เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ผู้เสพความตายและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ผู้เสพความตายและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน

ผู้เสพความตาย vs. แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน

ลอร์ดโวลเดอมอร์ (กลาง) เบลลาทริกซ์ เลสแตรงจ์ (ซ้าย) ลูเซียส มัลฟอย (ขวา) และผู้เสพความตายสวมหน้ากาก (หลัง) ผู้เสพความตาย (Death Eater) เป็นตัวละครสมมติในชุดนวนิยายและภาพยนตร์ แฮร์รี่ พอตเตอร์ พวกเขาเป็นกลุ่มพ่อมดแม่มด นำโดยลอร์ดโวลเดอมอร์ ที่แสวงการทำให้ชุมชนพ่อมดแม่มดบริสุทธิ์โดยการกำจัดผู้ที่เกิดจากมักเกิล (คือ พ่อมดแม่มดที่เกิดจากพ่อแม่ที่ไม่มีเวทมนตร์) พวกเขายังพยายามสร้างระเบียบใหม่ผ่านกระทรวงเวทมนตร์และทำให้เกิดความกลัวในหมู่ชุมชนพ่อมดแม่มดโดยการข่มขวัญและสังหารข้าราชการคนสำคัญและศัตรูอื่นของผู้เสพความตาย ซึ่งหมายถึง สมาชิกภาคีนกฟีนิกซ์เป็นหลัก ผู้เสพความตายระบุได้จากตรามารบนต้นแขนซ้าย สัญลักษณ์ที่โวลเดอมอร์สร้างขึ้นเพื่อเรียกตัวเขาไปยังผู้เสพความตายทันทีหรือกลับกัน เครื่องแต่งกายปกติของพวกเขารวมเสื้อคลุมมีหมวกคลุมสีดำ และหน้ากาก กลุ่มผู้เสพความตายปรากฏครั้งแรกในนวนิยาย แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี แต่สมาชิกนั้นปรากฏตั้งแต่เล่มก่อน ๆ แล้ว เช่น ลูเซียส มัลฟอย และเซเวอร์รัส สเนป. แฮรี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน เป็นหนังสือเล่มที่สามในหนังสือชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ ซึ่งประพันธ์โดย เจ. เค. โรว์ลิ่ง ได้รับการตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 (1999) โดยสำนักพิมพ์บลูมส์บิวรี่ ฉบับภาษาไทยแปลโดย วลีพร หวังซื่อกุล จัดพิมพ์และจำหน่ายโดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ต่อมาในปีพ.ศ. 2547(2004)ได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์โดยวอร์เนอร์ บราเธอร์สและออกฉายไปทั่วโลก หนังสือเล่มนี้ดำเนินเรื่องต่อจากภาคที่สองคือ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับห้องแห่งความลับ โดยภาคนี้มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกี่ยวกับตัวของแฮรี่ รวมทั้งมีการแทรกเรื่องของความรักไว้เล็กน้อย แล..โรว์ลิ่งยังได้นำตำนานความเชื่อของกรีกโบราณมาใช้ในการเขียนด้ว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ผู้เสพความตายและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน

ผู้เสพความตายและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ภาคีนกฟีนิกซ์ลอร์ดโวลเดอมอร์แฮร์รี่ พอตเตอร์แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนีเจ. เค. โรว์ลิง

ภาคีนกฟีนิกซ์

มาชิกภาคีบางส่วน ภาคีนกฟีนิกซ์ (Order of the Phoenix) เป็นองค์การลับในชุดหนังสือบันเทิงคดีแฮร์รี่ พอตเตอร์ เขียนโดย เจ. เค. โรว์ลิง อัลบัส ดัมเบิลดอร์เป็นผู้ก่อตั้ง เพื่อต่อสู้กับลอร์ดโวลเดอมอร์และสมุนผู้เสพความตาย ภาคีฯ เป็นชื่อของหนังสือเล่มที่ห้าในชุด ชื่อ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ.

ผู้เสพความตายและภาคีนกฟีนิกซ์ · ภาคีนกฟีนิกซ์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน · ดูเพิ่มเติม »

ลอร์ดโวลเดอมอร์

ลอร์ดโวลเดอมอร์ (Lord Voldemort) เป็นตัวละครร้ายในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ ของ เจ. เค. โรว์ลิ่ง ปรากฏตัวครั้งแรกในตอนแฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ มีชื่อเดิมว่า ทอม มาโวโล่ ริดเดิ้ล และเป็นผู้สืบสกุลของซัลลาซาร์ สลิธีริน คนสุดท้าย โวลเดอมอร์เป็นตัวละครที่ได้รับการโหวตให้เป็นตัวละครร้ายอันดับหนึ่งทั้งในวรรณกรรมและในภาพยนตร์ โวลเดอมอร์เป็นบุคคลที่ผู้คนจำนวนมากในโลกเวทมนตร์หวาดกลัว ถึงขนาดที่ว่าคนจำนวนมากไม่กล้าที่จะเอ่ยชื่อของเขาโดยตรง แต่เลี่ยงไปใช้คำเรียกว่า "คนที่คุณก็รู้ว่าใคร" หรือ "คนที่ไม่ควรเอ่ยนาม" แทน บุคคลที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่าไม่หวาดกลัวในการที่จะเอ่ยชื่อโวลเดอมอร์ได้แก่ อัลบัส ดัมเบิลดอร์, รีมัส ลูปิน,ซิเรียส แบล็ก,แฮร์รี่ พอตเตอร์ และ เฮอร์ไมโอนี่ เกรนเจอร์ ส่วนกลุ่มผู้เสพความตาย ที่เป็นสาวกของโวลเดอมอร์ จะไม่เรียกชื่อออกมา แต่มักจะเรียกเวลากล่าวถึงว่า "จอมมาร" และเรียกโวลเดอมอร์ว่า "นายท่าน"ยกเว้นไอกอร์ คาร์คารอฟ ในภาษาฝรั่งเศส "Vol de mort" อาจจะมีความหมายได้ทั้ง "ปีกมรณะ" "การบินของความตาย" "การบินจากความตาย" หรือ "การขโมยความตาย" ในการพิมพ์ครั้งต้น ๆ ของฉบับแปลภาษาไทย ผู้แปลได้ถอดชื่อของออกมาเป็น โวลเดอมอร์ต ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็น โวลเดอมอร์ ตามการออกเสียงของผู้แต่งตามแบบภาษาฝรั่งเศส ทว่าในภาพยนตร์ทุกภาคนักแสดงจะออกเสียงเป็น "โวลเดอมอร์ต" ซึ่งมีตัวสะกดที่พยางค์สุดท้ายอย่างชัดเจน เป็นเหตุให้นิยายเสียงที่ออกมาภายหลังภาพยนตร์ภาคแรกจำต้องปรับเปลี่ยนการออกเสียงเป็น "โวลเดอมอร์ต" ตามภาพยนตร์ไปด้วย ทั้งนี้แฟน ๆ ชาวไทยยังคงนิยมออกเสียง "โวลเดอมอร์" ตามเดิม รวมถึงภาพยนตร์ฉบับพากย์ไทยด้ว.

ผู้เสพความตายและลอร์ดโวลเดอมอร์ · ลอร์ดโวลเดอมอร์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ผู้เสพความตายและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · แฮร์รี่ พอตเตอร์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี

แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี คือหนังสือเล่มที่สี่ในหนังสือชุดแฮร์รี่ พอตเตอร์ โดย เจ.เค. โรว์ลิ่ง และแปลโดยงามพรรณ เวชชาชีวะจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ ตีพิมพ์และวางจำหน่ายเป็นฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 และเป็นฉบับภาษาไทยในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2544 วรรณกรรมชุดนี้ถือว่ายาวมากอย่างไม่น่าจะมีใครทำมาก่อน โดยในฉบับภาษาไทยมีความยาวทั้งหมดถึง 832 หน้า (ฉบับบลูมส์บูรี่มีความยาวทั้งหมด 636 หน้า) หนังสือเล่มนี้สร้างสถิติโดยเป็นหนังสือเล่มแรกที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนมากกว่าชิ้นงานวรรณกรรมเยาวชนอื่นๆ มีเพียงหนังสือเล่มต่อๆ มาในชุดเดียวกันนี้เท่านั้นที่สามารถลบสถิตินี้ได้ นั่นคือแฮร์รี่ พอตเตอร์กับภาคีนกฟีนิกซ์และแฮร์รี่ พอตเตอร์กับเจ้าชายเลือดผสม โดยเฉพาะจากการที.

ผู้เสพความตายและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนี · แฮร์รี่ พอตเตอร์กับถ้วยอัคนีและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน · ดูเพิ่มเติม »

เจ. เค. โรว์ลิง

แอนน์ "โจ" โรว์ลิง (Joanne "Jo" Rowling, OBE FRSL) หรือนามปากก.

ผู้เสพความตายและเจ. เค. โรว์ลิง · เจ. เค. โรว์ลิงและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ผู้เสพความตายและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน

ผู้เสพความตาย มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ แฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 18.52% = 5 / (12 + 15)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้เสพความตายและแฮร์รี่ พอตเตอร์กับนักโทษแห่งอัซคาบัน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: