โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลาจีดอินเดียและปลาน้ำจืด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปลาจีดอินเดียและปลาน้ำจืด

ปลาจีดอินเดีย vs. ปลาน้ำจืด

ปลาจีดอินเดีย หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า ปลาจีด (Stinger catfish, Airsac catfish) ปลาน้ำจืดในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) ชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Heteropneustes fossilis ในวงศ์ Heteropneustidae จัดเป็นหนึ่งในชนิดที่อยู่ในสกุล Heteropneustes ซึ่งมีพบขณะนี้เพียง 2 ชนิดเท่านั้น (อีกชนิดหนึ่งนั้นคือ H. kemratensis) มีรูปร่างทั่วไปคล้ายปลาจีดชนิด H. kemratensis เพียงแต่ปลาจีดชนิดนี้ จะมีแถบสีขาวจางบนข้างลำตัวข้างละ 1-2 แถบตามความยาวลำตัว ซึ่งดูแล้วจะมีสีคล้ำกว่า ซึ่งทั้ง 2 ชนิดนี้มีขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 1 ฟุต และมีน้ำหนักประมาณ 60-120 กรัม นอกจากนี้แล้วยังสามารถพบได้กว้างขวางกว่า กล่าวคือ พบได้แต่ตั้งแต่อินเดีย, พม่า, ศรีลังกา จนถึงกลุ่มประเทศอินโดจีน รวมถึงในลุ่มน้ำเจ้าพระยา, ลุ่มน้ำน่าน และลุ่มน้ำโขง ในประเทศไทย ปลาจีด นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาเศรษฐกิจในภาคใต้ของไทย โดยมีชื่อเรียกในภาษาใต้ว่า "ปลาเมง" และยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามอีกด้ว. วงศ์นี้ล้วนแต่เป็นปลาน้ำจืดทั้งหมด ปลาน้ำจืด (Freshwater fish) หมายถึง ปลาที่อาศัยอยู่ได้ในเฉพาะแหล่งน้ำที่เป็นน้ำจืด คือ น้ำที่มีปริมาณเกลือหรือความเค็มละลายน้อยกว่าร้อยละ 00.5 เท่านั้น โดยอาศัยอยู่ในแม่น้ำ, คลอง พื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ที่เป็นน้ำจืด เช่น ทะเลสาบน้ำจืด, บึง หนอง หรือลำธารน้ำตกบนภูเขาหรือในป่าดิบ โดยโครงสร้างของปลาน้ำจืดนั้น จะมีแรงดันออสโมซิสในเลือดอยู่ในระดับสูงกว่าน้ำที่อาศัยอยู่มาก จึงทำให้มีการไหลของน้ำเข้าสู่ร่างกายและเกลือแร่แพร่ออกสู่น้ำภายนอกได้ง่าย โดยไม่ให้น้ำซึมผ่านเข้าสู่ร่างกายและออกจากร่างกายได้ แต่ทว่ากระบวนการดังกล่าวก็ยังไม่ดีพอ เพราะเหงือกซึ่งเป็นอวัยวะสำคัญที่ปลาใช้หายใจมีน้ำไหลผ่าน เมื่อมีเหงือก น้ำก็มีโอกาสไหลผ่านเข้าสู่ภายในร่างกายได้ จึงกำจัดน้ำส่วนที่เกินที่ถูกดูดเข้าสู่ร่างกายออกสู่นอกร่างกายได้วิธีการขับถ่ายนำเอาปัสสาวะซึ่งมีความดันออสโมซิสต่ำกว่าเลือดออกสู่ภายนอกร่างกาย ร่างกายส่วนใหญ่ของปลาน้ำจืดจะปกคลุมด้วยผิวหนังและเกล็ดซึ่งไม่ยอมให้น้ำซึมผ่านนอกจากบริเวณที่เป็นเหงือกแลกเปลี่ยนก๊าซหายใจเท่านั้นที่น้ำผ่านได้ และโดยธรรมชาติปลาน้ำจืดไม่ดื่มน้ำเลย ซึ่งแตกต่างจากปลาทะเล เพราะการดื่มน้ำจะทำให้ร่างกายมีน้ำมากเกินความจำเป็น ซึ่งจะมีน้ำบางส่วนไหลผ่านบริเวณปากและเหงือกเพื่อช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซหายใจก็จะมีโอกาสซึมเข้าไปในร่างกายได้บ้าง และเกลือแร่จากเลือดก็จะแพร่ออกมาทางเหงือกได้มากพอดู ปลาน้ำจืดจึงมีไตขับน้ำส่วนเกินออกไปเป็นปัสสาวะ และมีกลุ่มเซลล์พิเศษอยู่บริเวณเหงือกคอยดูดเอาเกลือแร่ต่าง ๆ ที่จำเป็นกลับสู่ร่างก.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปลาจีดอินเดียและปลาน้ำจืด

ปลาจีดอินเดียและปลาน้ำจืด มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปลาจีดอินเดียและปลาน้ำจืด

ปลาจีดอินเดีย มี 25 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปลาน้ำจืด มี 22 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (25 + 22)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปลาจีดอินเดียและปลาน้ำจืด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »