โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ผีในวัฒนธรรมไทยและล้อต๊อก

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ผีในวัฒนธรรมไทยและล้อต๊อก

ผีในวัฒนธรรมไทย vs. ล้อต๊อก

ลเพียงตา ซึ่งเป็นสิงสถิตย์ของผีที่คุ้มครองดูแลที่ดิน ชาวไทยเชื่อว่า ผีสามารถให้คุณหรือให้โทษได้ หากเซ่นสวรวงหรือบูชาไม่ถูกต้อง เช่น ผีขุนน้ำ คือ เทพอารักษ์ประจำต้นน้ำแต่ละสาย ซึ่งสถิตอยู่บนดอยสูง ผีขุนน้ำมักอยู่ตามต้นไม้ใหญ่ ชาวบ้านจะอัญเชิญมาสถิตที่หอผีที่ปลูกอย่างค่อนข้างถาวรใต้ต้นไม้เหล่านี้ ผีขุนน้ำที่อยู่ต้นแม่น้ำใด ก็มักจะได้ชื่อตามแม่น้ำนั้น เช่น ผีปันน้ำ (เทือกเขาผีปันน้ำ ในภาคเหนือ) หรือผีมด และ ผีเมง คือ ผีบรรพบุรุษตามความเชื่อของชาวล้านนา (คำว่า "มด" หมายถึงระวังรักษา) ส่วนผีเมงนี้เข้าใจกันว่ารับมาจากชนเผ่าเม็งหรือมอญโบราณ, ผีเจ้าที่ หรือพระภูมิเจ้าที่ คือผีที่รักษาประจำอยู่ที่ใดที่หนึ่ง เป็นผู้ดูแลรักษาเขตนั้น ๆ ดังนั้น คนโบราณเมื่อเดินทางและหยุดพักที่ใด มักจะบอกขออนุญาตเจ้าที่ทุกครั้ง นอกเหนือไปจากผีดังกล่าวแล้ว ในแต่ละท้องถิ่นยังมีผีอีกหลายประเภท เช่น ผีกละ หรือ ผีจะกละ เป็นผีที่มักเข้าสิงผู้คนเพื่อเรียกร้องจะกินอาหาร เมื่อเข้าสิงใคร ก็จะแสดงกิริยาผิดปกติไป เมื่อคนสังเกตเห็นก็มักร้องขอกินอาหารและจะกินอย่างตะกละตะกลาม จึงเรียกผีกละตามลักษณะการกิน แต่มักเขียนเป็นผีกะ หรือผีกละยักษ์ เป็นผีที่อยู่รักษาสถานที่ต่างๆ เช่น วัดร้าง, ถ้ำ หรือที่ซึ่งมีสมบัติฝังหรือซ่อนอยู่ ผีกละยักษ์จะคอยพิทักษ์สมบัติเหล่านั้น จนกว่าเจ้าของจะรับทรัพย์สินเหล่านั้นไป ในกรณีผีกละยักษ์ที่อยู่ในวัด เล่ากันว่า มักจะเป็นวิญญาณของพระหรือเจ้าอาวาสที่ผิดวินัย เมื่อตายแล้วไปเกิดไม่ได้ จึงต้องทำหน้าที่พิทักษ์วัดไปจนกว่าจะสิ้นกรรม รูปร่างของผีกละยักษ์ไม่แน่นอน บ้างก็ว่าเป็นหมูตัวใหญ่ที่มีร่างกายเป็นทองแดง บ้างก็ว่าเป็นสุนัขใหญ่สีดำสนิททั้งตัว เป็นต้น ผี มีความผูกพันกับวิถีชีวิตของชาวไทยมาแต่โบราณ ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย จนเกิดเป็นข้อห้าม หรือคะลำ ในภาษาอีสานต่าง ๆ ที่เหมือนกันหรือแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาคไป เช่น ห้ามกินเลือด, ห้ามเลี้ยงนกฮูก, นกเค้าแมว, นกแสก, และค้างคาว, ห้ามเคาะจานข้าว, ห้ามกวาดบ้านตอนกลางคืน หรือห้ามเผาศพในวันศุกร์ เป็นต้น. ใบปิดภาพยนตร์ ตลกร้องไห้ (2522) ใบปิดภาพยนตร์ แดร๊กคูล่าต๊อก (2522) ใบปิดภาพยนตร์ หลวงตา (2523) ล้อต๊อก มีชื่อจริงว่า สวง ทรัพย์สำรวย (สะ-หฺวง) (1 เมษายน พ.ศ. 2457 — 30 เมษายน พ.ศ. 2545) เป็นนักแสดงตลกและศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง พื้นเพเป็นคนบ้านสวน คลองเสาหิน ตำบลท่าพระ อำเภอบางกอกใหญ่ จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรของ นายนุ่ม-นางขม มีอาชีพทำสวนผลไม้ หมากพลู มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน ล้อต๊อกเป็นคนที่ 3 ชื่อ ล้อต๊อก มาจากการแสดงภาพยนตร์ ใกล้เกลือกินเกลือ รับบทเป็น เสี่ยล้อต๊อก คนจนที่ร่ำรวยขึ้นมาแล้วลืมกำพืดตัวเอง เมื่อ พ.ศ. 2495 ต่อด้วยงานกำกับของ ดอกดิน กัญญามาลย์ แนวตลกชุดสามเกลอ (ล้อต๊อก - สมพงษ์ พงษ์มิตร - ดอกดิน) สามเกลอถ่ายหนัง ปีเดียวกัน และ สามเกลอเจอจานผี ปีถัดมา สมรสครั้งแรกกับ สมจิตต์ ทรัพย์สำรวย นางเอกละครคณะจันทรโอภาส และเป็นดาราภาพยนตร์ชื่อดัง เมื่อสมจิตต์เสียชีวิตจึงสมรสใหม่อีกหลายครั้ง หลังสุดแต่งงานกับ ชุลีพร ระมาด มีบุตร 1 คนชื่อ "อุ้มบุญ" หรือมงคลชัย ทรัพย์สำรวย ใช้ชีวิตอยู่บ้านที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ก่อนจะเสียชีวิต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ผีในวัฒนธรรมไทยและล้อต๊อก

ผีในวัฒนธรรมไทยและล้อต๊อก มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): แม่นากพระโขนง

แม่นากพระโขนง

ลแม่นากพระโขนง ในวัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตสวนหลวงมิใช่เขตพระโขนง แม่นากโขนง หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า แม่นาก (โดยมากสะกดด้วย ค.ควาย) เป็นผีตายทั้งกลมที่เป็นที่รู้จักกันดีของไทย เชื่อกันว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นจริงในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันมีศาลแม่นากตั้งอยู่ที่วัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร.

ผีในวัฒนธรรมไทยและแม่นากพระโขนง · ล้อต๊อกและแม่นากพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ผีในวัฒนธรรมไทยและล้อต๊อก

ผีในวัฒนธรรมไทย มี 17 ความสัมพันธ์ขณะที่ ล้อต๊อก มี 42 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.69% = 1 / (17 + 42)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ผีในวัฒนธรรมไทยและล้อต๊อก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »