โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปูขน (ปูก้ามขน)และแม่น้ำเทมส์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปูขน (ปูก้ามขน)และแม่น้ำเทมส์

ปูขน (ปูก้ามขน) vs. แม่น้ำเทมส์

ำหรับปูขนอย่างอื่นที่เป็นปูบก ดูที่: ปูไก่ ปูขน หรือ ปูก้ามขน หรือ ปูเซี่ยงไฮ้ (Chinese mitten crab, Shanghai hairy crab; 大閘蟹, 上海毛蟹; พินอิน: dà zhá xiè, shànghǎi máo xiè;; ศัพท์มูลวิทยา: Eriocheir (/โอ-ริ-โอ-เชีย/) เป็นภาษาลาตินแปลว่า "ก้ามมีขน" และคำว่า sinensis (/ไซ-เนน-ซิส/) มีความหมายว่า "อาศัยในประเทศจีน") เป็นครัสเตเชียนจำพวกปูชนิดหนึ่ง ปูขนมีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน พบอาศัยอยู่ตามทะเลสาบในประเทศจีน เจริญเติบโตอยู่ในสภาพอากาศหนาว และน้ำที่เย็นจัด อุณหภูมิของน้ำต่ำกว่า 10 องศาเชลเชียส บริเวณที่พบมากและเป็นที่รู้จักกันดีคือ ทะเลสาบหยางเถิง ในมณฑลเจียงซู นอกจากนี้ยังพบในประเทศไต้หวัน และบางส่วนของคาบสมุทรเกาหลีไปจนถึงทะเลเหลือง ปัจจุบันได้แพร่กระจายไปถึงทวีปยุโรป เช่น ประเทศฟินแลนด์, สวีเดน, เดนมาร์ก, เนเธอร์แลนด์, เบลเยี่ยม, เยอรมนี และบางส่วนของประเทศฝรั่งเศสและอังกฤษ ปูขนมีกระดองรูปทรงสี่เหลี่ยมขนาดกว้าง 7-8 เซนติเมตร สีน้ำตาลปนเหลืองจนถึงน้ำตาลเข้ม มีขนเป็นกระจุกบนขาทุกขาซึ่งถือเป็นลักษณะเด่น ขาเดินคู่แรกเป็นก้ามหนีบ ขาเดินที่เหลืออีก 4 คู่ มีลักษณะเรียวยาว ไม่เป็นใบพาย กระดองส่วนหน้าไม่เรียบ มีตุ่มทู่ ๆ เรียงกัน 2 แถว แถวแรกมี 2 ตุ่ม แถวถัดมามี 3 ตุ่ม ทั้งสองแถวเรียงขนานกับริมขอบเบ้าตาด้านใน ลักษณะเด่นที่สังเกตเห็นได้ชัดคือ ขอบด้านข้างของกระดองมีหนามแหลม 4 อัน ที่ก้ามมีขนสีน้ำตาลเข้มลักษณะเป็นกระจุกคล้ายสาหร่ายหางไก่ ห่อหุ้มหนา โดยเฉพาะบริเวณขอบด้านนอกของก้ามหนีบ อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ซึ่งปูขนนั้นมีลักษณะคล้ายกับปูขนญี่ปุ่น (E. japonica) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกัน แต่พบในประเทศญี่ปุ่นมาก ปูขนปรุงสุกพร้อมรับประทาน มีวงจรชีวิตอาศัยอยู่ในทะเลสาบที่มีน้ำสะอาดและเย็นจัด เมื่อถึงช่วงฤดูร้อนจะอพยพไปผสมพันธุ์และวางไข่ในทะเลหรือดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแยงซี ปูขนที่มีร่างกายสมบูรณ์จะมีขนเป็นประกายสีเหลืองทองอ่อน โดยเฉพาะในช่วงฤดูหนาว คือ ในปลายปีของทุกปี คือ เดือนตุลาคม-ธันวาคม ปูขนจัดเป็นอาหารจีนที่มีชื่อเสียงอย่างมาก และจัดเป็นอาหารที่หายาก มีราคาแพง นับเป็นอาหารระดับฮ่องเต้ เนื่องจากมีจำหน่ายเฉพาะในช่วงฤดูหนาวเท่านั้น เพราะเป็นฤดูผสมพันธุ์ ที่ปูตัวผู้จะมีเนื้อรสชาติหวาน และปูตัวเมียจะมีไข่ เนื่องจากชาวจีนมีความเชื่อว่า ปูขนต้องเป็นปูที่มีความทรหดอดทนมาก เนื่องจากสามารถใช้ชีวิตผ่านฤดูหนาวที่อากาศหนาวเหน็บมาได้ เชื่อว่าหากได้กินเนื้อแล้วจะทำให้แข็งแรงเหมือนปู ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ทำให้ร่างกายอบอุ่น แก้โรคคออักเสบ รักษาอาการทางเดินอาหารไม่ปรกติ รวมทั้งมีผลในการถอนพิษด้วย ทำให้มีราคาซื้อขายที่สูงมาก ทั้งในจีนแผ่นดินใหญ่, ไต้หวัน หรือฮ่องกง สำหรับชาวไทยรู้จักรับประทานปูขนมาไม่ต่ำกว่า 30 ปีแล้ว ถึงขนาดเมื่อถึงฤดูหนาวจะเดินทางไปฮ่องกงเพื่อรับประทานปูขนโดยชนิด หรือซื้อกลับมายังประเทศไทยโดยแช่แข็งไว้ในกระติกน้ำแข็ง แต่ปัจจุบันก็สามารถหารับประทานได้ในประเทศไทย โดยวิธีการปรุงปปูขนนั้นก็กระทำได้โดยง่าย โดยใช้วิธีการนึ่งเพียง 15 นาทีเท่านั้น อาจจะมีการใส่สมุนไพรหรือพืชบางชนิดลงไปเพื่อให้ความหอม และรับประทานพร้อมกับจิ๊กโฉ่ว หรือซอสเปรี้ยวของจีน หรือสุราแบบจีน และต้องรับประทานน้ำขิงเป็นของตบท้าย เพื่อปรับสภาพหยินหยางในร่างกายให้สมดุล ซึ่งต้องปรุงให้สุก เพราะจากการศึกษาพบว่า ปูขนนั้นเป็นพาหะของโรคพยาธิใบไม้ในปอด สำหรับในประเทศไทย ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว ที่โครงการหลวง บนยอดดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม. วิวทิวทัศน์แม่น้ำเทมส์มองจากลอนดอน แผนที่แม่น้ำเทมส์ในอังกฤษ แม่น้ำเทมส์ (River Thames - ออกเสียง: tɛmz) เป็นแม่น้ำใหญ่ที่ไหลในอังกฤษตอนใต้ และเป็นที่รู้จักมากที่สุดเพราะแม่น้ำไหลผ่านใจกลางกรุงลอนดอน นอกจากนี้ แม่น้ำยังไหลผ่านเมืองอื่น ๆ เช่น เมืองอ็อกซ์ฟอร์ด รีดดิง และ วินด์เซอร์ เป็นต้น หุบเขาเทมส์ ส่วนหนึ่งของอังกฤษ อยู่ตรงกลางแม่น้ำระหว่างออกซ์ฟอร์ด และ ลอนดอนตะวันตก ถูกตั้งชื่อตามแม่น้ำแห่งนี้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปูขน (ปูก้ามขน)และแม่น้ำเทมส์

ปูขน (ปูก้ามขน)และแม่น้ำเทมส์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปูขน (ปูก้ามขน)และแม่น้ำเทมส์

ปูขน (ปูก้ามขน) มี 20 ความสัมพันธ์ขณะที่ แม่น้ำเทมส์ มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (20 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปูขน (ปูก้ามขน)และแม่น้ำเทมส์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »