โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปืนกลมือและปืนสั้น

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปืนกลมือและปืนสั้น

ปืนกลมือ vs. ปืนสั้น

ปืนกลมือเฮคเลอร์แอนด์คอช เอ็มพี5ถูกใช้อย่างแพร่หลายโดยผู้คุมกฎหมาย ทีมยุทธการและกองกำลังทางทหาร ปืนกลมือหรือปกม. (Submachine Gun, SMG) เป็นปืนที่ทำงานด้วยระบบอัตโนมัติ มีขนาดกะทัดรัดสามารถประทับยิงคนเดียวได้อย่างรวดเร็ว มีระยะยิงหวังผลไม่ไกลนัก ซึ่งโดยทั่วไปแล้วปืนกลมือจะใช้กระสุนของปืนพกกึ่งอัตโนมัติ เนื่องจากนิยมใช้ในการยิงต่อสู้ระยะประชิดตัว และจะมีซองกระสุนที่สามารถบรรจุกระสุนได้ในปริมาณมากกว่าปืนพก ปืนกลมือรุ่นแรกของโลกนั้นคือ ปืนกลมือเบิร์กมันน์ เอ็มพี18 ของฝ่ายเยอรมัน ออกแบบโดย Hugo Schmeisser เมื่อปี พ.ศ. 2459 และ เปิดสายการผลิตในปี พ.ศ. 2461 โดย ธีโอดอร์ เบิร์กมันน์ (Theodor Bergmann) และ ในปีเดียวกัน ปืนกลมือรุ่นดังกล่าวได้เข้าประจำการในกองทัพบกเยอรมัน ส่วนในประเทศไทยนั้นนิยมเรียกปืนกลมือรุ่นนี้ว่า ปืนกลแบล็คมันน์ ซึ่งใช้ในการประหารชีวิตนักโทษของกรมราชทัณฑ. ปืนสั้น หรือ ปืนพก (handgun) ปืนที่สามารถถือยิงได้ด้วยมือเดียว แต่โดยมากเรียกรวมกันว่าปืนสั้น มีสองชนิดแบ่งตามลักษณะของการเก็บกระสุน ได้แก่ ลูกโม่ (revolver) และแบบที่มีการเก็บกระสุนต่อรวมเข้ากับลำกล้อง (pistol) ซึ่งยังจำแนกต่อไปได้อีก นอกจากนี้แล้ว ปืนสั้นยังหมายรวมถึงปืนสั้นยิงทีละนัด (single-shot pistols) ปืนลูกโม่ ปืนสั้นกึ่งอัตโนมัติ (semi-automatic pistols) และปืนสั้นอัตโนมัติ (machine pistols) สำหรับทางขวามือ เป็นปืนสั้นชนิดที่มีการเก็บกระสุนต่อรวมเข้ากับลำกล้อง โคลท์ M1911 หมวดหมู่:อาวุธปืน หมวดหมู่:ปืนสั้น fa:سلاح کمری.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปืนกลมือและปืนสั้น

ปืนกลมือและปืนสั้น มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปืนกลมือและปืนสั้น

ปืนกลมือ มี 22 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปืนสั้น มี 0 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (22 + 0)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปืนกลมือและปืนสั้น หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »