็นนักเต้นด้วยอายุเพียง 10 ขวบ ชนิดที่เจ้าตัวไม่คิดมาก่อนว่าจะได้กลายเป็นนักแสดงที่มีชื่อเสียงโด่งดัง ต่อมาวอคลเคนได้แสดงละครเวทีจากบทตลกเบาสมองและบทชีวิตหนักหน่วง ในปี ค.ศ. 1971 ได้มีโอกาสแสดงภาพยนตร์ใหญ่ครั้งแรกในเรื่อง The Anderson Tapes ของซิดนีย์ ลูเมท ต่อมาจึงได้แสดงในเรื่อง Annie Hall ของวูดดี อัลเลน ในปี ค.ศ. 1977 ซึ่งในเรื่องนี้วอลเคนเป็นเพียงตัวประกอบปรากฏตัวสั้น ๆ แต่มีความหมาย จึงทำให้ได้รับการจับตามองในฐานะนักแสดงดาวรุ่ง ก่อนที่จะมาประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดเมื่อได้รับรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม กับภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับทหารผ่านสงครามเวียดนาม เรื่อง The Deer Hunter ในปี ค.ศ. 1978 ที่ถ่ายทำในประเทศไทย โดยแสดงคู่กับนักแสดงที่มีชื่อเสียงอย่าง โรเบิร์ต เดอ นีโร และจอห์น คาซาล ซึ่งในเรื่องนี้การแสดงของวอลเคนเป็นที่โดดเด่นมากในเรื่อง โดยเฉพาะกับการเอาปืนจ่อศีรษะตัวเองแบบรัสเซียน รูเลทท์ ซึ่งภาพนี้ได้กลายมาเป็นภาพโปสเตอร์ของเรื่องด้วย หลังจากนั้น คริสโตเฟอร์ วอลเคน ก็ได้กลายเป็นนักแสดงที่มีชื่อเสียงเทียบเท่านักแสดงคนอื่น ๆ ผลงานหลังจากนั้นก็ได้แก่ The Dead Zone ในปี ค.ศ. 1983 ของเดวิด โครเนนเบิร์ก True Romance ในปี ค.ศ. 1993 ของโทนี สกอต และ Pulp fiction ในปี ค.ศ. 1994 ของเควนติน แทแรนติโน เป็นต้น รวมทั้งการรับเป็น แม็กซ์ ซอริน ตัวร้ายในภาพยนตร์ชุดเจมส์ บอนด์ ในตอน A View to a Kill ในปี ค.ศ. 1985 ที่มี โรเจอร์ มัวร์ รับบทเจมส์ บอนด์ เป็นครั้งสุดท้ายอีกด้วย บทบาทการแสดงของคริสโตเฟอร์ วอลเคน ในครั้งหนึ่งมักจะรับบทร้ายหรือปีศาจ อันเนื่องจากหน้าตาที่ให้ เช่น ในเรื่อง Sleepy Hollow ในปี ค.ศ. 1999 ของทิม เบอร์ตัน, Nick of Time ในปี ค.ศ. 1995 หรือ The Prophecy ในปี ค.ศ. 1995 ที่รับบทเป็น เทวทูตกาเบรียล ซึ่งเป็นตัวร้ายของเรื่อง สำหรับการเต้น วอลเคนเคยแสดงนำในมิวสิกวีดีโอเพลง Weapon Of Choice ของแฟตบอย สลิม ด้วยการเต้นคนเดียวทั้งเพลงด้วย ผลงานในระยะหลัง ได้แก่ การรับบทเป็นพ่อของลีโอนาร์โด ดิคาปริโอ ใน Catch Me If You Can ในปี ค.ศ. 2002 จากการกำกับของสตีเวน สปีลเบิร์ก เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และคริสโตเฟอร์ วอลเคน · ดูเพิ่มเติม »

คะโยะ มะสึโอะ

มะสึโอะ เกิดเมื่อวันที่ 17 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และคะโยะ มะสึโอะ · ดูเพิ่มเติม »

คะโต ชะ

ต ในคณะตลก The Drifters (ภาพในปี 1969) คะโต ชะ ชื่อจริง คะโต ฮิเดะยุกิ เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และคะโต ชะ · ดูเพิ่มเติม »

คิม ย็อน-จา

ม ย็อน-จา (Kim Yeun-ja) เป็นอดีตนักวอลเลย์บอลหญิงชาวเกาหลีเหนือ เธอเข้าร่วมแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และคิม ย็อน-จา · ดูเพิ่มเติม »

คูลิโอ อีเกลเซียส

ูลิโอ อีเกลเซียส (Julio Iglesias) เกิดเมื่อวันที่ 23 กันยายน ค.ศ. 1943 เป็นนักร้องชาวสเปน มีผลงานยอดขายมากกว่า 300 ล้านชุด อัลบั้มทั่วโลก กับ 14 ภาษาและผลงานอัลบั้ม 77 ชุด และจากข้อมูลของโซนีมิวสิกเอนเตอร์เทนเมนต์ เขาเป็น 1 ใน 10 อันดับแรกของศิลปินที่ขายดีที่สุดในประวัติศาสตร์ อีเกลเซียสมีชื่อเสียงโดดเด่นในระดับนานาชาติในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 และ 1980 ในฐานะนักร้องเพลงบัลลาดโรแมนติก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และคูลิโอ อีเกลเซียส · ดูเพิ่มเติม »

ฉลาด วรฉัตร

รืออากาศตรี ฉลาด วรฉัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราดและกรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ นักเคลื่อนไหวทางการเมือง ผู้ได้รับฉายาว่า "จอมอด".

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และฉลาด วรฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

ฉันทนา กิติยพันธ์

ฉันทนา กิติยพันธ์ (เดิมชื่อ สันทนา สุปัญโญ) เป็นนักร้อง นักแสดง และนักพากย์ชาวไทย เกิดที่จังหวัดศรีสะเกษ เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนสตรีสิริเกศ เป็นนักร้องในยุคเซเวนตีส์ มีรายการสดทางโทรทัศน์ของตัวเองที่ชื่อว่า ฉันทนาโชว์ ทางช่อง 5 หลังจากนั้นก็มีรายการ มิวสิคสแควร์ ทางช่อง 3 และจากการที่ต้องทำงานจึงพาลูกสาวที่ชื่อ เสาวลักษณ์ ลีละบุตร มาร้องเพลงออกทางรายการโทรทัศน์ด้วย ซึ่งต่อมาได้ก่อตั้งวง สาว สาว สาว ร่วมกับเด็กสาวอีก 2 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และฉันทนา กิติยพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

ซะดะโกะ ซะซะกิ

ซะดะโกะ เมื่ออายุ 12 ปี ซะดะโกะ ซะซะกิ (7 มกราคม 2486 – 25 ตุลาคม 2498) เป็นเด็กหญิงชาวญี่ปุ่นที่อาศัยอยู่ใกล้กับสะพานมิซาสะในจังหวัดฮิโระชิมะ ประเทศญี่ปุ่น ในขณะที่ระเบิดนิวเคลียร์ถูกทิ้งลงที่ฮิโระชิมะ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และซะดะโกะ ซะซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์สตาร์ บิลลี แกรห์ม

อลดริดจ์ เวย์น โคลแมน (Eldridge Wayne Coleman) เกิดวันที่ 7 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และซูเปอร์สตาร์ บิลลี แกรห์ม · ดูเพิ่มเติม »

ประชัย เลี่ยวไพรัตน์

นายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ (28 สิงหาคม พ.ศ. 2487 —) อดีตหัวหน้าพรรคมัชฌิมาธิปไตย อดีตเลขาธิการพรรคประชาราช เป็นผู้ก่อตั้งและอดีตผู้บริหารบริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทีพีไอ(ปัจจุบันคือ บริษัท ไออาร์พีซี จำกัด (มหาชน)) และบริษัท ทีพีไอโพลีน จำกัด (มหาชน) หรือทีพีไอโพลีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และประชัย เลี่ยวไพรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล

ตราจารย์พิเศษ ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล กรรมการมูลนิธิสุรเกียรติ์ - ท่านผู้หญิงสุธาวัลย์ เสถียรไทย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ หลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และประสิทธิ์ โฆวิไลกูล · ดูเพิ่มเติม »

ประสงค์ โฆษิตานนท์

นายกองเอก ประสงค์ โฆษิตานนท์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของนายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเพชรบูรณ์ และสมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และประสงค์ โฆษิตานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประทุมพร วัชรเสถียร

รองศาสตราจารย์ ประทุมพร วัชรเสถียร (สกุลเดิม: เหล่าวานิช; 27 กันยายน พ.ศ. 2486 — 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553) ชื่อเล่น ตุ้ง เป็นนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญด้านการเมืองและนโยบายต่างประเทศแถบยุโรป, นักเขียน, นักจัดรายการวิทยุ และพิธีกรรายการโทรทัศน์ ตลอดจนเคยเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ, อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, รองอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร..ประทุมพร เป็นรัฐศาสตรบัณฑิตแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รุ่นที่ 14 จากนั้น ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย สหรัฐ ได้ป็นมหาบัณฑิตด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ส่วนด้านครอบครัว ประทุมพรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ และได้สมรสกับธีระ วัชรเสถียร สามีนับถือนิกายโรมันคาทอลิก มีบุตรชายด้วยกันคือพลธร วัชรเสถียร ร..ประทุมพร เป็นที่รู้จักมากในบทบาทนักเขียน และสื่อมวลชน ในเหตุการณ์ 14 ตุลา พ.ศ. 2516 เป็นหนึ่งใน 100 บุคคลที่ร่วมลงชื่อคัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของจอมพลถนอม กิตติขจร ด้วย ถึงแก่กรรมเมื่อเวลา 04.10 น. ของวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และประทุมพร วัชรเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ โศภน

ตราจารย์เกียรติคุณ ประเสริฐ โศภน (8 ธันวาคม 2486 -) เกิดที่จังหวัดสกลนคร เป็นบุตรคนที่ 6 ในจำนวน 10 คน ของ นายสุนทร และนางสว่างจิต โศภน เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีผลงานดีเด่นในสาขากายวิภาคศาสตร์และเซลล์ชีววิทยา เจ้าของรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น สาขาเซลล์ชีววิทยา ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และประเสริฐ โศภน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศศรีลังกา

รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 มีพรมแดนทางทะเลติดต่อกับอินเดียทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และมัลดีฟส์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

นิยม ประเสริฐสม

นิยม ประเสริฐสม (Niyom Prasertsom) เกิดเมื่อ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และนิยม ประเสริฐสม · ดูเพิ่มเติม »

นิวต์ กิงริช

นิวต์ กิงริชในเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 นิวตัน ลีรอย "นิวต์" กิงริช (Newton Leroy "Newt" Gingrich) มีชื่อเมื่อเกิดว่า นิวตัน ลีรอย แมคเฟียร์สัน (Newton Leroy McPherson, เกิด 17 มิถุนายน พ.ศ. 2486) เป็นนักการเมือง นักประพันธ์และที่ปรึกษาการเมืองชาวอเมริกัน ผู้ดำรงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกาคนที่ 58 ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และนิวต์ กิงริช · ดูเพิ่มเติม »

แบร์รี แมนิโลว์

แบร์รี แมนิโลว์ (Barry Manilow) เกิดเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1943 เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลง นักดนตรี ผู้เรียบเรียง โปรดิวเซอร์ คอนดักเตอร์ ดาราและนักแสดง เป็นที่รู้จักจากผลงานเพลงอย่างเช่น "I Write the Songs", "Mandy", "Weekend in New England", "Could It Be Magic" และ "Copacabana" ในปี 1978 ผลงานอัลบั้ม 5 ชุดของเขามียอดขายดีบนชาร์ตอย่างต่อเนื่อง เป็นรองเพียง แฟรงก์ ซินาตรา, ไมเคิล แจ็กสันและจอห์นนี แมทิส เขายังทำงานเป็นโปรดิวเซอร์และผู้เรียบเรียงให้กับศิลปินอื่น อย่าง เบตต์ มิดเลอร์, ดิออน วอร์วิก และโรสแมรี คลูนีย์ เขายังเขียนเพลงให้กับภาพยนตร์เพลงและโฆษณาอีกหลายเพลง ตั้งแต่ปี 2005 เขาแสดงในลาสเวกัสฮิลตัน ที่มีการแสดงกว่า 100 โชว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และแบร์รี แมนิโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

แวนเจลิส

อีแวนเจลอส โอดิซซีซ์ พาพาธานาซโซ (Evangelos Odysseas Papathanassiou กรีก: Ευάγγελος Οδυσσέας Παπαθανασίου) (เกิด 29 มีนาคม ค.ศ. 1943 -) นักดนตรีและนักแต่งเพลงชาวกรีก มีผลงานในแนวดนตรีอีเลกโทรนิก นิวเอจ โพรเกรสซีฟร็อก แอมเบียนต์ โดยใช้ชื่อในการแสดงว่า แวนเจลิส (Vangelis กร่อนมาจากชื่อ Evangelos; อ่านว่า /vænˈgɛlɨs/) ผลงานของแวนเจลิสที่มีชื่อเสียง คือดนตรีประกอบภาพยนตร์เรื่อง Chariots of Fire (ชื่อไทย: เกียรติยศแห่งชัยชนะ) ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และแวนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

แสงชัย สุนทรวัฒน์

นายแสงชัย สุนทรวัฒน์ (12 มิถุนายน พ.ศ. 2486 - 11 เมษายน พ.ศ. 2539) อดีตผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (อ.ส.ม.ท.).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และแสงชัย สุนทรวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนโทนีโอ อิโนะกิ

แอนโทนีโอ อิโนะกิ (Antonio Inoki) (ชื่อเกิด คันจิ อิโนะกิ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1943) เป็นนักมวยปล้ำอาชีพที่เกษียณอายุ, นักการเมือง และนักต่อสู้แบบผสมชาวญี่ปุ่น ชื่อบนสังเวียน แอนโทนีโอ อิโนะกิ เป็นการแสดงความเคารพนักมวยปล้ำอันโต Rocca นอกจากนี้เขายังปล้ำภายใต้ชื่อแหวน Moeru Toukon และโตเกียวทอม โนกิเปลี่ยนศาสนาอิสลามในปี 1990 และใช้ชื่อมูฮัมหมัดฮุสเซนโนกิบางสิ่งบางอย่างที่เขาไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนเปิดเผยจนถึงปี 2012 โนกิเริ่มมวยปล้ำอาชีพในปี 1960 ทำงานให้กับสมาคมมวยปล้ำญี่ปุ่นและกลายเป็นผู้ก่อการมวยปล้ำในปี 1972 เมื่อเขาก่อตั้งขึ้นใหม่โปรญี่ปุ่นมวยปล้ำ (NJPW) ที่เขายังคงเป็นเจ้าของ 2005 จนกระทั่งที่เขาขายหุ้นในการควบคุมของเขาในโปรโมชั่นไปยัง วิดีโอเกม บริษัท Yuke ของ หลังจากที่เขาก่อตั้งโนกิจีโนมพันธ์ เขาได้รับการแต่งตั้งให้เข้า WWE ฮอลล์ออฟเฟมในปี 2010 ในฐานะที่เป็นนักมวยปล้ำอาชีพเขาก็กลายเป็นหนึ่งในนักมวยปล้ำที่ยอมรับมากที่สุดของญี่ปุ่นหนุนโดยผสมศิลปะการจับคู่ของเขากับนักมวยมูฮัมหมัดอาลีในปี 1976 โนกิพาดหัวสองรายการในเกาหลีเหนือที่ดึง 150,000 และ 190,000 ผู้ชมตามลำดับการเข้าร่วมประชุมที่สูงที่สุดในมวยปล้ำอาชีพ ในปี 1989 ในขณะที่ยังคงเป็นนักมวยปล้ำโนกิเข้ามาเล่นการเมืองของญี่ปุ่นในขณะที่เขาได้รับเลือกให้ญี่ปุ่นของสภาที่ปรึกษาและเป็นส่วนหนึ่งของระยะแรกของเขากับสภาที่ปรึกษาการเจรจาประสบความสำเร็จกับซัดดัมฮุสเซนสำหรับการเปิดตัวของตัวประกันญี่ปุ่นก่อนที่การระบาดของ สงครามอ่าว วาระการดำรงตำแหน่งครั้งแรกของเขาในสภาที่ปรึกษาสิ้นสุดลงในปี 1995 แต่เขาก็เลือกตั้งในปี 2013 เป็นอดีตแชมป์เฮฟวี่เวท WWF ที่ไม่ถูกนับอย่างเป็นทางการโดย WWE ปี 2010 อิโนะกิยังได้รับการเสนอชื่อเข้าสู่หอเกียรติยศ WWE Hall of Fame.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และแอนโทนีโอ อิโนะกิ · ดูเพิ่มเติม »

แคทเทอรีน แคร์รี เบ็ทติส

้าหญิงแคทเทอรีน มกุฎราชกุมารีแห่งยูโกสลาเวียหรือแคทเทอรีน แคร์รี เบ็ทติส(พระราชสมภพที่กรุงเอเธนส์ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486)เป็นพระวรชายาองค์ปัจจุบัน ในเจ้าฟ้าชายอเล็กซานเดอร์ มกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวีย แคทเทอรีนได้รับการศึกษาในเอเธนส์และโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ศึกษาด้านธุรกิจที่มหาวิทยาลัยเดนเวอร์ รัฐโคโลราโดและมหาวิทยาลัยดาลาส รัฐเทกซัส แคทเทอรีนทำงานด้านธุรกิจไม่กี่ปีในสหรัฐอเมริกา ในวันที่ 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และแคทเทอรีน แคร์รี เบ็ทติส · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โมนีคา ลุนดี

มนีคา ลุนดี (22 สิงหาคม ค.ศ. 1942) เป็นนักแสดงละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และโมนีคา ลุนดี · ดูเพิ่มเติม »

โลโบ (นักร้อง)

ลโบหรือโรแลนด์ เคนท์ ลาวัว (Roland Kent LaVoie) เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียงในยุค70 (1970s) ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก และมีเพลงติดอันดับท็อปเท็นหลายเพลง เช่น "Me and You and a Dog Named Boo," "I'd Love You to Want Me" และ"Don't Expect Me To Be Your Friend.".

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และโลโบ (นักร้อง) · ดูเพิ่มเติม »

โจนี มิตเชลล์

นี มิตเชลล์ (Joni Mitchell), CC เกิดเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1943 เป็นนักดนตรี นักร้อง นักแต่งเพลง และจิตรกรชาวแคนาดา มิตเชลล์เริ่มร้องเพลงในไนต์คลับเล็ก ๆ ในแถบตะวันตกของแคนาดาจากนั้นแสดงดนตรีในที่สาธารณะตามท้องถนนในโตรอนโต กลางทศวรรษ 1960 เธอออกจากเมืองไปนิวยอร์กซิตีที่เต็มไปด้วยเพลงโฟล์ก บันทึกเสียงอัลบั้มแรกในปี 1968 และประสบความสำเร็จครั้งแรกในฐานะนักแต่งเพลง ("Urge for Going", "Chelsea Morning", "Both Sides Now", "Woodstock") และเธอก็ก้าวมาเป็นนักร้อง จากนั้นมาตั้งรกรากทางใต้ของแคลิฟอร์เนีย มิตเชลล์ถือเป็นบุคคลสำคัญของดนตรีแนวโฟล์กร็อก อัลบั้ม Blue ในปี 1971 ถือเป็นผลงานที่แข็งแรงและมีอิทธิพลที่สุดอัลบั้มหนึ่ง มิตเชลล์มีผลงานเพลงป็อปเช่นกัน อย่างเช่นเพลงดัง "Big Yellow Taxi", "Free Man in Paris" และ "Help Me" สองเพลงหลังจากอัลบั้มขายดีที่สุดในปี 1974 ชุด Court and Spark มิตเชลล์มีเสียงแบบโซปราโน กับสไตล์กีตาร์ที่กลมกลืนเด่นชัด และการเรียบเรียงเปียโน ที่ประสานกันอย่างซับซ้อน ผ่านแนวเพลงสไตล์ยุค 70 ที่เธอได้รับอิทธิพลจากเพลงแจ๊สอย่างมาก ผสมผสานกับเพลงป็อป โฟล์กและร็อก อย่างเช่นในผลงานชุดทดลองอย่าง Hejira ในปี 1976 เธอยังร่วมทำงานกับศิลปินแจ๊สอย่าง เวย์น ชอร์เตอร์, เจโค พาสโทเรียส, เฮอร์บีย์ แฮนค็อก และชาร์ลส มินกัส จากทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา มิตเชลล์เริ่มมีผลานบันทึกเสียงและออกทัวร์น้อยลง เนื่องจากเธอหันหลังให้กับเพลงป็อป โดยจะทำผลงานที่ดียิ่งขึ้นโดยใช้เครื่องสังเคราะห์เสียงและมีเนื้อหาทักท้วงการเมืองในเนื้อเพลง ที่มักเอ่ยอ้างถึงสังคมผู้ชายและประเด็นสิ่งแวดล้อม ร่วมกับเนื้อหาความรักและอารมณ์ งานของมิตเชลล์เป็นที่ยอมรับทั้งกับนักวิจารณ์และนักดนตรี นิตยสารโรลลิงสโตน เรียกเธอว่า "หนึ่งในนักเขียนเพลงที่ดีที่สุด" ขณะที่ออลมิวสิก พูดว่า "เมื่อธุลีเกิดขึ้น โจนี มิตเชลล์จะยืนเป็นสิ่งสำคัญและมีอิทธิพลให้กับศิลปินหญิงในปลายศตวรรษที่ 20" ในช่วงสิ้นสุดศตวรรษ มิตเชลล์มีอิทธิพลให้กับศิลปินหลากหลายแนวเพลงตั้งแต่อาร์แอนด์บีไปถึงอัลเทอร์เนทีฟร็อกจนถึงแจ๊ส มิตเชลล์ ยังเป็นจิตรกร เธอสร้างสรรค์ผลงานศิลปินบนปกอัลบั้มของเธอเอง และในปี 2000 เธออธิบายตัวเองไว้ว่า "จิตรกรบังเอิญโดยสภาวะแวดล้อม" เธอหยุดการทำงานเพลงหลายปี โดยมุ่งเน้นไปที่งานจิตรกรรม แต่ปี 2007 เธอออกผลงานอัลบั้มชุด Shine ถือเป็นผลงานอัลบั้มแรกในรอบ 9 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และโจนี มิตเชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

โทนี มิลลิงตัน

แอนโธนี ฮอเรซ "โทนี" มิลลิงตัน (Anthony Horace "Tony" Millington; 5 มิถุนายน พ.ศ. 2486 – 5 สิงหาคม พ.ศ. 2558) เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวเวลส์ที่เคยเล่นในตำแหน่งผู้รักษาประตูให้กับสโมสรฟุตบอลเวสต์บรอมวิชอัลเบียน คริสตัลพาเลซ ปีเตอร์โบโรยูไนเต็ดและสวอนซีซิตี ในช่วงคริสต์ทสวรรษที่ 1960 และ 1970 และลงเล่นให้กับทีมชาติเวลส์ 21 ครั้ง อาชีพนักฟุตบอลของเขาต้องสิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และโทนี มิลลิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

โคทม อารียา

ร.โคทม อารียา รองศาสตราจารย์ โคทม อารียา เกิดเมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2486 เป็นอดีตกรรมการการเลือกตั้ง (กกต. 2540-2544) ฝ่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 ปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล จบการศึกษา DIPLÔME INGÉNIEUR ÉCOLE SUPÉRIEURE D’ÉLECTRICITÉ, FRANCE Dr.Ing.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และโคทม อารียา · ดูเพิ่มเติม »

โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกสุจินดา คราประยูร) อดีตรัฐมนตรีอีกหลายสมัย และอดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฟติง ฮะระดะ

มะซะฮิโกะ ฮะระดะ ฉายา ไฟติง มักถูกเรียกว่า ไฟติง ฮะระดะ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 5 เมษายน พ.ศ. 2486 สถิติการชก 62 ครั้ง ชนะ 55 (น็อค 22) แพ้ 7 เป็นนักมวยที่มีลีลาการชกบุกตะลุยตลอด ไม่มีถอยหลัง และได้รับฉายาจากแฟนมวยชาวไทยว่า "ไอ้กระทิงเผือก".

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และไฟติง ฮะระดะ · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ ใจสิงห์

รจน์ ใจสิงห์ เป็นนักแสดงอาวุโส ที่เข้าสู่วงการตั้งแต่ พ.ศ. 2514 และมีชื่อเสียงเป็นนักแสดงนำ ช่วง พ.ศ. 2514 - พ.ศ. 2516 แล้วจึงหันมารับบทตัวรอง หลากหลาย ทั้งพระเอก ผู้ร้าย บทตัวพ่อ บทตลก จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และไพโรจน์ ใจสิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล แมนน์

มเคิล เคนเนท แมนน์ (Michael Kenneth Mann) เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และไมเคิล แมนน์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์นาเบ้ วิลลาแคมโป

อร์นาเบ้ วิลลาแคมโป (Bernabe Villacampo) นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์ เกิดเมื่อ 6 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเบอร์นาเบ้ วิลลาแคมโป · ดูเพิ่มเติม »

เชียงตุง

ียงตุง (ภาษาไทเขิน: ᨩ᩠ᨿᨦᨲᩩᨦ ไทใหญ่:; ကျိုင်းတုံမြို့; 60px; Keng Tung) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐฉานของประเทศพม่า เป็นเมืองของชาวไทเขิน และชาวไทใหญ่ ถือได้ว่าเป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองเทียบเท่า เมืองเชียงใหม่แห่งล้านนาไทย และเมืองเชียงรุ่งแห่งสิบสองปันนา โดยชาวไทใหญ่เรียกชื่อเมืองนี้ว่า เก็งตุ๋ง (Keng Tung) ในอดีตเชียงตุงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางการค้าเชื่อมต่อระหว่างสิบสองปันนากับล้านนา โดยมีพ่อค้าชาวจีนฮ่อเดินทางไปมาค้าขายในเส้นทางนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเชียงตุง · ดูเพิ่มเติม »

เบน คิงสลีย์

ซอร์ เบน คิงสลีย์, ซีบีอี (Sir Ben Kingsley, CBE) (ภาษาคุชราต:કૃષ્ણા પંડિત ભાનજી) นักแสดงชาวอังกฤษเชื้อสายอินเดีย เจ้าของรางวัลการแสดงทั้งรางวัลออสการ์ รางวัลบาฟตา รางวัลลูกโลกทองคำ และรางวัลของสมาคมนักแสดงอาชีพแห่งอเมริกา มีชื่อเสียงจากการรับบท มหาตมะ คานธี ในภาพยนตร์เรื่อง Ghandhi ในปี 1982 ของริชาร์ด แอทเทนบอโร และบท อิตซัก สเติร์น ในภาพยนตร์ Schindler’s List ปี 1993 ของสตีเวน สปีลเบิร์ก เบน คิงสลีย์ เดิมมีชื่อว่า "กฤษณะ บัณฑิต พานจิ" (Krishna Pandit Bhanji) เกิดในประเทศอังกฤษ บิดาเป็นแพทย์ชาวอังกฤษเชื้อสายอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดู ซึ่งเกิดที่ประเทศเคนยา และเติบโตที่แซนซิบาร์ ประเทศแทนซาเนีย ส่วนมารดาเป็นนางแบบและนักแสดงชาวอังกฤษเชื้อสายยิว-รัสเซีย เขาเปลี่ยนชื่อเป็น เบน คิงสลีย์ ตั้งแต่ประมาณปี 1977 เมื่อเริ่มอาชีพการแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงการเหยียดผิวหากใช้ชื่อในภาษาต่างด้าว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเบน คิงสลีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เพชรา เชาวราษฎร์

รา เชาวราษฎร์ (ชื่อเล่น: อี๊ด; เกิด 19 มกราคม พ.ศ. 2486) ชื่อจริงว่า เอก ชาวราษฎร์ เป็นนักแสดงภาพยนตร์เจ้าของฉายา นางเอกนัยน์ตาหยาดน้ำผึ้ง มีผลงานแสดงประมาณ 300 เรื่อง ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเพชรา เชาวราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพเทอร์ ซุมทอร์

ทอร์ ซุมทอร์ (Peter Zumthor) เกิดเมื่อวันที่ 26 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเพเทอร์ ซุมทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกริกไกร จีระแพทย์

นายเกริกไกร จีระแพทย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเกริกไกร จีระแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

เกอร์เทราด์ เยสเซอร์เออร์

กอร์เทราด์ เยสเซอร์เออร์ (13 ธันวาคม ค.ศ. 1943) เป็นนักแสดงภาพยนตร์ชาวออสเตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเกอร์เทราด์ เยสเซอร์เออร์ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองพวน

มืองพวน (Muang Phuan) หรือเมืองพวนเชียงขวาง เป็นหัวเมืองเก่าแก่ในประเทศลาว เดิมเป็นราชอาณาจักรสำคัญราชอาณาจักรหนึ่งหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งทางตอนเหนือของประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเมืองพวน · ดูเพิ่มเติม »

เรเน่ บาเรียนโตส

รเน่ บาเรียนโตส (Rene Barrientos) หรือ อีเรเนียว บาเรียนโตส นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์ เกิดเมื่อ 25 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเรเน่ บาเรียนโตส · ดูเพิ่มเติม »

เสกสรรค์ ภู่ประดิษฐ์

กสรรค์ ภู่ประดิษฐ์ (4 มิถุนายน พ.ศ. 2486 - 8 มิถุนายน พ.ศ. 2550) พิธีกรรายการ โลกดนตรี ที่จัดฟรีคอนเสิร์ตทุกบ่ายวันสุดสัปดาห์ออกอากาศทางช่อง 5 ต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 25 ปี ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเสกสรรค์ ภู่ประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

เสริมศักดิ์ การุญ

นายเสริมศักดิ์ การุญ (เกิด 23 กันยายน พ.ศ. 2486) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดระยอง 7 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเสริมศักดิ์ การุญ · ดูเพิ่มเติม »

เสถียร จันทิมาธร

นายเสถียร จันทิมาธร สื่อมวลชนอิสระ อดีตบรรณาธิการบริหาร นิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ ผู้ร่วมก่อตั้ง และอดีตบรรณาธิการอำนวยการ หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเสถียร จันทิมาธร · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เฮิร์ซล์ โบดิงเงอร์

อาลัฟ (เกษียณ) เฮิร์ซล์ โบดิงเงอร์ (הרצל בודינגר; Herzl Bodinger; ค.ศ. 1943 –) เป็นนายพลที่เกษียณแล้วในกองกำลังป้องกันประเทศอิสราเอล และอดีตผู้บัญชาการทหารแห่งกองทัพอากาศอิสราเอล ปัจจุบัน โบดิงเงอร์เป็นสมาชิกของคณะกรรมการผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยแอเรียล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเฮิร์ซล์ โบดิงเงอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ เทอร์เรลล์

มส์ เทอร์เรล (James Turrell) (6 พฤษภาคม ค.ศ. 1943 - Pasadena, California) เป็นศิลปินร่วมสมัยชาวอเมริกา งานของเขาจัดอยู่ในประเภทศิลปะจัดวางมีการใช้แสงซึ่งมีอิทธิพลต่องานศิลปะยุคต่อมา ผลงานของเขาเน้นการทุ่มเทในการวิจัยและสำรวจธรรมชาติทุกๆ ด้าน และใช้แสงปลอมที่ทำขึ้นเอง แสงและพื้นที่เป็นกระบวนการที่นำมาใช้ในงาน เขาสะสมประสบการณ์เหล่านี้สะท้อนออกมาถึงภาวะพื้นฐานที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เกิดเป็นความเข้าใจในสุนทรียะในงานศิลปะ ผลงานของเจมส์เป็นที่รู้จักคือ Roden Crater.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจมส์ เทอร์เรลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายบ๋าว ทั้ง

้าชายบ๋าว ทั้ง แห่งเวียดนาม (Bảo Thắng; จื๋อโนม: 保陞) ประสูติเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1943 ที่เมืองด่าหลัต จังหวัดเลิมด่ง ประเทศเวียดนาม พระโอรสองค์สุดท้ายในสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม และสมเด็จพระจักรพรรดินีนาม เฟือง แห่งเวียดนามแห่งราชวงศ์เหงียน ซึ่งเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิ และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งเวียดนามด้วย โดยหลังจากที่มกุฎราชกุมารบ๋าว ล็อง แห่งเวียดนาม ซึ่งเป็นพระเชษฐา (พี่ชาย) ของพระองค์ ได้สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 โดยอ้างสิทธิในพระราชบัลลังก์เวียดนามต่อจากพระเชษฐา พระองค์สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจ้าชายบ๋าว ทั้ง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฟรันซ์ วิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย

้าชายฟรันซ์ วิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย (Prince Franz Wilhelm of PrussiaIn 1919 royalty and nobility were mandated to lose their privileges in Germany; thereafter hereditary titles were to be legally borne only as part of the surname, according to of the Weimar Constitution.) เป็นนักธุรกิจชาวเยอรมันและเป็นสมาชิกของราชวงศ์โฮเอ็นโซลเลิร์น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจ้าชายฟรันซ์ วิลเฮล์มแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอะเมเดโอ ดยุกที่ 5 แห่งโอสตา

้าชายอะเมเดโอ ดยุกที่ 5 แห่งโอสตา (His Royal Highness Prince Amedeo, 5th Duke of Aosta) เป็นพระโอรสเพียงพระองค์เดียวใน เจ้าชายไอโมน ดยุกที่ 4 แห่งโอสตา และ เจ้าหญิงไอรีน ดัชเชสแห่งโอสตา พระมารดาของพระองค์ เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ กับ เจ้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซีย หลังจากพระบิดาของพระองค์สิ้นพระชนม์ พระองค์จึงสืบพระอิสริยยศเป็น ดยุกที่ 5 แห่งโอสตา พระองค์เสกสมรสจำนวน 2 ครั้ง มีพระบุตร 3 พระองค์ ทั้งนี้พระองค์ยังเป็นพระบิดาใน เจ้าชายไอโมน ดยุกแห่งอาพูเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจ้าชายอะเมเดโอ ดยุกที่ 5 แห่งโอสตา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอ็องรี เคานต์แห่งปารีส

้าชายอ็องรีแห่งออร์เลอ็อง เคานต์แห่งปารีส ดยุกแห่งฝรั่งเศส เป็นประมุขของราชวงศ์ออร์เลอ็องในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจ้าชายอ็องรี เคานต์แห่งปารีส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์ครีตแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงมาร์ครีตแห่งเนเธอร์แลนด์ (Princess Margriet of the Netherlands) เป็นพระมาตุจฉาของพระราชโอรสทั้ง 3 ในสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์ คือสมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลิม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์ พระประมุขพระองค์ปัจจุบันแห่งราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เจ้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซา เจ้าชายคอนสตันตินแห่งเนเธอร์แลนด์ โดยเป็นพระราชธิดาพระองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ กับเจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์ มีพระเชษฐภคินี 2 พระองค์คือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ และเจ้าหญิงไอรีนแห่งเนเธอร์แลนด์มีพระขนิษฐา 1 พระองค์คือ เจ้าหญิงคริสตินาแห่งเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจ้าหญิงมาร์ครีตแห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดน

้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดน (Prinsessan Christina, fru Magnuson) เป็นพระขนิษฐภคินีพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน พระองค์เป็นพระราชธิดาของเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟและเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจ้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงคิราแห่งปรัสเซีย

้าหญิงคิราแห่งปรัสเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจ้าหญิงคิราแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจักรคำขจรศักดิ์

ลตรี มหาอำมาตย์โท เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (120px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจ้าจักรคำขจรศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูน

ณ เจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูน ประธานมูลนิธิจักรคำขจรศักดิ์ และที่ปรึกษาสมาคมผู้บำเพ็ญประโยชน์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ (ศูนย์ฝึกภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่) เจ้าดารารัตน์เป็นเจ้านายฝ่ายเหนือที่มีบทบาทสำคัญในกิจกรรมต่าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจ้าดารารัตน์ ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5)

้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) (สกุลเดิม บุนนาค) (5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2397 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2486) เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) กับท่านผู้หญิงอิ่ม สุรวงศ์ไวยวัฒน์ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และทำหน้าที่เป็นผู้เบิกพระโอษฐ์พระราชโอรสและพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 ต่อมา ได้รับการแต่งตั้งเป็น "เจ้าคุณจอมมารดาแพ" และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาเกียรติยศขึ้นเป็นเจ้าคุณชั้นพิเศษให้ออกนามว่า "เจ้าคุณพระประยูรวงศ์" และได้รับเกียรติให้ใช้คำว่า "ถึงแก่พิราลัย" เทียบเจ้าประเทศราชและสมเด็จเจ้าพร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเจ้าคุณพระประยูรวงศ์ (เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 5) · ดูเพิ่มเติม »

เทพศิริ สุขโสภา

ทพศิริ สุขโสภา เทพศิริ สุขโสภา นักเขียน จิตรกรชาวไทย เกิดที่จังหวัดสุโขทัยเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเทพศิริ สุขโสภา · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด ดีน

วิด แบร์รี่ ชาร์ลส์ ดีน เป็นอดีตรองประธานสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลและอดีตรองประธานสมาคมฟุตบอลอังกฤษ นอกจากนั้นยังเคยเป็นประธานของกลุ่มจี-14ในช่วงเดือนตุลาคม ค.ศ. 2006 ถึงพฤษภาคม ค.ศ. 2007อีกด้วย ดีนเกิดเมื่อวันที่ 7 กันยายน ค.ศ. 1943 ในเดือนสิงหาคม ปี 2007 นั้นเขาได้ขายหุ้นของสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลให้กับบริษัทธุรกิจเรดแอนด์ไวท์ที่ตั้งอยู่ในลอนดอนจนกลายเป็นข่าวโด่งดังว่าเขาจะเป็นหนึ่งในผู้ที่เข้ามาเทคโอเวอร์สโมสร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเดวิด ดีน · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด โครเนนเบิร์ก

วิด โครเนนเบิร์ก (อังกฤษ: David Cronenberg) ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวแคนาดา ผู้มีชื่อเสียงอย่างมากในภาพยนตร์แนวไซไฟสยองขวัญและความรุนแรง มีผลงานมากมายสำหรับภาพยนตร์ในแนวนี้ตั้งแต่ปลายทศวรรษที่ 70 จนได้รับฉายาว่า "เจ้าแห่งเลือด" (Baron of Blood) เดวิด โครเนนเบิร์ก มีชื่อเต็มว่า เดวิด พอล โครเนนเบิร์ก (David Paul Cronenberg) เกิดเมื่อวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 1943 ที่โทรอนโต ประเทศแคนาดา โครเนนเบิร์กจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโทรอนโต เริ่มต้นงานภาพยนตร์ครั้งแรกจากการสร้างภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตร, 35 มิลลิเมตร และภาพยนตร์สั้น ในปี ค.ศ. 1975 โครเนนเบิร์กได้สร้างภาพยนตร์ใหญ่เรื่องแรก คือ Shivers ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นภาพยนตร์ที่คืนทุนสร้างได้เร็วที่สุดในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ของแคนาดา จากนั้นโครเนนเบิร์กก็ได้กำกับภาพยนตร์ในอีกหลาย ๆ เรื่องต่อมา ซึ่งล้วนแต่เป็นภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับความตายความสยองขวัญ หรือไซไฟเทคโนโลยีทั้งนั้น ซึ่งสร้างชื่อเสียงให้กับตัวเขาเองอย่างมาก เช่น Scanners ในปี ค.ศ. 1981, Videodrome นำแสดงโดย เจมส์ วู้ดส์ และ The Dead Zone นำแสดงโดย คริสโตเฟอร์ วอลเคน และมาร์ติน ชีน ในปี ค.ศ. 1983, The Fly นำแสดงโดย เจฟฟ์ โกลด์บลุม และจีนา เดวิส ในปี ค.ศ. 1986, Dead Ringers ในปี ค.ศ. 1988, Naked Lunch ในปี ค.ศ. 1991, eXistenZ นำแสดงโดย จูด ลอว์ และเจนนิเฟอร์ เจสัน ลีห์ ในปี ค.ศ. 1999 นอกจากนี้แล้วโครเนนเบิร์กยังเคยสร้างภาพยนตร์ประเภทอื่นที่นอกเหนือจากนี้ด้วย เช่น M. Butterfly ในปี ค.ศ. 1993, Crash นำแสดงโดย เจมส์ สเปเดอร์ และฮอลลี ฮันเตอร์ ในปี ค.ศ. 1996, Spider นำแสดงโดย เรล์ฟ ไฟนส์ ในปี ค.ศ. 2002 เป็นต้น ผลงานในระยะหลังได้แก่ A History of Violence ในปี ค.ศ. 2006 และ Eastern Promises ในปี ค.ศ. 2007 ซึ่งทั้ง 2 เรื่องนี้นำแสดงโดย วิกโก มอร์เทนเซน จากผลงานอันมากมายและขึ้นชื่อ ทำให้โครเนนเบิร์กได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยโทรอนโต เมื่อเดือนมิถุนายน ปี ค.ศ. 2001 และได้รับคัดเลือกให้เป็นกรรมการตัดสินในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเดวิด โครเนนเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด เกฟเฟน

วิด ลอว์เรนซ์ เกฟเฟน (David Lawrence Geffen) เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเดวิด เกฟเฟน · ดูเพิ่มเติม »

เดอนี ซาซู-อึนแกโซ

อนี ซาซู-อึนแกโซ (Denis Sassou Nguesso; เกิด 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1943) เป็นนักการเมืองชาวคองโกและประธานาธิบดีสาธารณรัฐคองโก ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเดอนี ซาซู-อึนแกโซ · ดูเพิ่มเติม »

เคน แพตเทรา

นเนท แพตเทรา (Kenneth Patera) เกิด 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเคน แพตเทรา · ดูเพิ่มเติม »

เตช บุนนาค

ตช บุนนาค กรรมการมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ อดีตเอกอัครราชทูตไทย ประจำประเทศสหรัฐอเมริกา ในสมัยของประธานาธิบดีบิล คลินตัน ดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศนับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 หลังการลาออกของนายนพดล ปัทมะ เนื่องจากขณะนั้นนายเตช เป็นข้าราชการพลเรือนในพระองค์ รับราชการอยู่ที่สำนักราชเลขาธิการ นายสมัคร สุนทรเวชจึงได้ไปขอพระราชทานนายเตชจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้มาดำรงตำแหน่งแทน ในต้นเดือนกันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเตช บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

เซโซ ฟุกุโมะโตะ

ซโซ ฟุกุโมะโตะ เกิดเมื่อวันที่ 3 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเซโซ ฟุกุโมะโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เปอร์เวซ มูชาร์ราฟ

ปอร์เวซ มูชาร์ราฟ (Pervez Musharraf) ประธานาธิบดีคนที่ 12 ของปากีสถาน เกิดเมื่อ 11 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเปอร์เวซ มูชาร์ราฟ · ดูเพิ่มเติม »

เปแตร์ เดล มอนเต

ปแตร์ เดล มอนเต (29 กรกฎาคม ค.ศ. 1943) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทชาวอิตาลี กำกับภาพยนตร์มากถึง 15 เรื่อง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเปแตร์ เดล มอนเต · ดูเพิ่มเติม »

เปโดร อาดิเก จูเนียร์

ปโดร อาดิเก จูเนียร์ (Pedro Adigue Jr.) นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์ เกิดเมื่อ 22 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และเปโดร อาดิเก จูเนียร์ · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤศจิกายน

วันที่ 1 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 305 ของปี (วันที่ 306 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 60 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ1 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ1 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤษภาคม

วันที่ 10 พฤษภาคม เป็นวันที่ 130 ของปี (วันที่ 131 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 235 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ10 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 กรกฎาคม

วันที่ 10 กรกฎาคม เป็นวันที่ 191 ของปี (วันที่ 192 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 174 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ10 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 มกราคม

วันที่ 10 มกราคม เป็นวันที่ 10 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 355 วันในปีนั้น (356 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ10 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ10 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ10 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ11 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 ธันวาคม

วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ11 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 เมษายน

วันที่ 11 เมษายน เป็นวันที่ 101 ของปี (วันที่ 102 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 264 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ11 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

12 กันยายน

วันที่ 12 กันยายน เป็นวันที่ 255 ของปี (วันที่ 256 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 110 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ12 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

12 มิถุนายน

วันที่ 12 มิถุนายน เป็นวันที่ 163 ของปี (วันที่ 164 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 202 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ12 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

12 ตุลาคม

วันที่ 12 ตุลาคม เป็นวันที่ 285 ของ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ12 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 พฤศจิกายน

วันที่ 13 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 317 ของปี (วันที่ 318 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 48 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ13 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

13 มิถุนายน

วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ13 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

13 ธันวาคม

วันที่ 13 ธันวาคม เป็นวันที่ 347 ของปี (วันที่ 348 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 18 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ13 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ13 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 กันยายน

วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ14 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

14 กุมภาพันธ์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 45 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 320 วันในปีนั้น (321 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ14 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

14 สิงหาคม

วันที่ 14 สิงหาคม เป็นวันที่ 226 ของปี (วันที่ 227 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 139 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ14 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ15 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ15 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

15 มีนาคม

วันที่ 15 มีนาคม เป็นวันที่ 74 ของปี (วันที่ 75 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 291 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ15 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ธันวาคม

วันที่ 15 ธันวาคม เป็นวันที่ 349 ของปี (วันที่ 350 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 16 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ15 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 กรกฎาคม

วันที่ 16 กรกฎาคม เป็นวันที่ 197 ของปี (วันที่ 198 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 168 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ16 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ16 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

16 สิงหาคม

วันที่ 16 สิงหาคม เป็นวันที่ 228 ของปี (วันที่ 229 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 137 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ16 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 มกราคม

วันที่ 17 มกราคม เป็นวันที่ 17 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 348 วันในปีนั้น (349 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ17 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

17 มิถุนายน

วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ17 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

17 มีนาคม

วันที่ 17 มีนาคม เป็นวันที่ 76 ของปี (วันที่ 77 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 289 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ17 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 สิงหาคม

วันที่ 17 สิงหาคม เป็นวันที่ 229 ของปี (วันที่ 230 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 136 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ17 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 ตุลาคม

วันที่ 17 ตุลาคม เป็นวันที่ 290 ของปี (วันที่ 291 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 75 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ17 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤศจิกายน

วันที่ 18 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 322 ของปี (วันที่ 323 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 43 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ18 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤษภาคม

วันที่ 18 พฤษภาคม เป็นวันที่ 138 ของปี (วันที่ 139 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 227 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ18 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 กันยายน

วันที่ 18 กันยายน เป็นวันที่ 261 ของปี (วันที่ 262 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 104 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ18 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

18 มีนาคม

วันที่ 18 มีนาคม เป็นวันที่ 77 ของปี (วันที่ 78 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 288 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ18 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 มกราคม

วันที่ 19 มกราคม เป็นวันที่ 19 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 346 วันในปีนั้น (347 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ19 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

19 มีนาคม

วันที่ 19 มีนาคม เป็นวันที่ 78 ของปี (วันที่ 79 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 287 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ19 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ19 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กุมภาพันธ์

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 33 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 332 วันในปีนั้น (333 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ2 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

2 มีนาคม

วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ2 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 กุมภาพันธ์

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 51 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 314 วันในปีนั้น (315 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ20 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

20 มกราคม

วันที่ 20 มกราคม เป็นวันที่ 20 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 345 วันในปีนั้น (346 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ20 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ธันวาคม

วันที่ 20 ธันวาคม เป็นวันที่ 354 ของปี (วันที่ 355 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 11 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ20 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

21 มกราคม

วันที่ 21 มกราคม เป็นวันที่ 21 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 344 วันในปีนั้น (345 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ21 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มิถุนายน

วันที่ 21 มิถุนายน เป็นวันที่ 172 ของปี (วันที่ 173 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 193 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ21 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มิถุนายน

วันที่ 22 มิถุนายน เป็นวันที่ 173 ของปี (วันที่ 174 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 192 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ22 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มีนาคม

วันที่ 22 มีนาคม เป็นวันที่ 81 ของปี (วันที่ 82 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 284 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ22 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ22 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 ธันวาคม

วันที่ 22 ธันวาคม เป็นวันที่ 356 ของปี (วันที่ 357 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 9 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ22 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ22 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤศจิกายน

วันที่ 23 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 327 ของปี (วันที่ 328 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 38 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ23 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

23 กันยายน

วันที่ 23 กันยายน เป็นวันที่ 266 ของปี (วันที่ 267 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 99 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ23 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

23 ธันวาคม

วันที่ 23 ธันวาคม เป็นวันที่ 357 ของปี (วันที่ 358 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 8 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ23 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มกราคม

วันที่ 24 มกราคม เป็นวันที่ 24 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 341 วันในปีนั้น (342 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ24 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มิถุนายน

วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันที่ 175 ของปี (วันที่ 176 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 190 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ24 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

24 ธันวาคม

วันที่ 24 ธันวาคม เป็นวันที่ 358 ของปี (วันที่ 359 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 7 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ24 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 พฤศจิกายน

วันที่ 25 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 329 ของปี (วันที่ 330 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 36 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ25 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

25 กรกฎาคม

วันที่ 25 กรกฎาคม เป็นวันที่ 206 ของปี (วันที่ 207 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 159 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ25 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

25 กุมภาพันธ์

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 56 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 309 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ25 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

25 มกราคม

วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ25 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

25 มีนาคม

วันที่ 25 มีนาคม เป็นวันที่ 84 ของปี (วันที่ 85 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 281 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ25 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 ตุลาคม

วันที่ 25 ตุลาคม เป็นวันที่ 298 ของปี (วันที่ 299 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 67 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ25 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 เมษายน

วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ25 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

26 พฤศจิกายน

วันที่ 26 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 330 ของปี (วันที่ 331 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 35 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ26 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ26 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 เมษายน

วันที่ 26 เมษายน เป็นวันที่ 116 ของปี (วันที่ 117 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 249 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ26 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤศจิกายน

วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ27 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

27 กรกฎาคม

วันที่ 27 กรกฎาคม เป็นวันที่ 208 ของปี (วันที่ 209 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 157 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ27 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 กันยายน

วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ27 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

27 มิถุนายน

วันที่ 27 มิถุนายน เป็นวันที่ 178 ของปี (วันที่ 179 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 187 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ27 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ28 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กันยายน

วันที่ 28 กันยายน เป็นวันที่ 271 ของปี (วันที่ 272 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 94 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ28 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ28 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

28 สิงหาคม

วันที่ 28 สิงหาคม เป็นวันที่ 240 ของปี (วันที่ 241 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 125 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ28 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 ตุลาคม

วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ28 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

29 กรกฎาคม

วันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันที่ 210 ของปี (วันที่ 211 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 155 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ29 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 มีนาคม

วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ29 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 ตุลาคม

วันที่ 29 ตุลาคม เป็นวันที่ 302 ของปี (วันที่ 303 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 63 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ29 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤษภาคม

วันที่ 3 พฤษภาคม เป็นวันที่ 123 ของปี (วันที่ 124 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 242 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ3 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ3 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 กันยายน

วันที่ 3 กันยายน เป็นวันที่ 246 ของปี (วันที่ 247 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 119 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ3 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

3 กุมภาพันธ์

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 34 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 331 วันในปีนั้น (332 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ3 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

3 มกราคม

วันที่ 3 มกราคม เป็นวันที่ 3 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 362 วันในปีนั้น (363 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ3 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

3 สิงหาคม

วันที่ 3 สิงหาคม เป็นวันที่ 215 ของปี (วันที่ 216 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 150 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ3 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 เมษายน

วันที่ 3 เมษายน เป็นวันที่ 93 ของปี (วันที่ 94 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 272 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ3 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

30 กันยายน

วันที่ 30 กันยายน เป็นวันที่ 273 ของปี (วันที่ 274 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 92 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ30 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ30 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ31 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ31 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ31 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 ตุลาคม

วันที่ 31 ตุลาคม เป็นวันที่ 304 ของปี (วันที่ 305 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 61 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ31 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มกราคม

วันที่ 4 มกราคม เป็นวันที่ 4 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 361 วันในปีนั้น (362 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ4 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

4 สิงหาคม

วันที่ 4 สิงหาคม เป็นวันที่ 216 ของปี (วันที่ 217 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 149 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ4 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤศจิกายน

วันที่ 5 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 309 ของปี (วันที่ 310 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 56 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ5 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

5 กุมภาพันธ์

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 36 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 329 วันในปีนั้น (330 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ5 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

5 มิถุนายน

วันที่ 5 มิถุนายน เป็นวันที่ 156 ของปี (วันที่ 157 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 209 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ5 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

5 สิงหาคม

วันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันที่ 217 ของปี (วันที่ 218 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 148 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ5 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤศจิกายน

วันที่ 6 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 310 ของปี (วันที่ 311 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 55 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ6 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤษภาคม

วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ6 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กันยายน

วันที่ 6 กันยายน เป็นวันที่ 249 ของปี (วันที่ 250 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 116 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ6 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ6 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

6 มีนาคม

วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ6 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤศจิกายน

วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ7 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

7 กันยายน

วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ7 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

7 มกราคม

วันที่ 7 มกราคม เป็นวันที่ 7 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 358 วันในปีนั้น (359 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ7 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มิถุนายน

วันที่ 7 มิถุนายน เป็นวันที่ 158 ของปี (วันที่ 159 ในปีอธิกสุรหาจนาทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 207 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ7 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

8 มกราคม

วันที่ 8 มกราคม เป็นวันที่ 8 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 357 วันในปีนั้น (358 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ8 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

8 มิถุนายน

วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ8 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

8 ธันวาคม

วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ8 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กุมภาพันธ์

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 40 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 325 วันในปีนั้น (326 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ9 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

9 มกราคม

วันที่ 9 มกราคม เป็นวันที่ 9 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 356 วันในปีนั้น (357 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ9 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

9 มีนาคม

วันที่ 9 มีนาคม เป็นวันที่ 68 ของปี (วันที่ 69 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 297 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2486และ9 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1943

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »