โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลาแค้ติดหินและฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปลาแค้ติดหินและฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ

ปลาแค้ติดหิน vs. ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ

ปลาแค้ติดหิน หรือ ปลาแค้ห้วย (Hill-stream catfish) เป็นปลาหนังในสกุล Glyptothorax (/กลีพ-โท-ทอ-แร็กซ์/) ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae) จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีรูปร่างโดยรวมคือ มีลำตัวเพรียวยาว ครีบหางเว้าลึก อาจมีสีเหลืองเป็นลายพาดด้านข้างลำตัว พื้นลำตัวสีน้ำตาล มีหนวด 4 คู่ โดยหนวดที่ริมฝีปากเป็นเส้นแบนและแข็ง หนวดที่จมูกสั้น หนวดใต้คางยาว ผิวสาก และมีแผ่นหนังย่นใต้อกซึ่งใช้เกาะพื้นหินได้ ครีบหลังอยู่หน้าครีบท้อง ครีบอกและครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นเงี่ยงแข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย มักพบอาศัยอยู่ในลำธารน้ำตกบนภูเขาที่มีกระแสน้ำไหลเชี่ยว กินอาหารจำพวก แมลงน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ออกหากินในเวลากลางคืน มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 10-15 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ลุ่มน้ำของทะเลดำทางตอนเหนือของตุรกี ไปจนถึงเอเชียไมเนอร์, ตอนใต้ของจีนและลุ่มแม่น้ำแยงซี, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงเกาะชวาในอินโดนีเซีย มีทั้งหมดประมาณ 93 ชนิด มีชื่อเรียกโดยรวมในภาษาไทยว่า "แค้", "แค้ห้วย" หรือ "ปลาติดหิน" ในขณะที่วงการปลาสวยงามจะนิยมเรียกว่า "ฉลามทอง". ร. ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ (ื่อย่อ: H.M. Smith) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2408 / ค.ศ. 1865 -28 กันยายน พ.ศ. 2484 / ค.ศ. 1941) นักชีววิทยา ชาวอเมริกัน อธิบดีสำนักงานประมง (the Bureau of Fisheries) แห่งสหรัฐอเมริกา ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ หรือ ดร.ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ เกิดที่กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2431 (ค.ศ. 1888) ได้จบการศึกษาปริญญาเอกแพทยศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ (Georgetown University) และจบการศึกษาระดับปริญญาเอกนิติศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) เริ่มต้นทำงานที่ สำนักประมง สหรัฐอเมริกา (U. S. Fish Commission) ปี พ.ศ. 2429 (ค.ศ. 1886) ในตำแหน่งผู้ช่วยหัวหน้าศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์ 1897-1903 หัวหน้าห้องปฏิบัติการชีววิทยาทางทะเล (Marine Biological Laboratory ที่ Wood Hole, และโดยเป็นผู้กำกับดูแลงานทางด้านการศึกษาและสำรวจธรรมชาติในทางวิทยาศาสตร์ ในสถาบันการศึกษาชั้นนำของสหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1907) ถึงปี พ.ศ. 2453 (ค.ศ. 1910) ได้เดินทางพร้อมคณะนักสำรวจมาที่ฟิลิปปินส์ ด้วยเรือชื่อ USS Albatross ด้วยเป็นกรรมการสมาคมเนชั่นแนล จีโอกราฟิก เพื่อสำรวจความหลากหลายของธรรมชาติในภูมิภาคแถบนี้.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปลาแค้ติดหินและฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ

ปลาแค้ติดหินและฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สปีชีส์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สปีชีส์

ในวิชาชีววิทยา ชนิด หรือทับศัพท์ว่า สปีชีส์ (species, ย่อ: sp., รูปพหูพจน์ย่อ: spp.) เป็นหน่วยการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและอันดับอนุกรมวิธานหนึ่ง มักนิยามว่า สปีชีส์เป็นกลุ่มอินทรีย์ใหญ่สุดที่สามารถสืบพันธุ์แล้วออกลูกที่สืบพันธุ์ได้ การมีลักษณะปรับตัวเฉพาะบางท้องถิ่นอาจแบ่งสปีชีส์ต่ออีกได้เป็น "ชื่อต่ำกว่าระดับชนิด" (infraspecific taxa) เช่น ชนิดย่อย (ในทางพฤกษศาสตร์ มีใช้คำอื่น เช่น พันธุ์ (variety) พันธุ์ย่อยและแบบ (forma)).

ปลาแค้ติดหินและสปีชีส์ · สปีชีส์และฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ปลาแค้ติดหินและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปลาแค้ติดหินและฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ

ปลาแค้ติดหิน มี 37 ความสัมพันธ์ขณะที่ ฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ มี 31 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.94% = 2 / (37 + 31)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปลาแค้ติดหินและฮิวจ์ แมคคอร์มิค สมิธ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »