ปัญหาการยุติการทำงานและแคลคูลัสแลมบ์ดา
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ปัญหาการยุติการทำงานและแคลคูลัสแลมบ์ดา
ปัญหาการยุติการทำงาน vs. แคลคูลัสแลมบ์ดา
ในทฤษฎีการคำนวณได้นั้น ปัญหาการยุติการทำงาน คือปัญหาการตัดสินใจที่ถามว่า แอลัน ทัวริง (Alan Turing) พิสูจน์ในปี.. แคลคูลัสแลมบ์ดา (หรือ λ-calculus) เป็นระบบรูปนัยในคณิตตรรกศาสตร์ที่ใช้ในการคำนวณ พื้นฐานของระบบประกอบไปด้วยการสร้างฟังก์ชันและการเรียกใช้ฟังก์ชันโดยใช้การโยงของตัวแปรและการแทนที่ตัวแปร นักคณิตศาสตร์อลอนโซ เชิร์ชได้คิดค้นแคลคูลัสแลมบ์ดาขึ้นมาในช่วงปี 1930 เพื่อสำรวจหารากฐานของคณิตศาสตร์ แคลคูลัสแลมบ์ดาเป็นแบบจำลองสากลในการคำนวณเทียบเท่ากับเครื่องจักรทัวริง (ความเท่าเทียมกันของาองระบบทั้งสองรู้จักได้รับการพิสูจน์ในแนวคิดหลักของเชิร์ช–ทัวริงในปี 1937) คำว่า "แลมบ์ดา" ซึ่งเป็นอักขระกรีก (λ) ปรากฏในพจน์แลมบ์ดา (หรืออาจจะเรียกว่านิพจน์แลมบ์ดา) ซึ่งใช้ในการแสดงถึงการโยงตัวแปรในฟังก์ชัน แคลคูลัสแลมบ์ดามีสองรูปแบบ: แบบมีชนิดข้อมูล และ ไม่มีชนิดข้อมูล ในแคลคูลัสแลมบ์ดาที่มีชนิดข้อมูล ฟังก์ชันสามารถเรียกใช้ได้เมื่อชนิดของฟังก์ชันสอดคล้องกับชนิดของข้อมูลนำเข้าของฟังก์ชันเท่านั้น มีการนำแคลคูลัสแลมบ์ดาไปประยุกต์ใช้ในหลากหลายด้านในคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ แคลคูลัสแลมบ์ดายังมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาของทฤษฎีของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมแบบฟังชันเป็นผลมาจากแคลคูลัสแลม.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปัญหาการยุติการทำงานและแคลคูลัสแลมบ์ดา
ปัญหาการยุติการทำงานและแคลคูลัสแลมบ์ดา มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): เครื่องทัวริง
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ปัญหาการยุติการทำงานและแคลคูลัสแลมบ์ดา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปัญหาการยุติการทำงานและแคลคูลัสแลมบ์ดา
การเปรียบเทียบระหว่าง ปัญหาการยุติการทำงานและแคลคูลัสแลมบ์ดา
ปัญหาการยุติการทำงาน มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ แคลคูลัสแลมบ์ดา มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.55% = 1 / (13 + 9)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปัญหาการยุติการทำงานและแคลคูลัสแลมบ์ดา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: