โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและแม่น้ำสาละวิน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและแม่น้ำสาละวิน

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน vs. แม่น้ำสาละวิน

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน คือ ชนิดของปลาที่พบได้ในลุ่มแม่น้ำสาละวิน ซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศไทยและประเทศพม่า แม่น้ำสาละวิน นับเป็นแม่น้ำสายใหญ่ที่มีความยาว 2,800 กิโลเมตร มีจุดกำเนิดที่เทือกเขาหิมาลัยไหลผ่านประเทศจีน, พม่า, ไทย และไหลลงมหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเมาะตะมะ รัฐมอญ มีความหลากหลายของชนิดปลาที่พบได้ในแม่น้ำแห่งนี้ ซึ่งรวมถึงแควสาขาของแม่น้ำด้วย เช่น แม่น้ำปาย, แม่น้ำเมย, แม่น้ำยวม, แม่น้ำกษัตริย์, แม่น้ำสุริยะ และรวมไปถึงแม่น้ำอื่นที่อยู่ใกล้เคียงกัน เช่น แม่น้ำบีคลี, แม่น้ำซองกาเลีย, แม่น้ำรันตี โดยหลายชนิดเป็นปลาในสกุลที่พบได้มากในประเทศอินเดียและอนุทวีปอินเดีย ซึ่งเป็นพื้นที่ใกล้เคียงกัน หลายชนิด หลายสกุลก็เป็นปลาที่พบเฉพาะลุ่มแม่น้ำสาละวินที่เดียวด้ว. แม่น้ำสาละวิน (Salween River; သံလွင်မြစ်; 40px; กะเหรี่ยงสะกอ: โคโหล่โกล) เป็นแม่น้ำสายที่ยาวเป็นอันดับที่ 26 ของโลก ยาว 2,800 กิโลเมตร และเป็นแม่น้ำที่มีความยาวเป็นอันดับสองของภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ รองมาจากแม่น้ำโขง จากไทยพีบีเอส มีต้นกำเนิดจากการละลายของหิมะเหนือเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ที่ซึ่งเรียกแม่น้ำนี้ว่า นู่เจียง (怒江) หมายถึง "แม่น้ำพิโรธ" และผ่านประเทศพม่าผ่านรัฐฉาน รัฐกะยา รัฐกะเหรี่ยง ซึ่งเป็นแม่น้ำกั้นพรมแดน ระหว่างพม่ากับไทยที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และไหลลงมาบรรจบกับแม่น้ำเมย หลังจากนั้นแม่น้ำสาละวินจึงไหลวกกลับเข้าประเทศพม่า และไหลลงสู่มหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเมาะตะมะ รัฐมอญ แม่น้ำสาละวินมีต้นกำเนิดที่เดียวกับแม่น้ำโขง และแม่น้ำแยงซี โดยแบ่งแยกออกจากกันอย่างชัดเจนจากต้นกำเนิด และเนื่องจากเป็นน้ำที่เกิดจากการละลายของหิมะ อุณหภูมิของน้ำในแม่น้ำสาละวินจึงมีความเย็นกว่าน้ำในแม่น้ำอื่น ๆ ในประเทศไทย บางช่วงมีความลึกมากและน้ำไหลแรง นอกจากนี้ ในประเทศ จีน แม่น้ำสาละวิน เป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น "มรดกโลก" ร่วมกับ แม่น้ำโขง และ แม่น้ำแยงซี ในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน โดยพื้นที่ดังกล่าว นับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและแม่น้ำสาละวิน

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและแม่น้ำสาละวิน มี 15 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กิโลเมตรภาษากะเหรี่ยงสะกอมหาสมุทรอินเดียรัฐมอญอำเภอสบเมยอ่าวเมาะตะมะจังหวัดแม่ฮ่องสอนประเทศพม่าประเทศจีนปลากระทิงจุดปลากดหัวเสียมปลาหยะเคปลาแค้ขี้หมูแม่น้ำเมยเทือกเขาหิมาลัย

กิโลเมตร

กิโลเมตร อักษรย่อ กม. (mètre, km) เป็นหน่วยวัดความยาว มีขนาดเท่ากับ 1 × 103 เมตร.

กิโลเมตรและปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน · กิโลเมตรและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากะเหรี่ยงสะกอ

ษากะเหรี่ยงสะกอ(S'gaw Karen) หรือ ภาษากะเหรี่ยงขาว หรือ ภาษาปกาเกอะญอ เป็นภาษาของชาวกะเหรี่ยงสะกอ มีผู้พูดทั้งหมด 1,584,700 คน พบในพม่า 1,284,700 คน (พ.ศ. 2526) ในลุ่มแม่น้ำอิระวดี ในไทยพบ 300,000 คน (พ.ศ. 2530) ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และเชียงราย ใกล้แนวชายแดนพม่า ผู้พูดส่วนใหญ่นับถือความเชื่อดั้งเดิมหรือศาสนาคริสต์จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากะเหรี่ยง สาขาย่อยสะกอ-บไฆ เรียงประโยคแบบประธาน-กริยา-กรรม.

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและภาษากะเหรี่ยงสะกอ · ภาษากะเหรี่ยงสะกอและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรอินเดีย

มหาสมุทรอินเดีย เป็นผืนน้ำที่มีขนาดกว้างใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก กินพื้นที่ประมาณ 20% ของพื้นน้ำบนโลก ทางเหนือติดกับตอนใต้ของทวีปเอเชีย (อนุทวีปอินเดีย) ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรอาหรับและทวีปแอฟริกา ทางตะวันออกติดกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แถบทะเลอันดามัน และประเทศออสเตรเลีย ทางใต้ติดกับมหาสมุทรใต้ แยกจากมหาสมุทรแอตแลนติกที่บริเวณตอนใต้ของทวีปแอฟริกาบนเส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรแปซิฟิกที่เส้นเมริเดียน 147° ตะวันออก ตอนเหนือสุดของมหาสมุทรอินเดียอยู่ในอ่าวเปอร์เซีย ที่บริเวณละติจูด 30° เหนือ มหาสมุทรมีความกว้างมากที่สุดอยู่ระหว่างจุดใต้สุดของแอฟริกาและออสเตรเลีย ด้วยระยะทางเกือบ 10,000 กิโลเมตร มีพื้นน้ำ 70,560,000 ตารางกิโลเมตร รวมทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย แต่ไม่รวมมหาสมุทรใต้หรือ 19.5% ของมหาสมุทรโลก มหาสมุทรอินเดียมีปริมาตรประมาณ 264,000,000 ลูกบาศก์กิโลเมตร หรือ 19.8% ของปริมาณมหาสมุทรโลก มีความลึกเฉลี่ย 3,741 เมตร และมีความลึกสูงสุด 7,906 เมตร.

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและมหาสมุทรอินเดีย · มหาสมุทรอินเดียและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมอญ

รัฐมอญ (မွန်ပြည်နယ်; တွဵုရးဍုၚ်မန်၊ ရးမညဒေသ) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศพม.

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและรัฐมอญ · รัฐมอญและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสบเมย

อำเภอสบเมย (40px) เป็นหนึ่งในอำเภอของจังหวัดแม่ฮ่องสอน.

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและอำเภอสบเมย · อำเภอสบเมยและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวเมาะตะมะ

อ่าวเมาะตะมะ อ่าวเมาะตะมะ (မုတ္တမပင်လယ်ကွေ့; Gulf of Martaban) เป็นพื้นน้ำส่วนหนึ่งของทะเลอันดามันทางตอนใต้ของประเทศพม่า ชื่อของอ่าวเมาะตะมะได้มาจากเมืองเมาะตะมะ แม่น้ำสะโตงและแม่น้ำย่างกุ้งต่างไหลลงสู่อ่าวนี้.

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและอ่าวเมาะตะมะ · อ่าวเมาะตะมะและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ังหวัดแม่ฮ่องสอน (60px; 80px) เป็นจังหวัดในภาคเหนือของประเทศไทย มีความโดดเด่นหลายลักษณะ โดยเฉพาะสภาพภูมิประเทศ ความหลากหลายด้านวัฒนธรรม และความหลากหลายของประชากรจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ นับเป็นจังหวัดที่สถิติน่าสนใจหลายอย่าง เช่น มีประชากรเบาบางที่สุดในประเทศ และมีประชากรน้อยมากเป็นอันดับ 5 ในขณะที่มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 8 ของประเทศ แม่ฮ่องสอนได้ชื่อว่าเป็น เมืองสามหมอก เนื่องจากมีสภาพภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพอากาศมีหมอกปกคลุมตลอดเวลาส่วนใหญ่ของปี นอกจากนี้แม่ฮ่องสอนยังนับเป็นพื้นที่ปลายสุดด้านตะวันตกของประเทศ คือที่เส้นแวง 97.5 องศาตะวันออกในเขตอำเภอแม่สะเรียง (ตะวันออกสุดของประเทศ อยู่ที่อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ที่ 105.5 องศาตะวันออก) แม่ฮ่องสอนได้รบการสถาปนาขึ้นเป็นเมือง เมื่อปี..

จังหวัดแม่ฮ่องสอนและปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน · จังหวัดแม่ฮ่องสอนและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ประเทศพม่าและปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน · ประเทศพม่าและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ประเทศจีนและปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน · ประเทศจีนและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระทิงจุด

ปลากระทิงจุด มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Mastacembelus alboguttatus อยู่ในวงศ์ปลากระทิง (Mastacembelidae) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลากระทิง (M. armatus) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกัน แต่มีสีสันและลวดลายที่แตกต่างออกไป มีจุดเป็นวงกลมสีเหลืองหรือเขียวกระจายอยู่ทั่วตัว ครีบหางแยกออกจากครีบหลังและครีบท้องคล้ายสกุลปลาหลด ช่วงท้องสีจาง มีหนามแหลมขนาดเล็กตลอดทั้งลำตัวช่วงบนไว้ป้องกันตัว มีความยาวประมาณ 40 เซนติเมตร เป็นปลาที่หายาก พบได้น้อย ดังนั้น เมื่อขายในตลาดปลาสวยงาม จะเป็นปลาที่มีราคาสูง โดยจะพบเฉพาะแม่น้ำสาละวินในเขตชายแดนของพม่าที่ติดกับไทยเท่านั้น นอกจากนี้ยังพบในแม่น้ำสะโตงในเขตประเทศพม่าอีกด้วย โดยมีชื่อเรียกในภาษากะเหรี่ยงว่า "ป่าน".

ปลากระทิงจุดและปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน · ปลากระทิงจุดและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากดหัวเสียม

ปลากดหัวเสียม (Shovelhead catfishes; เบงกาลี: আইড়) เป็นชื่อสกุลของปลาหนังน้ำจืดจำพวกหนึ่ง ในวงศ์ปลากด (Bagridae) ใช้ชื่อสกุลว่า Sperata (/สะ-เพอร์-อา-ทา/) มีทั้งหมดด้วยกัน 4 ชนิด (ดูในตาราง) รูปร่างโดยรวม ส่วนหัวและจะงอยปากยื่นยาวมากที่สุดในวงศ์เดียวกันนี้ หัวแบนราบเล็กน้อย ลำตัวทรงกระบอก แต่ด้านหลังยกสูง และเรียวไปทางด้านท้าย ตาเล็กอยู่ด้านบนของหัว ริมฝีปากตัดตรงอยู่ปลายสุดของจะงอยปาก หนวดที่ริมฝีปากยาวมาก ครีบหลังไม่มีก้านครีบแข็ง ครีบไขมันยาวมาก ครีบหางใหญ่เว้าลึก ด้านท้องสีจาง ครีบสีจาง ที่สำคัญคือ ปลาในสกุลนี้ในครีบไขมันจะมีจุดสีดำเห็นเด่นชัด มีขอบขาวที่ตอนปลายท้ายสุด มีการกระจายพันธุ์ในประเทศอินเดีย, อัฟกานิสถานและพม่า มีแหล่งที่พบคือ แม่น้ำสายใหญ่ในประเทศเหล่านี้ ได้แก่ แม่น้ำคงคา, แม่น้ำอิระวดี และพบได้จนถึงแม่น้ำสาละวินซึ่งเป็นพรมแดนของพม่าติดกับไทย โดยมีชื่อเรียกในภาษากะเหรี่ยงว่า "ปลาแก๊ด" มีขนาดลำตัวโดยเฉลี่ย 50 เซนติเมตร ใหญ่ที่สุดพบได้ถึง 180 เซนติเมตร ในชนิด S. aor ขยายพันธุ์ทำรังโดยการขุดพื้นแม่น้ำเป็นแอ่งกว้าง ในความลึกประมาณ 2 เมตร มีความสำคัญต่อมนุษย์ของการใช้เนื้อเพื่อการบริโภค และใช้ตกเป็นเกมกีฬา อีกทั้งยังมีการเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้วย สำหรับในประเทศไทย โดยเฉพาะที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ชนิด S. acicularis ถือเป็นปลาที่นิยมบริโภคกันเป็นอย่างมากในท้องถิ่น เนื่องจากเนื้อมีรสชาติดี โดยในขณะนี้ กรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ลูกปลาชนิดนี้ได้แล้ว.

ปลากดหัวเสียมและปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน · ปลากดหัวเสียมและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหยะเค

ปลาหยะเค เป็นภาษากะเหรี่ยง ที่หมายถึงปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gagata dolichonema อยู่ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและปลาหยะเค · ปลาหยะเคและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแค้ขี้หมู

ปลาแค้ขี้หมู ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Erethistes maesotensis (/เออ-รี-ธีส-ทีส แม่-สอด-เอน-ซิส/) อยู่ในวงศ์ปลาแค้ขี้หมู (Erethistidae) ซึ่งแยกมาจากวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและปลาแค้ขี้หมู · ปลาแค้ขี้หมูและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำเมย

แม่น้ำเมย จากชายฝั่งไทย มองไปยังชายฝั่งพม่า แม่น้ำเมย เป็นแม่น้ำสายย่อยของแม่น้ำสาละวิน มีต้นกำเนิดในอำเภอพบพระ จังหวัดตาก ไหลขึ้นไปทางเหนือผ่านอำเภอแม่สอด อำเภอแม่ระมาด อำเภอท่าสองยาง มาบรรจบกับแม่น้ำสาละวินที่อำเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีความยาว 327 กิโลเมตร เป็นพรมแดนธรรมชาติประหว่างไทยกับพม่าและมีความสำคัญในการลำเลียงสินค้าทางน้ำระหว่างไทยกับพม.

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและแม่น้ำเมย · แม่น้ำสาละวินและแม่น้ำเมย · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาหิมาลัย

วเทียมของเทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาหิมาลัย (Himalaya Range) เป็นเทือกเขาในทวีปเอเชีย ที่แยกอนุทวีปอินเดียทางทิศใต้ ออกจากที่ราบสูงทิเบตทางทิศเหนือ เป็นที่ที่มียอดเขาที่สูงที่สุดในโลก เช่น ยอดเขาเอเวอเรสต์ และยอดเขากันเจนชุงคา (Kanchenjunga) และยังประกอบด้วยยอดเขาที่มีความสูงมากกว่า 7,200 เมตร (23,600 ฟุต) มากกว่าหนึ่งร้อยยอด ในทางศัพทมูลวิทยา คำว่า หิมาลัย มาจากภาษาสันสกฤต หมายถึง "ที่อยู่ของหิมะ" (หิม + อาลย) เป็นจุดกำเนิดของระบบแม่น้ำที่สำคัญของโลกหลายสาย เช่น แอ่งแม่น้ำสินธุ และแอ่งแม่น้ำคงคา-พรหมบุตร แม่น้ำสาละวิน และแม่น้ำโขง เทือกเขาหิมาลัยทอดยาวพาดผ่านพื้นที่ของ 5 ประเทศ — ปากีสถาน อินเดีย จีน ภูฏาน เนปาล — พื้นที่ลุ่มน้ำของแม่น้ำหิมาลัยเป็นที่อยู่ของผู้คนราว 750 ล้านคน ซึ่งรวมถึงชาวบังคลาเทศ เทือกเขาหิมาลัยหมายรวมถึงเทือกเขาการาโกรัม ฮินดูกูช และเทือกเขาอื่น ๆ ที่เล็กกว่า เมื่อรวมกันแล้วเทือกเขาหิมาลัยเป็นระบบที่สูงที่สุดในโลก และเป็นบ้านของยอดเขาที่สูงที่สุด ซึ่งรวมถึงยอดเขาเอเวอเรสต์และเคทู.

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและเทือกเขาหิมาลัย · เทือกเขาหิมาลัยและแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและแม่น้ำสาละวิน

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน มี 137 ความสัมพันธ์ขณะที่ แม่น้ำสาละวิน มี 33 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 15, ดัชนี Jaccard คือ 8.82% = 15 / (137 + 33)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินและแม่น้ำสาละวิน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »