โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลาเทวดาสกาแลร์และแม่น้ำเอสเซกวีโบ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปลาเทวดาสกาแลร์และแม่น้ำเอสเซกวีโบ

ปลาเทวดาสกาแลร์ vs. แม่น้ำเอสเซกวีโบ

ปลาเทวดาสกาแลร์ หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาเทวดา (Angelfish, Freshwater angelfish, Lesser angelfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาเทวดาชนิดที่รู้จักกันดีที่สุด เนื่องจากเป็นต้นสายพันธุ์ของปลาเทวดาทั้งหมดที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยปลาเทวดาสกาแลร์มีสีลำตัวเป็นสีเทาอมเขียวและมีประกายสีเงินเคลือบทับทั่วตัว ปลาที่พบในบางแหล่งจะมีจุดสีแดงเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วบริเวณไหล่ บริเวณหลังจะเป็นสีน้ำตาลเขียวมะกอก เมื่อต้องแสงไฟหรือแสงแดดจะเห็นประกายสีน้ำตาลแดงแวววาว มีโครงสร้างลำตัวเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแบนข้างมากโดยส่วนยาวจากปลายปากถึงโคนหางจะยาวกว่าแนวตั้งของลำตัวเล็กน้อย แถวเกล็ดจากขอบเหงือกลากยาวไปจรดครีบหางมีทั้งสิ้น 33-38 เกล็ด ลายบนตัวจะเป็นเส้นคาดแนวตั้งใหญ่จำนวนสี่เส้นเห็นได้ชัดเจน และจะมีเส้นเล็ก ๆ ที่สั้นและจางกว่าคั่นแต่ละเส้นใหญ่นั้นอีกรวม 3 เส้น เส้นทุกเส้นจะเป็นสีดำหรือเทาแก่ เส้นที่ดำและเข้มสุดจะเป็นเส้นคาดเอว (เส้นที่ 5) ที่ลากจากยอดครีบบนลงมาจรดปลายครีบล่าง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 6 นิ้ว พบกระจายพันธุ์อยู่เป็นฝูง ตามแหล่งน้ำของแม่น้ำสายใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้ อาทิ แม่น้ำอเมซอน, แม่น้ำโอริโนโค โดยเฉพาะในแหล่งน้ำที่มีพืชน้ำขึ้นหนาแน่น และสภาพความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ตั้งแต่ 6.0-7.5 ซึ่งน้ำจะมีสภาพความเป็นกรดเล็กน้อย ปลาเทวดาสกาแลร์ นับเป็นปลาเทวดาชนิดที่เป็นที่รู้จักและนิยมเลี้ยงกันอย่างแพร่หลายที่สุด ซึ่งปัจจุบันได้มีการเพาะขยายพันธุ์ไปต่าง ๆ จนมีสีสันและลวดลายผิดแผกไปจากปลาดั้งเดิมในธรรมชาติมากมาย อาท. แม่น้ำเอสเซกวีโบ (Essequibo) เป็นแม่น้ำสายใหญ่ที่สุดของประเทศกายอานา ตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำโอรีโนโกและแม่น้ำแอมะซอน ต้นน้ำเกิดจากเทือกเขาอากาไรย์ (Acarai) ใกล้ชายแดนประเทศบราซิล กายอานา และเวเนซุเอลา ไหลไปทางทิศเหนือ 1,010 กม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปลาเทวดาสกาแลร์และแม่น้ำเอสเซกวีโบ

ปลาเทวดาสกาแลร์และแม่น้ำเอสเซกวีโบ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): แม่น้ำแอมะซอนแม่น้ำโอริโนโก

แม่น้ำแอมะซอน

แม่น้ำแอมะซอน แม่น้ำแอมะซอน (Amazon River; Rio Amazonas; Río Amazonas) เป็นแม่น้ำในทวีปอเมริกาใต้ มีต้นกำเนิดอยู่ที่ประเทศเปรู และไหลออกมหาสมุทรที่ประเทศบราซิล มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 6,992 กิโลเมตร เป็นแม่น้ำสายที่ยาวที่สุดของโลก (รองลงมาคือแม่น้ำไนล์) และยังเป็นแม่น้ำที่มีปากแม่น้ำกว้างที่สุดในโลก ซึ่งอยู่บริเวณทางเหนือของบราซิล แม่น้ำแอมะซอนเป็นแม่น้ำสายที่มีปริมาณน้ำมากที่สุด ปริมาณน้ำที่ไหลออกยังมหาสมุทรแอตแลนติกมากถึง 45 ล้านแกลลอนต่อวินาทีในฤดูฝน ฝนที่ตกในลุ่มแม่น้ำแอมะซอนเฉลี่ยปีละ 3 เมตร (สูงสุด 6 เมตร) แต่ฝนจะตกเพียงไม่กี่เดือน ต่างกันไปตามแต่ละสถานที่ ในช่วงฤดูแล้งราวเดือนตุลาคม น้ำจะลดปริมาณลงจนเห็นสันทรายและเกิดเป็นทะเลสาบต่าง ๆ บางแห่งตัดขาดจากกัน ในฤดูน้ำหลากน้ำจะท่วมป่าทุกปี ในเนื้อที่ประมาณ 90,000 ตารางกิโลเมตร ขนาดเท่าประเทศอังกฤษ และยังถือเป็นแม่น้ำที่มีปริมาณน้ำมากถึง 1 ใน 5 ส่วนของโลก มีแม่น้ำสาขาที่แยกออกจากแอมะซอนมากกว่า 1,100 สาขา อีกทั้งยังถือเป็นแม่น้ำที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุดในโลก เป็นแม่น้ำที่มีความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ปลามากที่สุดในโลก กว่า 3,000 ชนิด ซึ่งนับว่ามากกว่ามหาสมุทรแอตแลนติกเสียอีก.

ปลาเทวดาสกาแลร์และแม่น้ำแอมะซอน · แม่น้ำเอสเซกวีโบและแม่น้ำแอมะซอน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำโอริโนโก

right โอริโนโก (Orinoco) มีต้นกำเนินมากจากที่ราบสูงกายอานา ในทิวเขาปาริมา อยู่บริเวณรอยต่อระหว่างประเทศเวเนซุเอลากับประเทศบราซิล แม่น้ำมีความยาวกว่า 2,150 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่กว่า 900,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 75 ของประเทศเวเนซุเอลา บางช่วงของแม่น้ำโอริโนโกอยู่ในประเทศโคลอมเบีย แม่น้ำไหลลงที่มหาสมุทรแอตแลนติกในประเทศเวเนซุเอลาซึ่งปากแม่น้ำอยู่ใกล้กับประเทศตรินิแดดและโตเบโก.

ปลาเทวดาสกาแลร์และแม่น้ำโอริโนโก · แม่น้ำเอสเซกวีโบและแม่น้ำโอริโนโก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปลาเทวดาสกาแลร์และแม่น้ำเอสเซกวีโบ

ปลาเทวดาสกาแลร์ มี 26 ความสัมพันธ์ขณะที่ แม่น้ำเอสเซกวีโบ มี 7 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 6.06% = 2 / (26 + 7)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปลาเทวดาสกาแลร์และแม่น้ำเอสเซกวีโบ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »