โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ป่าดิบชื้นและเต่าเดือย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ป่าดิบชื้นและเต่าเดือย

ป่าดิบชื้น vs. เต่าเดือย

ป่าดิบชื้นที่อุทยานแห่งชาติไทรโยค ป่าดิบชื้น หรือ ป่าฝนเขตร้อน (tropical rain forest) จัดเป็นป่าประเภทไม่ผลัดใบ เป็นป่าที่มีสีเขียวตลอดทั้งปี ต้นไม้จะไม่ผลัดใบในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากปริมาณน้ำฝนค่อนข้างมาก ต้นไม้ไม่มีความจำเป็นต้องผลัดใบเพื่อลดการคายน้ำ ป่าชนิดนี้มักจะเรียกกันว่าป่าดงดิบ เป็นป่าที่อยู่ในเขตมรสุมพัดผ่านเกือบตลอดทั้งปี ขึ้นอยู่ตามที่ราบลุ่ม ที่ราบเชิงเขาที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 0-100 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง (บางครั้งอาจพบอยู่สูงถึงระดับ 250 เมตร) และมีปริมาณน้ำฝนไม่น้อยกว่า 2,000 มม./ปี พบมากทางภาคใต้และแถบจังหวัดชายทะเลภาคตะวันออก เช่น จังหวัดระยอง จันทบุรี และตร. ต่าเดือย หรือ เต่าควะ (Impressed tortoise) เต่าประเภทเต่าบกชนิดหนึ่ง เต่าเดือย นับเป็นเต่าบกที่พบได้ในป่าทวีปเอเชียที่มีกระดองสวยงามมากชนิดหนึ่ง โดยมีแผ่นเกล็ดที่กระดองหลังบางแผ่นที่โปร่งแสง แผ่นเกล็ดสันหลังและแผ่นเกล็ดชายโครงยุบลงมาเล็กน้อย แผ่นเกล็ดเหนือต้นคอมีขนาดใหญ่ ตอนปลายแยกออกเป็น 2 ส่วน โคนขาหน้าหุ้มด้วยเกล็ดที่มีลักษณะแหลมคล้ายหนาม ขาหลังคล้ายเท้าช้าง มีเดือยรูปวงกลมและเดือยคล้ายไก่ 1 เดือย ระหว่างโคนขาหลังและโคนหาง แผ่นเกล็ดใต้คอมีขนาดเล็ก แผ่นเกล็ดท้องมีขนาดใหญ่ มีขนาดใหญ่โตเต็มที่ประมาณ 28 เซนติเมตร ความยาวของกระดองท้อง 27 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 2.5 กิโลกรัมหรือมากกว่า กระดองหลังเป็นสีเหลืองส้ม ขอบกระดองเป็นสีเหลือง มีจุดสีน้ำตาลกระจายอยู่ประปราย ตัวผู้และตัวเมียมีสีที่แตกต่างกัน และมีน้ำหนักที่ต่างกันอีกด้วย เต่าเดือย เป็นเต่าที่อาศัยอยู่ในป่าดิบชื้นทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงจีนตอนใต้ อาจพบได้บนที่สูงถึง 2,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล เป็นเต่าที่กินอาหารจำพวกพืช เช่น หน่อไม้, เห็ดรา เป็นอาหารหลัก โดยมักหากินตามพื้นที่มีความชื้นสูงและมีหญ้าขึ้นรกชัฎ เป็นเต่าที่ใกล้สูญพันธุ์ในธรรมชาติมากแล้วชนิดหนึ่ง ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าสงวนตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแห่งชาติ พุทธศักราช 2535 เต่าเดือย เป็นเต่าอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงสำหรับผู้ที่นิยมเลี้ยงสัตว์เลื้อยคลานหรือสัตว์แปลก ๆ โดยในอดีต มีชื่อเรียกเฉพาะในแวดวงผู้ค้าสัตว์เลี้ยงซึ่งเป็นสัตว์ป่าว่า "เต่าหกพม่า" มีราคาขายเพียงตัวละ 50-100 บาทเท่านั้น ในปี พ.ศ. 2516 โดยจะเป็นเต่าที่ถูกจับมาจากทางพม่า ผ่านทางอำเภอแม่สอด แต่ทว่าก็เป็นเต่าที่เลี้ยงให้รอดยากมากในที่เลี้ยง โดยมากเต่าที่ถูกจับมาขายนั้นมักไม่กินอาหาร หรือเลือกกินเป็นอย่างยิ่ง และในปัจจุบัน ได้มีการค้นพบเต่าเดือยอีกจำพวกหนึ่ง ที่มีขนาดเล็กกว่าเต่าเดือยขนาดปกติ โดยตัวผู้มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 22 เซนติเมตร น้ำหนักไม่ถึง 2 กิโลกรัม ตัวเมียมีขนาดยาวประมาณ 25 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 2.5 กิโลกรัม พบได้ในป่าตั้งแต่ชายแดนของประเทศไทยแถบจังหวัดตราดต่อเนื่องไปตามแนวเทือกเขาในประเทศกัมพูชาภาคตะวันตก และมีรายละเอียดที่แตกต่างจากเต่าเดือยปกติพอสมควร เช่น ตัวผู้และตัวเมียมีสีสันที่คล้ายกันและลำตัวไล่เลี่ยกัน, ตัวผู้มีเกลล็ดสีแดงที่ขาหลัง, มีสีสันที่สดใสน้อยกว่า และสามารถปรับตัวได้ดีในที่เลี้ยง โดยไม่เลือกอาหารที่จะกินมากนัก ซึ่งยังไม่ได้มีการศึกษาทางวิชาการ จึงอาจเป็นไปได้ว่าเป็นเต่าชนิดใหม่ หรือเป็นชนิดย่อยของเต่าเดือ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ป่าดิบชื้นและเต่าเดือย

ป่าดิบชื้นและเต่าเดือย มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จังหวัดตราด

จังหวัดตราด

ตราด เป็นจังหวัดชายฝั่งทะเลทางภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 2,819 ตารางกิโลเมตร ติดต่อกับจังหวัดจันทบุรีและประเทศกัมพูชา ตราดนับเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในช่วงปลายอยุธยา สินค้าที่ส่งออกขายยังแดนไกล โดยเฉพาะของป่า เช่น เขากวาง หนังสัตว์ ไม้หอม และเครื่องเทศต่าง ๆ ล้วนมาจากเขตป่าเขาชายฝั่งทะเลตะวันออก แถบระยอง จันทบุรี ตราด โดยลำเลียงสินค้าผ่านมาตามแม่น้ำเขาสมิง ออกสู่ปากอ่าวตร.

จังหวัดตราดและป่าดิบชื้น · จังหวัดตราดและเต่าเดือย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ป่าดิบชื้นและเต่าเดือย

ป่าดิบชื้น มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ เต่าเดือย มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.33% = 1 / (27 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ป่าดิบชื้นและเต่าเดือย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »