โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปักษีวิทยาและสัทพจน์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปักษีวิทยาและสัทพจน์

ปักษีวิทยา vs. สัทพจน์

ปักษีวิทยา (ornithology) เป็นสาขาวิชาหนึ่งของสัตววิทยา ที่ศึกษาเกี่ยวกับนก คำว่า ornithology มาจากคำในภาษากรีก 2 คำ คือ ornis ("นก") และ logos ("ความรู้") ผู้ที่ศึกษาสาขาวิชานี้จะเรียกว่า "นักปักษีวิทยา" (ornithologist) มนุษย์ให้ความสนใจนกมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ดังจะเห็นได้จากภาพเขียนบนผนังถ้ำในสมัยยุคหิน ในยุคแรก ความรู้เกี่ยวกับนกเริ่มมาจากความพยายามในการล่านกหายาก และการเลี้ยงสัตว์ปีกเพื่อกินไข่และเนื้อ โดยเริ่มที่อียิปต์ ประมาณ 400 ปีก่อนคริสตกาล และที่จีน ประมาณ 246 ปีก่อนคริสตกาล ในสมัยใหม่ ปักษีวิทยาช่วยในการไขปริศนาหลายอย่างเกี่ยวกับวิวัฒนาการ พฤติกรรม และนิเวศวิทยา เพราะมีการศึกษาถึงสปีชีส์ กระบวนการเกิดสปีชีส์ใหม่ การเรียนรู้ การใช้สอยเครื่องมือ ฯลฯ โดยได้จากการศึกษาตัวอย่าง จากในห้องปฏิบัติการ และจากการลงพื้นที่จริง หมวดหมู่:สัตววิทยา หมวดหมู่:ชีววิทยา หมวดหมู่:ปักษีวิทยา. ัทพจน์ หรือ การเลียนเสียงธรรมชาติ คือคำที่เลียนรูปแบบทางสัทศาสตร์ของแหล่งกำเนิดเสียงที่พยายามจะกล่าวถึง สัทพจน์เป็นโวหารภาพพจน์อย่างหนึ่งที่ใช้ตัวอักษรสะกดให้ออกเสียงให้คล้ายกับเสียงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือที่ได้ยินทั่วไปมากที่สุด สัทพจน์ที่สามารถพบได้บ่อยคือการเลียนเสียงสัตว์เช่น เหมียว จิ๊บๆ เป็นต้น สัทพจน์อาจจะไม่เหมือนกันในแต่ละภาษา เนื่องจากระบบทางภาษาศาสตร์เป็นตัวควบคุมลักษณะของสัทพจน์ อาทิ เสียงของนาฬิกา เมื่อเลียนเสียงแล้ว คือติ๊กต๊อกในภาษาไทย, dī dā ในภาษาจีนกลาง หรือ katchin katchin ในภาษาญี่ปุ่น สัทพจน์ในภาษาอังกฤษ ใช้คำว่า onomatopoeia ส่วนคำว่าสัทพจน์หรือสัทพจน์โวหารเองในภาษาไทยยังใช้ไม่แพร่หลายและเข้าใจกันในหมู่ผู้มีการศึกษาหรือนักเรียนรุ่นใหม่เท่านั้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปักษีวิทยาและสัทพจน์

ปักษีวิทยาและสัทพจน์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปักษีวิทยาและสัทพจน์

ปักษีวิทยา มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ สัทพจน์ มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (4 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปักษีวิทยาและสัทพจน์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »