โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปา-กว้าจ่างและไหล่

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปา-กว้าจ่างและไหล่

ปา-กว้าจ่าง vs. ไหล่

ปา-กว้าจ่าง ฝ่ามือแปดทิศ หรือ ปา-กว้าจ่าง (อักษรจีนตัวเต็ม: 八卦掌, พินอิน: Bāguà Zhǎng, อังกฤษ: Ba Gua Zhang, Pa Kua Chang) ปา-กว้าจ่างแปลตรงตัวได้ความว่าแปดทิศ เป็นหนึ่งในสามศิลปะป้องกันตัวแขนงหลักของบู๊ตึ้ง โดยอีกสองแขนงคือไทเก็กและสิ่งอี้เฉวียน ปา-กว้าจ่างมีชื่อเสียงด้านลักษณะที่เป็นการหลบหลีกและจู่โจมด้วยมือที่แบอยู่ ลักษณะที่โดดเด่นของปา-กว้าจ่างอีกประการคือการเดินเป็นวงกลมการขยับร่างกายเป็นเกลียว การเคลื่อนไหวเป็นเกลียวแบบนี้มีข้อได้เปรียบในการรับมือกับคู่ต่อสู้หลายคน คู่ต่อสู้ติดอาวุธ และใช้ทักษะในการตอบโต้พลกำลัง การฝึกฝนของปา-กว้าจ่างกำหนดให้ผู้ฝึกเดินเป็นวงกลม โดยผู้ฝึกจะต้องสามารถโคจรและหมุนร่างกายของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้นการเรียนรู้ทิศทั้งแปดทิศของปา-กว้าจ่างจะทำให้ผู้ฝึกสามารถจู่โจมและตั้งรับการโจมตีจากทุกทิศทาง ปา-กว้าจ่างใช้แรงจากการหมุนมือที่แบอยู่เทางแนวตั้งอย่างต่อเนื่อง ผู้ฝึกจะขยับร่างกายอยู่เสมอเพื่อที่จะทำให้คู่ต่อสู้เสียสมดุล จุดกำเนิดของปา-กว้าจ่างเป็นที่ทราบว่าต๋ง ไห่ชฺวัน ได้รับการถ่ายทอดวิชามาจากนักพรตบนเขาจิ่วหลงและต่อมาได้สร้างระบบการต่อสู้มาเป็นวิชามวย ทำให้ต๋ง ไห่ชฺวัน ได้ชื่อว่าเป็นผู้ก่อตั้งวิชาปา-กว้าจ่าง สำหรับประเทศไทย ปา-กว้าจ่างหรือฝ่ามือแปดทิศยังเป็นศิลปะป้องกันตัวที่ยังค่อนข้างใหม่มาก เพราะตามปกติแล้วศิลปะการป้องกันตัวของจีนที่มาสู่ไทยนั้นส่วนมากเป็นวิชามวยทางใต้ของประเทศจีน ในขณะที่ปา-กว้าจ่างเป็นวิชามวยทางเหนือ ปัจจุบันสถานที่ฝึกสอนวิชาปา-กว้าจ่างในไทยมีเพียงสองที่คือที่ศูนย์บูรณาการศาสตร์และภูมิปัญญาโบราณ และที่สวนลุมพินีเท่านั้น. แคปซูลของข้อต่อไหล่ขณะกางแขนออก มุมมองทางด้านหน้า ไหล่ หรือ บ่า (shoulder) เป็นส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์ที่อยู่บริเวณข้อต่อไหล่ ซึ่งประกอบด้วยกระดูกต้นแขนประกอบกับกระดูกสะบัก ไหล่ประกอบด้วยกระดูก 3 ชิ้น ได้แก่ กระดูกไหปลาร้า (clavicle), กระดูกสะบัก (scapula) และกระดูกต้นแขน (humerus) ร่วมกับกล้ามเนื้อ เอ็น และเอ็นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้อง ข้อต่อระหว่างกระดูกต่างๆ เหล่านี้ประกอบกันเป็นข้อต่อไหล่ ไหล่เป็นโครงสร้างที่มีความยืดหยุ่นเพื่อให้แขนและมือสามารถการเคลื่อนที่ได้อย่างมาก และยังมีความแข็งแรงมากเพื่อใช้ในการออกแรงยกของ ดัน และดึง จากหน้าที่การทำงานของไหล่ดังกล่าวทำให้ไหล่เป็นบริเวณที่คนมักบาดเจ็บหรือปวดล้าอยู่สม่ำเสมอ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปา-กว้าจ่างและไหล่

ปา-กว้าจ่างและไหล่ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปา-กว้าจ่างและไหล่

ปา-กว้าจ่าง มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไหล่ มี 25 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (6 + 25)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปา-กว้าจ่างและไหล่ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »