เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พ.ศ. 2477และหลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง พ.ศ. 2477และหลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต

พ.ศ. 2477 vs. หลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห. หลวงกลั่น ธมฺมโชติ ท่านเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2390 ตรงกับปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาเจษฎาบดินทร์ ฯ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ณ ต.อรัญญิก อ.นครหลวง.พระนครศรีอยุธยา ครอบครัวหนึ่งซึ่งมีฐานะยากจนได้ให้กำเนิดเด็กชายผู้มีบุญมาเกิด นามว่า "กลั่น" ในสมัยเด็ก ท่านต้องช่วยพ่อแม่ทำงานตามลำพัง และเพียงลำพังคนเดียว ทำให้ท่านเป็นคนเข้มแข็งเด็ดเดี่ยว จนกระทั่งเมื่อมีอายุได้ 27 ปี ท่านได้อุปสมบท ณ วัดโลกยสุธาศาลาปูน โดยมี พระญาณไตรโลก (สอาด) ต่อมาเป็นพระธรรมราชานุวัตร (อาจ) เจ้าคณะใหญ่อยุธยา เป็นพระอุปัชฌายะ พระครูกุศลธรรมธาดา วัดขุนยวน (วัดพรหมนิวาส) กับ พระอธิการชื่น วัดพระญาติฯ เป็นคู่สวด ได้ฉายาว่า ธมฺมโชติ แปลว่า เป็นผู้สว่างในทางธรรม หลังจากนั้นท่านได้จำพรรษาอยู่ที่วัดประดู่ทรงธรรม ท่านได้ศึกษาพระธรรมวินัย และ เรียนรู้วิชาอาคม จนแตกฉาน เมื่อฝึกฝนวิชาต่าง ๆ จนเชี่ยวชาญแล้ว จึงได้ออกธุดงค์ไปทั่วป่าเขาลำเนาไพรเผชิญสัตว์ร้ายนานา จากออกธุดงค์ มาถึงวัดพระญาติการามในเวลาค่ำ ท่านพิจารณาว่า วัดนี้เงียบสงบดี เหมาะแก่การบำเพ็ญสมณธรรม สามารถเจริญสมาธิและปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานได้สะดวก ท่านจึงได้ปักกลดพักอยู่ที่บริเวณวัดในคืนนั้น หลวงพ่อกลั่นท่านยังมีวิชาลูกเบา หรือวิชาชาตรี ซึ่งเป็นวิชาอยู่ยงคงกระพันวิชาหนึ่งขอท่าน อำนาจจิตของหลวงพ่อกลั่นนั้นมากมาย เรื่องนี้หลวงพ่ออั้นอุปัฏฐาก หลวงพ่อกลั่นได้เล่าให้ลูกศิษย์ฟังถึงครั้งที่เรียนวิปัสสนากรรมฐานกับหลวงพ่อกลั่นว่า ขณะที่เรียนกรรมฐานนั้นหลวงพ่อกลั่นได้ให้หลวงพ่ออั้นไปนั่งปฏิบัติในโบสถ์ หลวงพ่อท่านมีพระปฏิปทาที่ดี ท่านถึงแก่มรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2477 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง พ.ศ. 2477และหลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต

พ.ศ. 2477และหลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2390พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

พ.ศ. 2390

ทธศักราช 2390 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2390และพ.ศ. 2477 · พ.ศ. 2390และหลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

พ.ศ. 2477และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและหลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

พ.ศ. 2477และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรและหลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2477และหลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต

พ.ศ. 2477 มี 87 ความสัมพันธ์ขณะที่ หลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 3.12% = 3 / (87 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง พ.ศ. 2477และหลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: