เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ปอดบวมและวัคซีนโรคหัด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปอดบวมและวัคซีนโรคหัด

ปอดบวม vs. วัคซีนโรคหัด

รคปอดบวม (pneumonia) หรือ โรคปอดอักเสบ (pneumonitis) เป็นโรคของระบบหายใจอย่างหนึ่งซึ่งมีการอักเสบของปอด โดยเฉพาะของถุงลม ทำให้มีไข้ มีอาการทางปอด มีการสูญเสียของพื้นที่แลกเปลี่ยนก๊าซ ซึ่งเห็นได้จากการเอกซเรย์ปอด ส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา หรือพยาธิ เชื้อแบคทีเรียชื่อ "นิวโมคอคคัส" (Pneumococcal Disease) เป็นสาเหตุหลัก http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/31524 แต่ก็อาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่นได้รับสารเคมีหรือการกระทบกระเทีอนทางกายภาพได้เช่นกัน ผู้ป่วยโรคปอดบวมจะมีอาการโดยทั่วไปได้แก่ ไอ เจ็บหน้าอก มีไข้สูง และหายใจหอบ การวินิจฉัยจะกระทำโดยการถ่ายภาพเอกซเรย์ปอดและการตรวจเสมหะ ปอดบวมบางชนิดมีวัคซีนป้องกัน ส่วนวิธีการรักษาจะขึ้นกับสาเหตุของโรค เช่น โรคปอดบวมจากเชื้อแบคทีเรียจะรักษาด้วยการให้ยาปฏิชีวนะ ในอดีตปอดบวมเป็นโรคที่ร้ายแรงมากจนเคยมีคำกล่าวว่าปอดบวมเป็น "นายของสาเหตุการตายของมนุษย์" (ศตวรรษที่ 19 วิลเลียม ออสเลอร์) แต่หลังจากที่มีการคิดค้นการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและวัคซีนในศตวรรษที่ 20 ทำให้ผลการรักษาปอดบวมดีขึ้นมาก อย่างไรก็ดีปอดบวมยังเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของผู้ป่วยสูงอายุ ผู้ป่วยอายุน้อย และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมถึงผู้ป่วยในโลกที่สามด้ว. วัคซีนโรคหัด เป็นวัคซีนที่มีประสิทธิภาพมากในการป้องกันโรคหัด การสร้างภูมิคุ้มกันหลังจากได้รับวัคซีนหนึ่งเข็มของเด็กอายุเก้าเดือนคือ 85% และของเด็กอายุมากกว่าสิบสองเดือนคือ 95% คนเกือบทั้งหมดที่ไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้หลังจากได้รับวัคซีนเข็มแรก ก็มักจะสร้างภูมิคุ้มกันได้หลังจากได้รับวัคซีนเข็มที่สอง เมื่อกลุ่มประชากรมีอัตราของผู้ที่ได้รับวัคซีนจำนวนมากกว่า 93% การแพร่ระบาดของโรคหัดก็มักจะไม่เกิดขึ้น อย่างไรก็ตามการแพร่ระบาดของโรคอาจเกิดขึ้นได้อีกเมื่ออัตราการได้รับวัคซีนมีจำนวนลดลง ประสิทธิภาพของวัคซีนนี้จะคงอยู่เป็นเวลานานหลายปี แต่ทั้งนี้ไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนว่าประสิทธิภาพของวัคซีนนี้จะลดลงเมื่อเวลาผ่านไปมากน้อยเพียงใด นอกจากนั้นแล้วเมื่อให้วัคซีนนี้หลังจากการติดเชื้อเพียงไม่กี่วันวัคซีนนี้ก็ยังสามารถหยุดยั้งโรคนี้ได้ด้วย โดยทั่วไปการใช้กับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีนั้นมีความปลอดภัย และผลข้างเคียงของวัคซีนนี้พบเพียงเล็กน้อยและเกิดขึ้นเพียงระยะสั้นๆ ซึ่งอาจได้แก่ความเจ็บปวดที่ตำแหน่งการฉีดวัคซีนหรือมีไข้เล็กน้อย ทั้งนี้มีบันทึกของการเกิดภาวะแอนาฟิแล็กซิสที่ประมาณหนึ่งรายในหนึ่งแสนราย และดูเหมือนว่ากลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร, โรคออทิซึม และโรคลำไส้อักเสบนั้นไม่มีอัตราเพิ่มขึ้นแต่อย่างใด วัคซีนนี้มีทั้งแบบวัคซีนเดี่ยวและแบบผสมร่วมกับวัคซีนตัวอื่น ซึ่งได้แก่ วัคซีนโรคหัดเยอรมัน วัคซีนโรคคางทูม และวัคซีนโรคอีสุกอีใส (วัคซีนเอ็มเอ็มอาร์และวัคซีนเอ็มเอ็มอาร์วี) วัคซีนทุกสูตรเหล่านี้ให้ผลดีเท่าเทียมกัน องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าในพื้นที่ที่พบโรคนี้ได้บ่อยควรมีการให้วัคซีนเมื่อเด็กอายุครบเก้าเดือน ส่วนในพื้นที่แทบไม่พบโรคนี้เลยนั้นก็สามารถอนุโลมการให้วัคซีนเมื่อเด็กอายุครบสิบสองเดือนได้ตามเหตุผล วัคซีนนี้เป็นวัคซีนชนิดตัวเป็น ซึ่งอยู่ในรูปผงแห้งและจำเป็นต้องทำการผสมก่อนการฉีด ทั้งการฉีดเข้าใต้ผิวหนังหรือกล้ามเนื้อ การยืนยันความมีประสิทธิภาพของวัคซีนนั้นสามารถพิสูจน์ได้โดยการทดสอบเลือด นับตั้งแต่เมื่อปี 2556 มีเด็กประมาณ 85% ทั่วโลกได้รับวัคซีนนี้ ในปี 2551 ประเทศจำนวนไม่ต่ำกว่า 192 ประเทศได้เสนอการให้วัคซีนจำนวนสองเข็ม วัคซีนนี้นำมาใช้เป็นครั้งแรกเมื่อปี 2506 การใช้วัคซีนร่วมระหว่างวัคซีนโรคหัด-โรคคางทูม-โรคหัดเยอรมัน (เอ็มเอ็มอาร์) ครั้งแรกนั้นมีขึ้นเมื่อปี 2514 การเพิ่มวัคซีนโรคอีสุกอีใสลงในวัคซีนสามตัวนี้ซึ่งก็ได้กลายเป็นวัคซีนเอ็มเอ็มอาร์วีนั้นมีขึ้นครั้งแรกเมื่อปี 2548 วัคซีนนี้อยู่ในทะเบียนยาที่จำเป็นขององค์การอนามัยโลก โดยเป็นยารักษาโรคที่มีความสำคัญมากที่สุดในระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน วัคซีนนี้มีราคาไม่แพงมาก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปอดบวมและวัคซีนโรคหัด

ปอดบวมและวัคซีนโรคหัด มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): วัคซีนไข้

วัคซีน

็กกำลังรับวัคซีนโปลิโอชนิดหยอด วัคซีน (Vaccine) เป็นชีววัตถุที่เตรียมขึ้นจากเชื้อจุลินทรีย์หรือส่วนของเชื้อจุลินทรีย์ซึ่งจะมีกลไกชักนำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันที่จำเพาะต่อจุลินทรีย์ชนิดนั้น ๆ กล่าวคือมีฤทธิ์ชักนำการสร้างภูมิคุ้มกันอันจำเพาะกับโรค วัคซีนโดยทั่วไปจะประกอบด้วยส่วนประกอบของจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของโรค (แอนติเจน) ซึ่งถูกทำให้อ่อนฤทธิ์ลง, ตาย หรือการใช้ส่วนที่เป็นพิษที่อ่อนฤทธิ์ลง (toxoid) โดยวัคซีนจะกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายและสามารถจดจำได้ว่าเป็นสารก่อโรคซึ่งจะมีกลไกการทำลายต่อไป คุณสมบัติการจดจำแอนติเจนของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำให้ร่างกายสามารถกำจัดแอนติเจนหากเมื่อได้รับอีกในภายหลังได้รวดเร็วยิ่งขึ้น วัคซีนเริ่มมีการพัฒนาในราวคริสต์ทศวรรษที่ 1770 โดยเอดเวิร์ด เจนเนอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ประสบความสำเร็จในการสกัดเชื้อ cowpox เพื่อป้องกันโรคฝีดาษ (small pox) ในมนุษย์ได้ วัคซีนในระยะเริ่มแรกเป็นการนำเชื้อมาทำให้ตายหรือการใช้เชื้อที่อ่อนฤทธิ์เท่านั้น จนกระทั่งปัจจุบันมีการพัฒนาโดยนำเทคโนโลยีรีคอมบีแนนต์มาช่วยในการพัฒนาโดยอาศัยความรู้ทางชีววิทยาระดับโมเลกุล และมีความพยายามพัฒนาวัคซีนโดยการสังเคราะห์แอนติเจนในการผลิตซับยูนิตวัคซีน (subunit vaccine) อีกด้วย คำว่า "วัคซีน" (vaccine) ได้มาจากครั้งที่เอ็ดวาร์ดให้เชื้อ cowpox แก่มนุษย์ โดยคำว่า variolæ vaccinæ มาจากคำว่า vaccīn-us หรือ vacca ซึ่งแปลว่า cow หรือวัวซึ่งมีความสัมพันธ์กับเชื้อ cowpox.

ปอดบวมและวัคซีน · วัคซีนและวัคซีนโรคหัด · ดูเพิ่มเติม »

ไข้

้ หรือ อาการตัวร้อน ปรับปรุงเมื่อ 6..

ปอดบวมและไข้ · วัคซีนโรคหัดและไข้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปอดบวมและวัคซีนโรคหัด

ปอดบวม มี 20 ความสัมพันธ์ขณะที่ วัคซีนโรคหัด มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 6.90% = 2 / (20 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปอดบวมและวัคซีนโรคหัด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: