เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ปริยัติธรรมและพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ปริยัติธรรมและพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

ปริยัติธรรม vs. พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

ปริยัติธรรม (อ่านว่า ปะริยัดติทำ) หมายถึงธรรมที่พึงศึกษาเล่าเรียน ได้แก่พระพุทธพจน์หรือพระไตรปิฎก เรียกเต็มว่า พระปริยัติธรรม ปริยัติธรรมหรือพระพุทธพจน์ที่พึงศึกษาเล่าเรียนนั้นมี 9 อย่าง คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาตกะ อัพภูตธัมมะ เวทัลละ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า นวังคสัตถุศาสน์ (คำสอนของพระศาสดา 9 ประเภท) การศึกษาเล่าเรียนปริยัติธรรมทั้ง 9 อย่างนี้ของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน เรียกว่า เรียนนักธรรม เรียนบาลี และแบ่งปริยัติธรรมออกเป็น 2 คือ พระปริยัติธรรมแผนกธรรม พระปริยัติธรรมแผนกบาลี. ระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (นามเดิม: สมชาย แสงสิน) น.ธ.เอก, ปบ.ส., พธ.บ., พธ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์) (1 ตุลาคม พ.ศ. 2506 - ปัจจุบัน) เจ้าสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓, รองเจ้าคณะตำบลคุ้งตะเภา พระอุปัชฌาย์ และเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภารูปปัจจุบัน เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2506 อุปสมบทเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2530 หลังจากสำเร็จการศึกษา น.ธ.เอก ในปี พ.ศ. 2533 ได้ออกธุดงค์และไปอยู่ที่สวนโมกขพลารามเพื่อฝึกปฏิบัติธรรมกับท่านพุทธทาส จนหลังจากท่านพุทธทาสมรณภาพในปี พ.ศ. 2536 ท่านจึงได้กลับมาจำพรรษาที่วัดคุ้งตะเภา จนถึงปัจจุบัน พระสมุห์สมชาย เป็นพระสงฆ์นักพัฒนา เป็นประธานมูลนิธิ ๒๕๐ ปี วัดคุ้งตะเภา เป็นนักเผยแผ่ศาสนาพุทธ และนักปฏิบัติธรรมรูปสำคัญในจังหวัดอุตรดิตถ์ มีผลงานเป็นที่ปรากฏชัดเจนในหมู่คณะพระนักเผยแผ่ และคณะสงฆ์จังหวัดอุตรดิตถ์ ทั้งในด้านสาธารณูปการ สาธารณสงเคราะห์ และการศึกษาคณะสงฆ์ มานับสิบปี เป็นที่เคารพนับถือของบรรพชิตและคฤหัสถ์ทั่วไปในจังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบัน ด้วยเหตุที่ท่านเป็นพระสงฆ์นักพัฒนาที่มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ จึงทำให้ท่านได้รับถวายรางวัลจากหน่วยงานและองค์กรต่าง ๆ มากมาย จนในปี พ.ศ. 2554 ท่านจึงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ เข้ารับพระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีฯ ซึ่งถือเป็นรางวัลทรงเกียรติสูงสุดที่มอบถวายแด่ผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาในประเทศไท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ปริยัติธรรมและพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

ปริยัติธรรมและพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สามเณร

สามเณร

ผู้ที่จะบรรพชาเป็นสามเณรได้ต้องมีอายุตั้งแต่ 7 ปีขึ้นไป และจะบวชอยู่เป็นสามเณรตลอดชีวิตก็ได้ สามเณร และ สามเณรี แปลว่า เหล่ากอของสมณะ, หน่อเนื้อของสมณะ หมายถึงนักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อย ยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ถ้าเป็นนักบวชหญิงอายุน้อยเรียกว่า สามเณรี คำว่า สามเณร สามเณรี เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไป ผู้ที่จะบวชเป็นสามเณรสามเณรีได้นั้นทางพระวินัยกำหนดอายุอย่างต่ำไว้ประมาณ 7 ขวบซึ่งพอช่วยเหลือตัวเองได้ พระวินัยระบุว่าพอจะไล่กาไล่ไก่ได้ ส่วนสูงไม่มีกำหนดไว้ ผู้มีอายุไม่เกิน 20 ปีจะบวชเป็นสามเณรตลอดไป ไม่บวชเป็นภิกษุก็ได้.

ปริยัติธรรมและสามเณร · พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญและสามเณร · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ปริยัติธรรมและพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ

ปริยัติธรรม มี 13 ความสัมพันธ์ขณะที่ พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ มี 61 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.35% = 1 / (13 + 61)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปริยัติธรรมและพระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: