โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ปลากระเบนขนุนและปลาน้ำเค็ม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปลากระเบนขนุนและปลาน้ำเค็ม

ปลากระเบนขนุน vs. ปลาน้ำเค็ม

ปลากระเบนขนุน (Porcupine ray) ปลากระดูกอ่อนทะเลชนิดหนึ่ง จำพวกปลากระเบน จัดอยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) โดยจัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่จัดอยู่ในสกุลนี้ โดยที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้น คำว่า Urogymnus ที่ใช้เป็นชื่อสกุลนั้น แปลงมาจากภาษากรีกโบราณคำว่า oura หมายถึง "หาง" และ gymnos หมายถึง "เปลือย" อันหมายถึง โคนหางของปลากระเบนชนิดนี้ไม่มีเงี่ยงแข็งที่ใช้เป็นอาวุธป้องกันตัวเหมือนปลากระเบนธงชนิดอื่น ๆ โดยดั้งเดิมนั้นชื่อสกุลใช้ชื่อว่า Gymnura ซึ่งปัจจุบันนี้จะหมายถึง ปลากระเบนผีเสื้อ ส่วนคำว่า asperrimus หรือ africana ที่เป็นชื่อพ้อง หมายถึง "ทวีปแอฟริกา" ขณะที่ชื่อสามัญในภาษาไทยนั้น เนื่องจากด้านหลังตลอดจนถึงหางของปลากระเบนขนุน จะเป็นตุ่มหนามสาก ๆ คล้ายเม็ดขนุนขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก จึงเป็นที่มาของชื่อ ซึ่งตุ่มหนามนั้นมีพิษรุนแรงและเมื่อไปติดกับอวนของชาวประมง จะทำให้มีความยุ่งยากมากในการแก้ออกหากจะนำมาปรุงเป็นอาหาร ภาพวาด ส่วนหางที่เป็นตุ่มหนาม ปลากระเบนขนุน จัดเป็นปลากระเบนธงเพียงไม่กี่ชนิด ที่บริเวณโคนหางไม่มีเงี่ยงแข็ง ด้านหลังมีสีขาว มีความยาวของลำตัวประมาณ 1 ฟุต และอาจยาวได้ถึง 2.2 เมตร (7.2 ฟุต) แต่ขนาดโดยเฉลี่ยทั่วไปประมาณ 1.5 เมตร (4.9 ฟุต) มีพฤติกรรมหากินตามพื้นทะเลที่เป็นพื้นทรายเหมือนปลากระเบนทั่วไป โดยจะพบในแหล่งที่มีสภาพนิเวศที่สมบูรณ์ พบกระจายพันธุ์ในทะเลเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วทั้งมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก ตลอดทั่วทั้งทวีปเอเชีย เช่น อ่าวเบงกอล และศรีลังกา ไปจนถึงคาบสมุทรอาระเบียจนถึงแอฟริกาใต้, เซเชลส์ โดยปกติแล้วจะอาศัยอยู่ตามแนวปะการัง หรือดงหญ้าทะเลหรือสาหร่าย และอาจพบได้ในเขตน้ำกร่อย สำหรับในประเทศไทย จัดเป็นปลาที่หายาก ในช่วงเดือนมีนาคม.. ปลาหมอทะเล (''Epinephelus lanceolatus'') เป็นปลาน้ำเค็มขนาดใหญ่ที่สุดที่มักพบได้ตามแนวปะการังเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก ปลาน้ำเค็ม หรือ ปลาทะเล คือ ปลาที่เป็นปลาส่วนใหญ่ที่พบได้ในปัจจุบันนี้ มีแหล่งอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่เป็นน้ำทะเลหรือน้ำเค็มที่มีปริมาณความเค็มของเกลือละลายมากกว่าร้อยละ 3–5 ขึ้นไป อันได้แก่ มหาสมุทร, ทะเล, ทะเลสาบน้ำเค็ม, ทะเลลึก หรือปากแม่น้ำ, ชายฝั่ง หรือป่าโกงกางที่เป็นส่วนของน้ำเค็มหรือน้ำกร่อย โครงสร้างของปลาน้ำเค็มนั้นจะไม่แตกต่างไปจากปลาน้ำจืดเท่าใดนัก เพียงแต่จะมีการปรับตัวให้เข้ากับน้ำเค็มได้โดยมีผิวหนังและเกล็ดหุ้มตัวกันไม่ให้น้ำและเกลือแร่ผ่านสู่ร่างกายมากนัก น้ำจากภายในร่างกายจะแพร่ออกสู่ภายนอกร่างกาย เนื่องจากน้ำภายนอกร่างกายมีความเข้มข้นของสารละลายมากกว่าภายในร่างกาย ปลาน้ำเค็มจึงต้องมีการดื่มน้ำเพื่อทดแทนน้ำที่สูญเสียไปซึ่งต่างจากปลาน้ำจืด ไตของปลาน้ำเค็มขับปัสสาวะที่มีความเข้มข้นของเกลือแร่สูงเท่ากับปริมาณออกซิเจนในเลือด ขณะที่ปลาน้ำจืดไตจะขับปัสสาวะที่มีความเข้มข้นของเกลือแร่ต่ำกว่าที่อยู่ในเลือด ในขณะเดียวกันก็จะมีการขับสารละลายส่วนเกินที่ได้จากการดื่มน้ำออกสู่นอกร่างกาย โดยจะมีอวัยวะพิเศษที่จะช่วยในการขับสารละลายที่ไม่ต้องการออก เรียกว่า คลอไรด์เซลล์ ที่อยู่บริเวณเหงือก ที่เป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ นอกจากนี้แล้ว ปลาน้ำเค็มในบางอันดับเช่นอันดับปลากะพงจะมีโครงสร้างของกระดูกที่มีความแข็งแรงและหนาแน่น มีน้ำหนักกว่าปลาน้ำจืด ทั้งนี้เนื่องจาก ความเค็มในทะเลหรือมหาสมุทรจะมีความหนาแน่นมากกว่าในน้ำจืด ฉะนั้นปลาน้ำเค็มจึงมีการลอยตัวตามธรรมชาติได้ดีกว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปลากระเบนขนุนและปลาน้ำเค็ม

ปลากระเบนขนุนและปลาน้ำเค็ม มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พืดหินปะการังน้ำกร่อย

พืดหินปะการัง

แผนที่แสดงการกระจายตัวของแนวปะการังทั่วโลก แนวปะการัง หรือ พืดหินปะการัง เป็นระบบนิเวศที่ซับซ้อน และมีความหลากหลายมากที่สุดในทะเล แนวปะการังจัดเป็นสิ่งก่อสร้างของสิ่งมีชีวิตที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นหินปูนที่มีความแข็ง โดยสัตว์ทะเลขนาดเล็กคือ ปะการัง รวมถึงซากของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในทะเลอย่างอื่นร่วมด้วย เช่น สาหร่ายหินปูน, หอยที่มีเปลือกแข็ง เป็นต้น ทั้งปะการังเองและสิ่งมีชีวิตที่สร้างหินปูนได้ เมื่อตายไปแล้วจะยังคงเหลือซากหินปูนทับถมพอกพูน ซึ่งถือว่าเป็นขบวนการสร้างแนวปะการัง ซากหินปูนเหล่านั้นค่อย ๆ ผุกร่อนเป็นผงตะกอน ซึ่งส่วนหนึ่งก็ยังคงสะสมพอกพูนในแนวปะการัง แต่อีกส่วนหนึ่งอาจถูกพัดพาล่องลอยไปตามกระแสน้ำไปทับถมพอกพูนเป็นชายหาด การเจริญเติบโตของแนวปะการังเป็นไปอย่างช้า ๆ ในแต่ละปี ปะการังบางชนิดอาจเพิ่มขนาดของตนเองขึ้นมาได้เพียง 2-5 เซนติเมตรเท่านั้น ซึ่งกว่าที่ปะการังจะสร้างตนเองจนแข็งแรงเป็นแนวพืดได้ต้องใช้เวลานับหมื่น ๆ ปี โดยแนวปะการังที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือ เกรตแบร์ริเออร์รีฟ ทางตอนเหนือของออสเตรเลีย ที่มีเนื้อที่กว้างขวางกว่า 1,562 ไมล์ (2,500 กิโลเมตร) มีแนวปะการังมากกว่า 2,900 แนว ซึ่งได้รับการประกาศให้เป็นมรกดกโลกทางธรรมชาติ และแนวปะการังที่มีขนาดใหญ่อีกแห่งหนึ่งของโลก คือ สามเหลี่ยมปะการัง ที่ครอบคลุมพื้นที่ระหว่างน่านน้ำของฟิลิปปินส์ เช่น อุทยานธรรมชาติปะการังตุบบาตาฮา, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, ปาปัวนิวกินี, หมู่เกาะโซโลมอน และติมอร์เลสเต คิดเป็น 1 ใน 3 ของแนวปะการังที่มีอยู่ในโลก และมีความหลากหลายของชนิดปลาที่อาศัยอยู่ในแนวปะการังคิดเป็นร้อยละ 35 ของปลาที่อาศัยในแนวปะการังทั้งหมดทั่วโลก.

ปลากระเบนขนุนและพืดหินปะการัง · ปลาน้ำเค็มและพืดหินปะการัง · ดูเพิ่มเติม »

น้ำกร่อย

น้ำกร่อย (Brackish water) คือน้ำทะเล (น้ำเค็ม) ผสมกับน้ำจืด สามารถพบได้ตามตามปากอ่าวแม่น้ำออกทะเล เช่น สมุทรปราการ (แม่น้ำเจ้าพระยาออกทะเล) บริเวณสมุทรสาคร (แม่น้ำท่าจีนออกทะเล) สมุทรสงคราม (แม่น้ำแม่กลองออกทะเล) โดยทั่วไปแล้ว น้ำกร่อยหรือน้ำทะเลในสภาพปกติมีสภาพเป็นด่างอ่อน ๆ pH ราว 7.3 ไปจนถึง 8.5 เหตุที่น้ำทะเลมีสภาพเป็นด่างอ่อน ๆ เป็นเพราะในน้ำทะเลมีแร่ธาตุหลายชนิด ที่ทำให้น้ำเป็นด่างอ่อน เครื่องมือวัดความเค็ม เรียก ซาลิโนมิเตอร์ (Salinometer) หรือ รีแฟรกโตซาลิโนมิเตอร์ (Refractosalinometer) วัดโดยใช้หลักการหักเหของแสง ยิ่งเค็มมาก ยิ่งหักเหมาก แล้วแปลงไปเป็นสเกลของ ppt (part per thousand.

น้ำกร่อยและปลากระเบนขนุน · น้ำกร่อยและปลาน้ำเค็ม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปลากระเบนขนุนและปลาน้ำเค็ม

ปลากระเบนขนุน มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ ปลาน้ำเค็ม มี 21 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 5.13% = 2 / (18 + 21)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปลากระเบนขนุนและปลาน้ำเค็ม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »