โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1698

ดัชนี พ.ศ. 1698

ทธศักราช 1698 ใกล้เคียงกั.

16 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1633พ.ศ. 1682พระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษมหาศักราชราชวงศ์ซ่งจักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จักรพรรดิโคะโนะเอะฉินฮุ่ยประเทศญี่ปุ่นเบ็งเกเฮนรียุวกษัตริย์22 สิงหาคม23 สิงหาคม28 กุมภาพันธ์

พ.ศ. 1633

ทธศักราช 1633 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และพ.ศ. 1633 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1682

ทธศักราช 1682 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และพ.ศ. 1682 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ (Henry II of England หรือ “Curtmantle”) (25 มีนาคม ค.ศ. 1133 – 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1189) เป็นพระเจ้าแผ่นดินราชอาณาจักรอังกฤษองค์แรกในสมัยราชวงศ์แพลนแทเจเนต.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

มหาศักราช

มหาศักราช (ตัวย่อ ม.ศ.; อังกฤษ: Shalivahana era, Saka era) เป็นศักราชที่ใช้ตามปีครองราชย์ของ พระเจ้ากนิษกะ กษัตริย์ที่ปกครองอาณาจักรกุษาณะ หรือ พระเจ้าสลิวาหนะ ศากยะวงศ์องค์หนึ่ง ที่มีอาณาเขตยิ่งใหญ่ปกครองอาณาเขตถึงบริเวณที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ อินเดียส่วนเหนือ อัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน และส่วนตะวันตกของจีน ปีมหาศักราชนั้นในหนังสือไทยจะอ้างถึงปีที่เริ่มครองราชย์คือ พ.ศ. 621 (ค.ศ. 78) ในขณะที่บันทึกต่างประเทศระบุว่าครองราชย์ในปี ค.ศ. 127 (พ.ศ. 670) ด้านสารานุกรมบริเตนนิการะบุว่าไม่ทราบปีครองราชย์ที่แน่นอน คาดว่าอยู่ในช่วง ค.ศ. 78 - 144 เมื่อมหาศักราชแพร่เข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้จารึกต่าง ๆ ในสมัยสุโขทัยและอาณาจักรใกล้เคียงต่างใช้มหาศักราชเป็นส่วนใหญ่ คาดว่าไทยเลิกใช้มหาศักราชในปี พ.ศ. 2112 โดยเปลี่ยนไปใช้จุลศักราชแทน อย่างไรก็ตามมีการใช้มหาศักราชอยู่บ้างหลังจากนั้น ดังปรากฏในจารึกวัดไชยวัฒนาราม (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ปัจจุบันการแปลงมหาศักราช เป็นพุทธศักราช ให้นำ 621 บวกปีมหาศักราชนั้น จะได้ปีพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และมหาศักราช · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ซ่ง

ราชวงศ์ซ่ง ตามสำเนียงกลาง หรือ ซ้อง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นหนึ่งในราชวงศ์ซึ่งปกครองประเทศจีนอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 1503 ถึง ปีพ.ศ. 1822 รัฐบาลซ่งเป็นรัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ เจ้า ควงอิ้น ได้ชื่อว่า พระเจ้าซ่งไท่จู่ ได้พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขึ้นมาใหม่ แต่กลับตัดทอนอำนาจทางการทหาร ของแม่ทัพ เนื่องจากความระแวง กลัวจะยึดอำนาจ ทำให้การทหารอ่อนแอ อย่างไรก็ดี ในราชวงศ์นี้ ศิลปกรรมและวัฒนธรรมรุ่งเรืองมาก การศึกษาของประชาชนดีขึ้น และเปาบุ้นจิ้น ก็ได้มาเกิดในยุคในสมัยของจักรพรรดิซ่งเหรินจง ซึ่งเป็นยุคที่ฮ่องเต้อ่อนแอ อำนาจอยู่ในมือพวกกังฉิน ท่านตัดสินคดีอย่างยุติธรรม และเด็ดขาด ไม่เกรงหน้าอินทร์หน้าพรหมใดๆ จนเป็นที่เลื่องลือมาถึงปัจจุบัน ในสมัยราชวงศ์ซ่ง จีนถูกรุกรานโดยชนเผ่าต่างๆ คือ พวกเซี่ย พวกชิตัน (เมืองเหลียว) จึงมีศึกอยู่ตลอดมา แถมยังต้องยอมเซ็นสัญญาสงบศึกกับ "คนป่าเถื่อน" ต้องส่งบรรณาการให้ ทำให้การเงินไม่คล่องตัว จนมีนักปฏิรูปชื่อ "หวังอั้นจี่" ออกกฎหมายมาควบคุมการใช้เงิน ของบรรดาเชื้อพระวงศ์ แต่สุดท้าย ก็ต้องยกเลิก เพราะไปขัดผลประโยชน์เจ้าใหญ่นายโต ครั้นต่อมา มีชนเผ่าจินหรือกิม (บรรพบุรุษของแมนจู) เข้ามาตี และเนื่องจากมีขุนนางกังฉิน ไปเข้ากับศัตรู (ดังเช่น ฉินไคว่ กังฉินชื่อดัง ซึ่งใส่ความแม่ทัพงักฮุย และสังหารงักฮุยกับลูกชายเสีย ทำให้ชาวจีนเคียดแค้นชิงชังอย่างยิ่ง) บวกกับการทหารที่อ่อนแออยู่แล้ว (ผสมกับฮ่องเต้ที่ไร้สามารถ หูเบา เชื่อฟังกังฉิน) ทำให้พวกจินสามารถบุกจนถึงเมืองไคฟง (เมืองหลวง) จึงต้องย้ายเมืองหลวง ไปอยู่ทางทิศใต้ มีชื่อเรียกว่า ซ่งใต้ ซึ่งพวกจินก็ยังตามล้างผลาญตลอด แต่ต่อมา ในที่สุด พวกจิน, เซี่ยกับชิตันก็ถูกมองโกล ซึ่งนำโดย เจงกิสข่าน (เตมูจิน) เข้าตี แล้วหันมาตีจีนต่อจนถึงปักกิ่ง หลังจากนั้น กุบไลข่าน หลานปู่ของเจงกิสข่าน ได้โจมตีราชวงศ์ซ่งใต้ โดยได้ความร่วมมือจากขุนนาง และทหารของราชวงศ์ซ่งบางคน ที่กลับลำหันมาช่วยเหลือมองโกล โจมตีพวกของตัวเอง จนสิ้นราชวงศ์ในที่สุด แล้วกุบไลข่านจึงตั้งราชวงศ์หยวนขึ้นมาแทน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และราชวงศ์ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หรือจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา หรือ จักรพรรดิฟรีดริชพระมัสสุแดง (Frederick I, Holy Roman Emperor หรือ Frederick I Barbarossa) (ค.ศ. 1122 - 10 มิถุนายน ค.ศ. 1190) ฟรีดริชทรงได้รับเลือกให้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเยอรมนีเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 1152 และทรงเข้าพระราชพิธีราชาภิเษกที่อาเคินเมื่อวันที่ 9 มีนาคม; ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอิตาลีในพิธีราชาภิเษกที่พาเวียใน ค.ศ. 1154 และในที่สุดก็ทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์โดยทรงได้รับการสวมมงกุฎจากสมเด็จพระสันตะปาปาเอเดรียนที่ 4 เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1155 ต่อมาเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 1178 พระองค์ก็ทรงได้รับการสมมงกุฎให้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเบอร์กันดี ก่อนที่จะได้ทรงได้รับเลือกให้เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเยอรมนีฟรีดริชทรงเป็นดยุกแห่งชวาเบีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และจักรพรรดิฟรีดริชที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ

ักรพรรดิชิระกะวะพระอัยกาธิราชของจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ สมเด็จพระจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ เป็นจักรพรรดิญี่ปุ่นพระองค์ที่ 77 ครองราชย์ในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และจักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Kaiser des Heiligen Römischen Reiches; Emperor of the Holy Roman Empire) หรือจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (Holy Roman Emperor) หรือจักรพรรดิโรมัน-เยอรมัน (Römisch-Deutscher Kaiser) เป็นคำที่นักประวัติศาสตร์ใช้หมายถึงประมุขรัฐในสมัยกลางที่พระสันตะปาปาทรงแต่งตั้งให้เป็น "จักรพรรดิแห่งชาวโรมัน" ต่อมาตำแหน่งนี้มาจากการเลือกตั้งแต่ยังคงต้องรับราชาภิเษกจากพระสันตะปาปาอยู่ จนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมาจึงหมายถึงผู้ปกครองจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นมีอาณาเขตครอบคลุมดินแดนยุโรปกลาง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโคะโนะเอะ

ักรพรรดิโคโนะเอะ (Emperor Konoe,, 16 มิถุนายน 1682 - 22 สิงหาคม 1698, ครองราชย์ 1685 - 1698) จักรพรรดิลำดับที่ 76 แห่ง ราชวงศ์ญี่ปุ่น ที่ครองราชย์ตามระบบอินเซ จักรพรรดิโคะโนะเอะครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 1685 - พ.ศ. 1698.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และจักรพรรดิโคะโนะเอะ · ดูเพิ่มเติม »

ฉินฮุ่ย

รูปปั้นของหวังฮูหยินและฉินฮุ่ยในหางโจว ฉินฮุ่ย หรือที่ภาษาจีนแต้จิ๋วออกเป็น ฉินไคว่เป็นอัครมหาเสนาบดีในรัชสมัยจักรพรรดิซ่งเกาจงเป็นผู้ที่โลภมากในทรัพย์และมีความเหี้ยมโหดและเป็นผู้ที่ทำให้แม่ทัพงักฮุยพร้อมบุตรชายต้องถูกประหารชีวิต และเขายังขายแผ่นดินให้กับต่างชาติ โดยความโหดเหี้ยมของเขาทำให้ประชาชนนำแป้งมาปั้นติดกันและนำไปทอดจนเหลืองกรอบแล้วนำมากิน โดยการทำเช่นนี้เปรียบเหมือนกับการระบายความแค้นที่ฉินฮุ่ยกับภรรยาทำความอับอายให้แก่คนจีนโดยให้ชื่อว่า อิ่วจาก้วย คนไทยรู้จักขนมนี้เป็นอย่างดีว่า ปาท่องโก๋คนจีนภายหลังยังคงเคียดแค้นขุนนางชั่วทั้งหลายที่ร่วมกันทำให้แม่ทัพงักฮุยพร้อมบุตรชายต้องถูกประหารชีวิต ภายหลังจึงทำรูปปั้นสองสามีภรรยาและพวกไว้หน้าศาล คุกเข่ารับการสาปแช่ง บ้างก็ถูกถ่มน้ำลายใส่จากชนรุ่นหลังจนถึงทุกวันนี้ หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 1633 หมวดหมู่:ขุนนางจีน หมวดหมู่:ขุนนางสมัยราชวงศ์ซ่ง หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์ซ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และฉินฮุ่ย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

เบ็งเก

วาดการต่อสู้ที่สะพานโกะโจ ระหว่างเบ็งเคย์ กับ มินาโมโตะ โยชิซึเนะ ไซโต มุซะชิโบ เบ็งเก (Saitō Musashibō Benkei,西塔武蔵坊弁慶) หรือที่นิยมเรียกว่า เบ็งเคย์ เป็นพระนักรบที่มีตัวตนอยู่จริงในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นในยุคสงครามเฮจิ เบ็งเคย์เป็นเด็กกำพร้าที่ถูกพ่อแม่นำมาทิ้งไว้ที่วัดในป่า (บางตำนานก็ว่าเกิดจากพ่อซึ่งเป็นคนในวัดข่มขืนแม่ซึ่งเป็นลูกสาวช่างตี เหล็กแถวนั้น) เบ็งเคย์ถูกชุบเลี้ยงมาโดยเหล่าพระในวัด มีลักษณะแตกต่างจากคนอื่นทั่วไป คือรูปร่างใหญ่โตตั้งแต่เด็ก (อายุ 17 ปี สูงถึง 2 เมตร) ถือเป็นเรื่องที่แปลกประหลาดผิดมนุษย์ ประกอบกับท่าทางที่แข็งแรงดุดันและชาติกำเนิดที่น่าเศร้า ชาวบ้านละแวกนั้นจึงหวาดกลัวปนรังเกียจ และมักเรียกเขาว่า “โอนิวากะ” (鬼若) แปลว่า เจ้าลูกยักษ์ เบ็งเคย์จึงบวชเป็นพระนักรบพร้อมกับฝึกวิชาการต่อสู้ไปด้วย และเติบโตขึ้นมาเป็นพระนักรบที่เก่งกาจแข็งแกร่งที่สุดในยุคนั้น เบ็งเคย์ออกจากวัดไปตอนอายุ 17 ปี เนื่องจากถูกพระในวัดที่ตนบวชอยู่ใส่ร้าย หลังจากนั้นเบ็งเคย์ได้กลายเป็นอลัชชี(นักบวชนอกรีต) อยู่ที่ สะพานโกะโจ กรุงเกียวโต คอยดักปล้นฆ่าเหล่าทหารและซามูไรที่ผ่านไปมาและยึดอาวุธของคน เหล่านั้นไว้ เบ็งเคย์รวบรวมดาบไปได้ถึง 999 เล่ม แต่ที่สุดแล้วเขาก็ต้องพ่ายแพ้แก่คู่ต่อสู้คนที่ 1,000 ที่ใช้ความรวดเร็วกว่า คือ มินาโมโตะ โยชิซึเนะ เด็กหนุ่มวัยเพียง 14 ปี ทายาทคนรองของตระกูลเก็นจิ ซึ่งมีความมุ่งมั่นจะรวบรวมญี่ปุ่นเป็นปึกแผ่นให้จงได้ เบ็งเคย์ยอมรับในความพ่ายแพ้และเห็นความตั้งใจจริงของโยชิซึเนะผู้เอาชนะตนได้ แม้จะอายุน้อยกว่า จึงได้ปฏิญาณตัวขอเป็นข้ารับใช้ ต่อ โยชิสึเนะ นับตั้งแต่บัดนั้นตราบจนวันตาย เรื่องราวของเบ็งเคย์เป็นที่เลื่องลือในเรื่องของความซื่อสัตย์ต่อโยชิซึเนะ ทั้งคู่เป็นทั้งสหายร่วมรบและบ่าวผู้ปกป้องนายเหนือหัวอย่างไม่คิดชีวิต บั้นปลายชีวิตของทั้งคู่จบลงที่ หลังจากโยชิสึเนะได้ร่วมรบกับ ฟุจิวาระ โนะ โยริโตโมะ ผู้เป็นพี่ชายต่างมารดา จนกระทั่งโยริโตโมะได้ขึ้นเป็นใหญ่แล้ว โยชิสึเนะกลับถูกโยริโตโมะกล่าวหาว่าเป็นกบฏ และต้องจบชีวิตด้วยการคว้านท้องตัวเองในตำหนักด้วยวัยเพียง 30 ปี โดยขณะที่ โยชิสึเนะกำลังทำพิธีคว้านท้องตนเองนั้น เบ็งเกก็ยืนปักหลั่นเฝ้าอยู่หน้าประตู ไม่ยอมให้นายเหนือหัวถูกลบหลู่เกียรติจนจบชีวิตด้วยน้ำมือทหารของโยริโตโมะ ที่บุกเข้ามา ด้วยการถูกธนูระดมยิงร่างจนเต็มไปหมด แต่กระนั้นเบ็งเคย์ก็ไม่ยอมล้มลง แต่ยืนตายอย่างทะนง ซึ่งการยืนตายของเบ็งเกนั้นถูกกล่าวขานถึงเป็นอย่างมาก ถูกเรียกว่า "เบ็งเคย์ โนะ ทะชิ โอโจ" (弁慶の立往生) แปลว่า การยืนตายแบบเบ็ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และเบ็งเก · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรียุวกษัตริย์

นรี หรือที่เรียกกันว่า ยุวกษัตริย์ (Henry the Young King; 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1155 — 11 มิถุนายน ค.ศ. 1183) เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองในห้าองค์ในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษและเอเลเนอร์แห่งอากีแตน เฮนรีทรงเป็นรองพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรอังกฤษ, ดยุคแห่งนอร์ม็องดี, เคานท์แห่งอองชู และ ไมน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และเฮนรียุวกษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และ22 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กุมภาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1698และ28 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1155

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »