โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ผีสามบาทและหลอน (ภาพยนตร์)

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ผีสามบาทและหลอน (ภาพยนตร์)

ผีสามบาท vs. หลอน (ภาพยนตร์)

ผีสามบาท (อังกฤษ: Bangkok Haunted) ภาพยนตร์ไทยในปลายปี พ.ศ. 2544 เป็นภาพยนตร์ประเภทผีและสยองขวัญ นำแสดงโดย พิมพ์ศิริ พิมพ์ศรี, เบญจพล เชยอรุณ, ปราโมทย์ แสงศร, พีท ทองเจือ, โกวิทย์ วัฒนกุล, ดาหวัน สิงห์วี, สุเชาว์ พงษ์วิไล, ดวงชีวัน โกมลเสน, กัลยณัฐ สีบุญเรือง บทภาพยนตร์ดัดแปลงจากเรื่องสั้นของ มนัส จรรยงค์ กำกับการแสดงโดย พิสุทธิ์ แพร่แสงเอี่ยม และ ออกไซด์ แปงชุน. หลอน เป็นภาพยนตร์ไทยสยองขวัญเรื่องผี 4 ภาคของประเทศไทย จัดจำหน่ายโดย ซี.เอ็ม ฟิล์ม ออกฉายแล้วเมื่อ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2546.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ผีสามบาทและหลอน (ภาพยนตร์)

ผีสามบาทและหลอน (ภาพยนตร์) มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2546ภาพยนตร์ไทยภาษาไทยสุเชาว์ พงษ์วิไลประเทศไทยนาที

พ.ศ. 2546

ทธศักราช 2546 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2003 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และกำหนดให้เป็น.

ผีสามบาทและพ.ศ. 2546 · พ.ศ. 2546และหลอน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ผีสามบาทและภาพยนตร์ไทย · ภาพยนตร์ไทยและหลอน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไทย

ษาไทย เป็นภาษาราชการของประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไท ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางส่วนเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน และตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ.

ผีสามบาทและภาษาไทย · ภาษาไทยและหลอน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สุเชาว์ พงษ์วิไล

ว์ พงษ์วิไล เป็นนักแสดงชายเจ้าบทบาท เกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2489 ที่จังหวัดลพบุรี สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยวิชาการก่อสร้าง (คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในปัจจุบัน) เริ่มอาชีพนักแสดงด้วยการเป็นนักแสดงละครเวทีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่ออายุได้ 30 กว่าแล้ว โดยการรับบทเป็นพระเอก ต่อมาละครเวทีเรื่องนี้ได้มีโอกาสแพร่ภาพออกโทรทัศน์ทางช่อง 5 จึงมีผู้เห็นแววและชักชวนเข้าสู่การแสดงภาพยนตร์ โดยภาพยนตร์เรื่องแรกที่แสดงคือ กิเลสคน ในปี พ.ศ. 2520 ต่อมาก็คือ สวัสดีคุณครู พ.ศ. 2521 และเทพธิดาบาร.ศ 2521 เป็นเรื่องที่สาม รับบทร้ายครั้งแรกในละครของช่อง 3 เรื่อง ขุนศึก โดยการแนะนำและกำกับโดย สักกะ จารุจินดา รวมทั้งเคยรับตลกเป็นกะเทยด้วยในเรื่อง ขบวนการคนใช้ เมื่อปี พ.ศ. 2529 จากการกำกับของ ชนะ คราประยูร สุเชาว์ พงษ์วิไล มีบทบาทที่เป็นที่รู้จักกันดีในบทของดาวร้ายในละครโทรทัศน์และภาพยนตร์หลายต่อหลายเรื่อง ระยะหลังมีการเปลี่ยนมารับบทพ่อหรือตัวละครอาวุโสขึ้นมาบ้าง ผลงานในระยะหลัง ได้แก่ สุริโยไท (พ.ศ. 2544), ผีสามบาท (พ.ศ. 2544), องค์บาก (พ.ศ. 2546), สุดสาคร (พ.ศ. 2549), A Moment in June ณ ขณะรัก (พ.ศ. 2552) และ 2022 สึนามิ วันโลกสังหาร ในปีเดียวกัน เป็นต้น นอกจากนี้แล้ว ยังร่วมแสดงในมิวสิกวิดีโอของธนพล อินทฤทธิ์ ในเพลง 18 ฝน ด้วยการรับบทเป็นพ่อของ สิทธิพร นิยม ในปี พ.ศ. 2537 และในเพลง รอยกรีดที่ข้อมือ ของภานุพงศ์ จำปาเฟื่อง ในปี พ.ศ. 2547 ซึ่งสร้างมาจากชีวิตจริงของลูกสาวตนเองอีกด้วย และในเพลง อกหัก รุ่นเก๋า ของวรนุช กนกากร ในปี พ.ศ. 2552 ชีวิตส่วนตัว สุเชาว์แต่งงานแล้ว มีบุตรสาว 1 คน ชื่อ ณิฐา พงษ์วิไล.

ผีสามบาทและสุเชาว์ พงษ์วิไล · สุเชาว์ พงษ์วิไลและหลอน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและผีสามบาท · ประเทศไทยและหลอน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

นาที

นาที อักษรย่อ น. (Minute) สมัยก่อนใช้คำว่า นาที เป็นหน่วยวัดเวลา โดยหนึ่งหน่วยเท่ากับ ของชั่วโมง.

นาทีและผีสามบาท · นาทีและหลอน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ผีสามบาทและหลอน (ภาพยนตร์)

ผีสามบาท มี 46 ความสัมพันธ์ขณะที่ หลอน (ภาพยนตร์) มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 9.84% = 6 / (46 + 15)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ผีสามบาทและหลอน (ภาพยนตร์) หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »